Lecture 4 เทคโนโลยีเครื่องเร่งอนุภาค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง เครือข่ายอินเทอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
Advertisements

หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู Information Technology for Teacher
เครื่องเร่งอนุภาค แสงซินโครตรอนและการนำไปใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ โดย เด็กหญิงนฤมล พรมม่วง เลขที่ 29 ชั้น ม.2/2
CHAPTER 9 Magnetic Force,Materials,Inductance
พัฒนาการคอมพิวเตอร์ ช่วงชั้นที่ 3
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ไฟฟ้าสถิตย์ Electrostatics.
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ ตอนที่ 6
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ตอนที่ 5
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
Mass Spectrum of three isotopes of neon.
Wilhelm Conrad Röntgen at the University of Wurzburg in Germany
บทที่ 9 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
COMPUTER.
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
บทที่ 2 การผลิตและการส่งพลังงานไฟฟ้า.
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
พื้นฐานทางเคมีของชีวิต
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีที่1
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
กิจกรรมที่ 2 ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน “ระบบซึ่งเป็นผลรวมของกาแล็กซีทั้งหมด”
52. ยิงลูกปืนออกไปในแนวระดับ ทำให้ลูกปืนเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ตอนที่ลูกปืน กำลังจะกระทบพื้น ข้อใดถูกต้องที่สุด (ไม่ต้องคิดแรงต้านอากาศ) 1. ความเร็วในแนวระดับเป็นศูนย์
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
ความหมาย ของเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเคลื่อนที่และพลังงาน และพลังงานนิวเคลียร์
กาแล็กซีและเอกภพ.
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ข้อมูลและสารสนเทศ.
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) ความรู้พื้นฐานเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
บทที่17 พลังงานจากนิวเคลียส 1. อะตอมและนิวเคลียส 2. Nuclear Fission
บทที่ 16 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ 1. การค้นพบนิวเคลียส
บทที่ 18 Quarks, Leptons & Big Bang 1. การจำ แนกอนุภาคโดยใช้ spin
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
Computer graphic.
อะตอมและ โครงสร้างอะตอม (Atom and Structure of Atom) กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 2 ว / 2550.
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
โครงสร้างอะตอม พื้นฐานทฤษฎีอะตอม แบบจำลองอะตอมของ John Dalton
13.2 ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ 4 (ว30204) กลับเมนูหลัก.
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
863封面 ทองคำ เขียว.
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
นางสาว ชูขวัญ ไพรจิตร เลขที่ 28 นางสาว กัญญาภัค แก้วนวน เลขที่ 30
ครูศรีไพร แตงอ่อน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน.
สรุปแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
มหัศจรรย์แห่งอะตอม 1 ตอน 1 โครงสร้างอะตอม อ.ถนอมจิตต์ เสนมา ร.ร.เตรียมอุดมศึกษา.
วิทยาศาสตร์ Next.
ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6.
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ชิ้นงานที่1 ชื่อ นางสาวจรรยา พุฒเจริญ
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
บทที่ 0 เนื้อหา การตั้งชื่อธาตุ การกำหนดสัญลักษณ์ของธาตุ
งานชิ้นที่..1 ชื่อ น. ส. สุภาลัย หมายถม กลาง. ความหมายและคุณค่าของการ ทำโครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์มีผลกระทบต่อ ความเจริญก้าวหน้าของทุกๆ.
ชิ้นงานที่ 2 สุภาลัย หมายถมกลาง คอมพิวเตอร์ถูกใช้ในการ ออกแบบสถานการณ์หรือ ปัญหาซับซ้อนต่างๆ.
สรูปบทที่ 1 จัดทำโดย ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ.
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Lecture 4 เทคโนโลยีเครื่องเร่งอนุภาค 105113 มนุษย์กับเทคโนโลยี Lecture 4 เทคโนโลยีเครื่องเร่งอนุภาค

เนื้อหา เครื่องเร่งอนุภาค (Particle Accelerator) คืออะไร เครื่องเร่งอนุภาค ยุคเริ่มต้น เครื่องเร่งอนุภาคสมัยใหม่ แนวตรง และ แนววงกลม เครื่องตรวจวัดอนุภาค (Particle Detector) ตัวอย่างเครื่องเร่งอนุภาค การใช้ประโยชน์เครื่องเร่งอนุภาค

เครื่องเร่งอนุภาค (Particle Accelerator) คือ อุปกรณ์ที่สามารถ เร่งอนุภาคที่มีประจุ ให้มีความเร็วสูงมากขึ้น โดยใช้สนามไฟฟ้า หรือสนามแม่เหล็ก เร็วขึ้น = พลังงานมากขึ้น เครื่องแวนเดอกราฟ (Van de Graaff) ใช้ศึกษาปฏิกิริยานิวเคลียร์

เครื่องเร่งอนุภาคอย่างง่าย (1.5 eV) + - อิเล็กตรอนวิ่งผ่านสนามไฟฟ้าจากแบตเตอรี AA ขนาด 1.5 V จะมีพลังงานเพิ่มขึ้น 1.5 eV

เราใช้หน่วยอิเล็กตรอนโวลต์ (eV) สำหรับพลังงานของเครื่องเร่งอนุภาค หน่วยของพลังงาน เราใช้หน่วยอิเล็กตรอนโวลต์ (eV) สำหรับพลังงานของเครื่องเร่งอนุภาค ปัจจุบันเครื่องเร่งอนุภาคสมัยใหม่มีพลังงานในช่วง MeV = 106 eV (ล้าน) GeV = 109 eV (พันล้าน) TeV = 1012 eV (ล้านล้าน)

หลอดโทรทัศน์ สามารถเร่งอิเล็กตรอน ให้มีพลังงาน 30 keV (30,000 eV)

จักรวาลเป็นเครื่องเร่งอนุภาคที่ยิ่งใหญ่ที่สุด

ฟ้าผ่า (Lightning) การถ่ายเทประจุไฟฟ้าในบรรยากาศ

สร้าง Tesla Coil กำเนิดไฟฟ้าศักย์สูง ค.ศ. 1891 N. Tesla สร้าง Tesla Coil กำเนิดไฟฟ้าศักย์สูง E ~ 1 MeV

เครื่องเร่งอนุภาคยุคเริ่มต้น ค.ศ. 1895 RÖntgen ค้นพบรังสีเอ็กซ์ (x-ray) E ~ 10-100 keV

CT-Scan

การจำลองใบหน้าของฟาโรห์ตุตันคามุน

ค.ศ. 1896 J.J. Thomson ค้นพบอิเล็กตรอน โดยใช้ Cathode Ray Tube (CRT) นับเป็นเครื่องเร่งอนุภาคแนวตรง 10-30 keV

อนุภาคในอะตอม e- อิเล็กตรอน (electron) ประจุลบ p โปรตอน (protron) ประจุบวก n นิวตรอน (nuetron) ไม่มีประจุ

หลอด CRT

เครื่องเร่งอนุภาคแนวตรง (Linear Accelerator : LINAC)

LINAC Electron Therapy 2-20 MeV

สร้างเครื่อง Cyclotron เป็นเครื่องเร่งอนุภาคแนววงกลม ค.ศ. 1929 E.A. Lawrence สร้างเครื่อง Cyclotron เป็นเครื่องเร่งอนุภาคแนววงกลม 80 keV

520 MeV

Cyclotron Proton Therapy

สร้างเครื่องเร่งอนุภาคศักย์สูง ค.ศ. 1931 R.J. Van de Graaff สร้างเครื่องเร่งอนุภาคศักย์สูง 7 MeV

เครื่องเร่งอนุภาคสมัยใหม่ ถ้าต้องการศึกษานิวเคลียสอะตอมขนาด 10-15 เมตร อนุภาคต้องมีพลังงานมากกว่า 1 GeV

เครื่องเร่งอนุภาค LHC (Large Hadron Collider)

CERN LHC Large Hadron Collider C = 27 km E = 7 TeV

การศึกษาการชนกันของอนุภาคความเร็วสูง จำเป็นต้องมีการประมวลผลที่รวดเร็ว ระบบสื่อสาร ฐานข้อมูลที่ดี นักวิทยาศาสตร์พัฒนา  คอมพิวเตอร์ ฮาร์ดดิสค์ อินเตอร์เน็ต

CERN Grid

พัฒนา World Wide Web (WWW) ที่ CERN ค.ศ. 1987 T. Berner Lee พัฒนา World Wide Web (WWW) ที่ CERN เริ่มต้นการสื่อสารยุคใหม่ เปลี่ยนเศรษฐกิจโลก

เครื่องกำเนิดแสงซินโครตรอน (Synchrotron Light Source)

E ~ 1-8 GeV

Spring 8 (8 GeV)

แสงซินโครตรอนสามารถใช้มอง ให้เห็นวัสดุในระดับอะตอมได้

สรุป เครื่องเร่งอนุภาคมีอยู่ทั่วๆไป รวมทั้งใกล้ตัวเรา นักวิทยาศาสตร์ใช้เครื่องเร่งอนุภาคศึกษาธรรมชาติ ค้นคว้าหาความรู้ใหม่ เทคโนโลยีใหม่ๆหลายชนิด ได้เกิดขึ้นจาก การค้นคว้าวิจัยเครื่องเร่งอนุภาค