การปฏิบัติราชการของจังหวัด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง
วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
รายงานและการประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
ขอต้อนรับคณะผู้ตรวจประเมินฯ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
แจ้งผลการพิจารณาให้ มท./ สศช. / สงป. - พิจารณาอนุมัติโครงการ
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผลการปฏิบัติราชการตามคำ รับรอง การปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
โครงการเงินอุดหนุนทั่วไป ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
หมวด2 9 คำถาม.
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
วันพุธที่ 20 ตุลาคม 2553 ณ ประชุม War room กรมการพัฒนาชุมชน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
CS 6: การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ
การประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
Strategy Map สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ.2553
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง
1 ตุลาคม 2547 ถึง 30 มิถุนายน 2548 สรุปผลการดำเนินงาน ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดชัยภูมิ Provincial Operation Center : POC ระยะเวลา 9 เดือน จังหวัดชัยภูมิ
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตามคำรับรอง การปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”
การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพในการ ประหยัดพลังงาน ส่วนราชการมีกระบวนงานการบริหารจัดการทรัพยากร.
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้าง สมรรถนะองค์กรให้มีประสิทธิภาพสูง อำนาจหน้าที่ 1. ตรวจราชการ ประสานงาน เร่งรัด ติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมินผลการปฏิบัติราชการ.
วิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสา ธารณภัย ประเด็นยุทธศาสตร์กรมฯยุทธศาสตร์ วปภ. ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การยกระดับขีด ความสามารถในการบริหารจัดการด้านการ.
ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ / กรม
สำนักส่งเสริมการป้องกันสาธารณภัย การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ 1.
1.1 ผลการปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติราชการของ จังหวัด 1) ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบายการกำ ดับดูแลองค์การที่ดีจังหวัดแพร่ 2) ปฏิบัติราชการตามคำรับรองปฏิบัติราชการและการ.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การปฏิบัติราชการของจังหวัด กรอบการประเมินผล การปฏิบัติราชการของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 เพื่อการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด

ที่มา คณะรัฐมนตรีในคราวประชุม เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2550 ให้ความเห็นชอบกรอบยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขของจังหวัด แผนงานหลักขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ การแต่งตั้งคณะกรรมการระดับชาติ เพื่ออำนวยการในการขับเคลื่อน และ อนุมัติงบประมาณสนับสนุนแผนงานภายใต้ ยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุข ในวงเงิน 5,000 ล้านบาท ตามที่ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเสนอ โดยให้กระทรวงมหาดไทยทำความตกลงในรายละเอียดกับสำนักงบประมาณ

ที่มา ก.พ.ร. ในคราวการประชุม เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2550 มีมติเห็นชอบการปรับปรุงกรอบและแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 โดยให้ความสำคัญการประเมินผลที่สนับสนุนให้จังหวัดสามารถปรับแผนพัฒนาจังหวัดตามยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุข และมีความเชื่อมโยงความรับผิดชอบร่วมกันระหว่าง กระทรวง กรมและจังหวัด เพื่อให้การปฏิบัติราชการให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล

ปรับยุทธศาสตร์จังหวัด ปรับยุทธศาสตร์จังหวัดปัจจุบันให้สอดรับกับการสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุข 5 แผนงาน (สำหรับแผนที่ไม่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์ทั้ง 5 แผน จังหวัดสามารถดำเนินการต่อไปได้โดยใช้งบประมาณสนับสนุนจากระทรวง ทบวง กรม) เน้นกระบวนการการมีส่วนร่วมในการวางแผนและกำหนดโครงการ จังหวัด ประเด็น ยุทธศาสตร์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ ประเด็น ยุทธศาสตร์อื่นๆ ฟื้นฟูความ อุดมสมบูรณ์ ชุมชน พัฒนาและ สร้างโอกาส ชุมชน การให้ บริการ สงเคราะห์ เศรษฐกิจ พอเพียง ยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุข ตามมติ ครม. 6 ก.พ. 2550 ยุทธศาสตร์ปัจจุบัน

คำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด การประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ คำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด ประสิทธิผล Financial Perspective ประสิทธิผล (ผลลัพธ์) Customer Perspective คุณภาพ Strategy Map / Balanced Scorecard Internal Work Process Perspective ประสิทธิภาพ ระดับความสำเร็จการปรับปรุงกระบวนงาน ประสิทธิภาพของการใช้พลังงาน Learning and Growth Perspective พัฒนาองค์การ การพัฒนาทุนความรู้และสารสนเทศ การพัฒนาคุณภาพการจัดการองค์การ การพัฒนาทุนมนุษย์ ระดับคุณภาพของการบริการ ระดับความสำเร็จของการมีส่วนร่วมของประชาชน ความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ ระดับความสำเร็จตามแผน/ยุทธศาสตร์ กลุ่มจังหวัด/จังหวัด ระดับความสำเร็จในการสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ภายนอก ภายใน 50% 15% โปร่งใส เป็นธรรม 10% ประหยัด ประสิทธิภาพ 25% เป็นเลิศ

กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 12 (6) 38 (20) (18) ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ 1.1 ระดับความสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มจังหวัด 1.2 ระดับความสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการของจังหวัด ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด 2.1ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด* 2.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการพัฒนาสังคม คุณภาพชีวิต ความปลอดภัย ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม(เพื่อดำเนินการร่วมกับส่วนราชการในการสนับสนุนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด)** 1. 2. ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ 50 มิติที่ 1 : มิติด้านประสิทธิผล

แผนงาน ประเด็นการประเมินผล ตัวชี้วัด หมายเหตุ* ตัวอย่างตัวชี้วัด 2.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด แผนงาน ประเด็นการประเมินผล ตัวชี้วัด เศรษฐกิจพอเพียง 1.การสนับสนุนกระบวนการ เรียนรู้ในการประกอบอาชีพ ของประชาชนและ ครอบครัวตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียงและ เกษตรทฤษฎีใหม่ 1.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินการตามแผนงาน/โครงการสนับสนุนกระบวนการเรียนรู้ในการประกอบอาชีพของประชาชนและครอบครัวตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ 1.2 ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนการประกอบอาชีพและการเรียนรู้ของชุมชนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 1.3 ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศของชุมชนที่เป็นความต้องการและดำเนินการโดยชุมชน

หมายเหตุ. ตัวอย่างตัวชี้วัด 2 หมายเหตุ* ตัวอย่างตัวชี้วัด 2.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด แผนงาน ประเด็นการประเมินผล ตัวชี้วัด การพัฒนาและสร้างโอกาสให้ชุมชน 2. การพัฒนาและสร้าง โอกาสให้ชุมชน 2.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินการตามแผนงาน/โครงการสนับสนุนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อการพึ่งตนเองของครอบครัวและชุมชน 2.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินการตามแผนงาน/โครงการสนับสนุนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น/ชุมชนเพื่อการเพิ่มคุณภาพและเข้าสู่ตลาดด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคส่วนต่างๆ 2.3 จำนวนผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ได้รับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน(มผช.)

หมายเหตุ. ตัวอย่างตัวชี้วัด 2 หมายเหตุ* ตัวอย่างตัวชี้วัด 2.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด แผนงาน ประเด็นการประเมินผล ตัวชี้วัด การฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของชุมชน การสงเคราะห์ ผู้ด้อย โอกาสและผู้สูงอายุ 3. การส่งเสริมการมี ส่วนร่วมของชุมชนในการ อนุรักษ์พัฒนา ฟื้นฟู ทรัพยากร ธรรมชาติ ดิน และป่าไม้ตามแนวทาง พระราชดำริ 4. การสนับสนุนการ สงเคราะห์เพื่อยกระดับ ครอบครัวของผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุในชุมชน 3.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการดำเนินการตามแผนงาน/โครงการส่งเสริมการมี ส่วนร่วมของชุมชนในการอนุรักษ์ พัฒนา ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ ดิน และป่าไม้ตามแนวทางพระราชดำริ 4.1 ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนการสงเคราะห์เพื่อยกระดับครอบครัวของผู้ด้อยโอกาสและผู้สูงอายุในชุมชน

หมายเหตุ. ตัวอย่างตัวชี้วัด 2 หมายเหตุ* ตัวอย่างตัวชี้วัด 2.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด แผนงาน ประเด็นการประเมินผล ตัวชี้วัด การบริการขั้นพื้นฐานแก่ประชาชน 5. การสนับสนุนการ ให้บริการขั้นพื้นฐานที่มี คุณภาพแก่ประชาชน 5.1 ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนการให้บริการขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพแก่ประชาชน 5.2 ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนการอำนวยความสะดวกประชาชนด้วยการจัดตั้งศูนย์บริการร่วมอำเภอยิ้ม หรือเคาน์เตอร์บริการของรัฐ

ร้อยละ 100 พร้อมแสดงผลผลิต/ผลลัพธ์ของแผนงาน/โครงการ ตัวอย่างตัวชี้วัด ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนงาน/โครงการที่ได้รับจัดสรรงบประมาณเพื่อการสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด พิจารณาจากความสำเร็จของการดำเนินงานจริงเปรียบเทียบกับแผนปฏิบัติการในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการอนุรักษ์ พัฒนา ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ ดิน และป่าไม้ ตามแนวทางพระราชดำริ โดยแผนปฏิบัติการฯ ดังกล่าวเป็นแผนที่ จังหวัดได้จัดทำร่วมกับอำเภอ/ตำบลและได้งบประมาณสนับสนุน จากงบขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขตามมติคณะรัฐมนตรี 6 ก.พ. 2550 ในกรณีที่มีหลายแผนงาน/โครงการจะต้องมีการคำนวณโดยถ่วงน้ำหนักของแผนงาน/โครงการดังกล่าวด้วย เกณฑ์การให้คะแนน : ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ร้อยละ 80 ร้อยละ 85 ร้อยละ 90 ร้อยละ 95 ร้อยละ 100 พร้อมแสดงผลผลิต/ผลลัพธ์ของแผนงาน/โครงการ

ตัวอย่างตัวชี้วัด ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนงาน/โครงการที่ได้รับจัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนอยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด เกณฑ์คะแนน 20% 30% 60% 100% 0% 90% 80% 40% 70% 1 2 3 4 5 10% จังหวัดจัดทำรายละเอียดแผนงาน/โครงการ กรณีที่วางแผนให้เสร็จภายในปี 2550 ให้เปรียบเทียบผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นจริงกับแผนการดำเนินงานที่วางไว้ในปี 2550 ทั้งหมดคิดเป็นร้อยละ 100 เริ่มโครงการ ต.ค. 49 กิจกรรมตามแผนงานแล้วเสร็จ ก.ย. 50

ตัวอย่างตัวชี้วัด ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนงาน/โครงการที่ได้รับจัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนตามยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด กรณีที่ แผนงาน/โครงการ มีระยะเวลาดำเนินการเกินกว่า 1 ปี ให้วัดผลความสำเร็จโดยดูจากกิจกรรมหรือขั้นตอนการดำเนินโครงการ ส่วนที่จะต้องทำให้แล้วเสร็จในปีงบประมาณที่ทำการประเมินผล เท่านั้น 20% 30% 100% 0% 90% 80% 40% 1 2 เกณฑ์คะแนนที่ให้ 10% โครงการแล้วเสร็จ ก.ย. 51 3 4 5 การดำเนินการส่วนที่จะต้อง แล้วเสร็จเมื่อถึงเดือน ก.ย. 50 70% 60% 50% เริ่มโครงการ ต.ค. 49

แผนดำเนินงานโครงการสนับสนุนชุมชนเพื่อพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชน ตัวอย่างตัวชี้วัด แผนดำเนินงานโครงการสนับสนุนชุมชนเพื่อพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชน หลักการ พิจารณาความสำเร็จของกิจกรรมตามแผนดำเนินงาน กิจกรรม 2549 2550 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 1. ประชาสัมพันธ์แก่ครอบครัว/ชุมชนที่สนใจ 2. สำรวจและจัดลำดับความสำคัญการ ขอรับการสนับสนุน 3. ฝึกอบรมเกี่ยวกับการควบคุม คุณภาพและมาตรฐาน 4. สนับสนุนปัจจัยการผลิต 5. ติดตามประเมินผล 6. คัดเลือกผลิตภัณฑ์ภายในชุมชน การรายงานผลงวดครึ่งปีและสิ้นปีงบประมาณ จังหวัดต้องส่งเอกสาร/หลักฐานในการได้ดำเนินงานของแต่ละกิจกรรมให้ ก.พ.ร.

แนวทาง การกำหนดตัวชี้วัด น้ำหนัก ค่าเป้าหมายและเกณฑ์การให้คะแนน เพื่อประเมินผลการสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด แผน ระบุชื่อแผน........ ชื่อตัวชี้วัด ระบุชื่อตัวช้วัด....... ระดับ 5 คะแนน: ระบุรายละเอียดผลผลิต/ผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นจาก การดำเนินกิจกรรมทั้งหมดในปีงบประมาณ ระดับ 4 คะแนน: ระบุกิจกรรมสำคัญที่ต้องดำเนินการในขั้นตอน ต่อจากระดับที่ 3และกิจกรรมสำคัญที่จะทำให้เกิดผลผลิตในระดับ5 ระดับ 3 คะแนน : ระบุกิจกรรมสำคัญที่ต้องดำเนินการในขั้นตอน ต่อจากระดับที่ 2 ระดับ 2 คะแนน: ระบุกิจกรรมสำคัญที่ต้องดำเนินการในขั้นตอน ต่อจากระดับที่ 1 ระดับ 1 คะแนน: ระบุกิจกรรมสำคัญที่ต้องดำเนินการในเบื้องต้น

ตัวอย่าง แนวทางการกำหนดตัวชี้วัด น้ำหนัก ค่าเป้าหมายและเกณฑ์การให้คะแนน เพื่อประเมินผลการสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด แผน แผนเศรษฐกิจพอเพียง ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนการประกอบอาชีพและการเรียนรู้ของชุมชนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ชื่อตัวชี้วัด ระดับ 5 คะแนน คณะกรรมการระดับจังหวัดแจ้งผลการอนุมัติ ให้หน่วยดำเนินการทราบและโอนเงินตามยอดวงเงินโครงการที่ได้รับ อนุมัติเข้าบัญชีเงินฝากของหมู่บ้าน/ชุมชน ระดับ 4 คะแนน คณะกรรมการระดับจังหวัดพิจารณาอนุมัติโครงการ แล้วเสร็จสามารถสรุปเสนอ สป.มท.ภายในเวลาที่กำหนด ระดับ 3 คะแนน คณะกรรมการระดับอำเภอ/กิ่งอำเภอพิจารณา กลั่นกรองโครงการ จัดลำดับความสำคัญแล้วเสร็จสามารถส่ง เสนอคณะกรรมการระดับจังหวัด ระดับ 2 คะแนน ชุมชนจัดทำแผนพร้อมรายละเอียดเพื่อดำเนิน กิจกรรมภายในชุมชนเอง หรือขอรับการสนับสนุน พร้อมทั้งเสนอแผน ให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องตามลำดับจากระดับหมู่บ้าน/ชุมชน ระดับ 1 คะแนน เตรียมความพร้อมและสร้างความเข้าใจร่วมกับผู้นำ ชุมชน อาสาสมัครชุมชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อกำหนดเป้าหมาย และกิจกรรมร่วมกัน

ตัวอย่าง แนวทางการกำหนดตัวชี้วัด น้ำหนัก ค่าเป้าหมายและเกณฑ์การให้คะแนน เพื่อประเมินผลการสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด แผน แผนการสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาสและผู้สูงอายุ ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนการสงเคราะห์เพื่อยกระดับครอบครัวของผู้ด้อยโอกาสและผู้สูงอายุในชุมชน ชื่อตัวชี้วัด ระดับ 5 คะแนน ชุมชนสามารถดำเนินกิจกรรมสงเคราะห์ครอบครัว ผู้ด้อยโอกาส/ผู้สูงอายุในชุมชนโดยมีคณะทำงานระดับหมู่บ้าน/ชุมชน เพื่อประสานความร่วมมือสนับสนุนจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ระดับ 4 คะแนน ชุมชนจัดทำแผนพร้อมรายละเอียดเพื่อดำเนิน กิจกรรมภายในชุมชนเอง หรือขอรับการสนับสนุน พร้อมทั้งเสนอแผนให้ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องตามลำดับจากระดับหมู่บ้าน/ชุมชน อำเภอ และจังหวัด ระดับ 3 คะแนน ชุมชนระบุกิจกรรมและจัดลำดับความสำคัญกิจกรรม ที่ต้องการให้การสงเคราะห์ครอบครัวผู้ด้อยโอกาส/ผู้สูงอายุร่วมกับ ผู้นำชุมชน อาสาสมัครชุมชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ระดับ 2 คะแนน ชุมชนสำรวจและวิเคราะห์สรุปสภาพปัญหาความ จำเป็นต้องการรับการสงเคราะห์ของครอบครัวผู้ด้อยโอกาส/ผู้สูงอายุ โดยใช้กรอบแนวคิดดัชนีคุณภาพชีวิตของกระทรวงพัฒนาสังคมฯ ระดับ 1 คะแนน เตรียมความพร้อมและสร้างความเข้าใจร่วมกับผู้นำ ชุมชน อาสาสมัครชุมชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อกำหนดเป้าหมาย และกิจกรรมร่วมกัน

หลักการ: พิจารณาจากความสำเร็จของงานในแต่ละระดับคะแนน ตัวอย่างตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนการให้บริการขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพแก่ประชาชน หลักการ: พิจารณาจากความสำเร็จของงานในแต่ละระดับคะแนน -รายงานแสดงจำนวนผู้ได้รับบริการขั้นพื้นฐานและสรุปความเห็นต่อการให้บริการ -สามารถปฏิบัติตามแผน ได้แล้วเสร็จครบถ้วน -จัดทำแผนให้บริการขั้นพื้นฐานแก่ชุมชน และผ่านการอนุมัติจากผู้บังคับบัญชา ระดับ 5 คะแนน ระดับ 4 คะแนน ระดับ 3 คะแนน ระดับ 2 คะแนน ระดับ 1 คะแนน -จัดให้มีระบบในการรับฟังความคิดเห็นจากชุมชน และการตอบข้อร้องเรียน -จัดให้มีระบบในการรับฟังความคิดเห็นจากชุมชน และการตอบข้อร้องเรียน -จัดให้มีระบบในการรับฟังความคิดเห็นจากชุมชน และการตอบข้อร้องเรียน -จัดให้มีระบบในการรับฟังความคิดเห็นจากชุมชนและการตอบข้อร้องเรียน -จัดทำแบบสอบถามและดำเนินการสอบถาม โดยเน้นการบริการขั้นพื้นฐาน การรายงานผลงวดครึ่งปีและ สิ้นปีงบประมาณ จังหวัดต้องส่ง เอกสาร/หลักฐาน ที่ได้ดำเนินงานของแต่ละขั้นตอนให้ ก.พ.ร.

ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนการพัฒนาระบบฐานข้อมูล ตัวอย่างตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนการพัฒนาระบบฐานข้อมูล และสารสนเทศของชุมชนที่เป็นความต้องการและดำเนินการโดยชุมชน - ข้อมูลเกี่ยวกับต้นแบบองค์ความรู้ของครอบครัว ชุมชนในระดับอำเภอที่ตรงตามความต้องการของชุมชน เก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับต้นแบบองค์ความรู้ของครอบครัวชุมชนในระดับตำบล - เก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับต้นแบบองค์ความรู้ของครอบครัว ชุมชนในระดับตำบล เก็บรวบรวมข้อมูลปัจจุบัน และข้อมูลย้อนหลัง 1-3 ปี เก็บรวบรวมข้อมูลปัจจุบันและข้อมูลย้อนหลัง 1-3 ปี ระดับ 5 คะแนน ระดับ 4 คะแนน ระดับ 3 คะแนน ระดับ 2 คะแนน ระดับ 1 คะแนน แต่งตั้งคณะทำงาน ศึกษาการจัดทำระบบ ฐานข้อมูลชุมชนโดยชุมชน แต่งตั้งคณะทำงาน ศึกษาการจัดทำระบบ ฐานข้อมูลชุมชนโดยชุมชน แต่งตั้งคณะทำงาน ศึกษาการจัดทำระบบ ฐานข้อมูลชุมชนโดยชุมชน แต่งตั้งคณะทำงาน ศึกษาการจัดทำระบบฐานข้อมูลชุมชนโดยชุมชน - ออกแบบฐานข้อมูล - กำหนดหน่วยงาน - กำหนดวิธีการเก็บข้อมูล - ออกแบบฐานข้อมูล - กำหนดหน่วยงาน - กำหนดวิธีการเก็บข้อมูล - ออกแบบฐานข้อมูล - กำหนดหน่วยงาน - กำหนดวิธีการเก็บข้อมูล - ออกแบบฐานข้อมูล - กำหนดหน่วยงาน - กำหนดวิธีการเก็บข้อมูล หลักการ: พิจารณาจากความสำเร็จของงานในแต่ละระดับคะแนน การรายงานผลงวดครึ่งปีและ สิ้นปีงบประมาณจังหวัดต้องส่ง เอกสาร/หลักฐานในการได้ดำเนินการจริงของ แต่ละขั้นตอนให้ ก.พ.ร.

กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 ประเด็นการประเมินผล น้ำหนัก มิติที่ 1 : มิติด้านประสิทธิผล(ต่อ) ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ หมายเหตุ ** ตัวชี้วัด 2.2 (น้ำหนักรวมร้อยละ 18) ประกอบด้วย 2.2.1 ร้อยละที่ลดลงของจำนวนครัวเรือนยากจนที่มีรายได้ ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. 2.2.2 ร้อยละของหมู่บ้าน/ชุมชนเข้มแข็งที่เอาชนะยาเสพติด 2.2.3 ระดับความสำเร็จในการป้องกันและปราบปรามการเกิด อาชญากรรม 2.2.4 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนงานด้านความมั่นคงชายแดน 2.2.5 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2.2.6 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของอาหารสด ตลาดสด ร้านอาหารและแผงลอยที่ผ่านมาตรฐานด้านสาธารณสุข 2.2.7 ระดับความสำเร็จของการรักษาความปลอดภัยโดยเน้นการลดอุบัติเหตุจราจรทางบก (3) (2) (1.5) (4)

กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 ประเด็นการประเมินผล น้ำหนัก มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ 15 ความพึงพอใจของผู้รับบริการ 3.1 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ 5 3.2 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการจัดตั้งศูนย์บริการร่วม 4 การมีส่วนร่วมของประชาชน 4. ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตามตรวจสอบการปฏิบัติราชการ 3 ความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ 5.1 5.2 ระดับความสำเร็จในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของทางราชการ ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ 1 2

กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 ประเด็นการประเมินผล น้ำหนัก มิติที่ 3 : มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 10 การลดระยะเวลาการให้บริการ 6.1 6.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการลดรอบระยะเวลาของขั้นตอนการปฏิบัติราชการของจังหวัด ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินการตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงด้านกระบวนงาน 4 3 ประสิทธิภาพของการใช้พลังงาน 7. ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของจังหวัด

กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของจังหวัดประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2550 ประเด็นการประเมินผล น้ำหนัก มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร 25 การจัดการความรู้ 8. ระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ 5 การจัดการทุนมนุษย์ 9.1 9.2 9.3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล (เป็นตัวชี้วัดเลือก) ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบุคลากรตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กร สู่ระดับบุคคล 2 3 การจัดการสารสนเทศ 10 ระดับคุณภาพของการบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของจังหวัด 6 การบริหารจัดการองค์การ 11 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ การบริหารความเสี่ยง(เป็นตัวชี้วัดเลือก) ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบบริหารความเสี่ยง

Customer Perspective คุณภาพ (ร่าง) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการประจำปี งปม. พ. ศ. 2550 เก่ง องค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง องค์การที่มีศักดิ์ศรีและจริยธรรมสูง ดี High Performance Organization Highly Ethical Organization คำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด Financial Perspective ประสิทธิผล (ผลลัพธ์) Customer Perspective คุณภาพ Strategy Map / Balanced Scorecard Internal Work Process Perspective ประสิทธิภาพ ระดับความสำเร็จการปรับปรุงกระบวนงาน ประสิทธิภาพของการใช้พลังงาน Learning and Growth Perspective พัฒนาองค์การ การพัฒนาทุนความรู้และสารสนเทศ การพัฒนาคุณภาพการจัดการองค์การ การพัฒนาทุนมนุษย์ ระดับคุณภาพของการบริการ ระดับความสำเร็จของการมีส่วนร่วมของประชาชน ความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ ระดับความสำเร็จตามยุทธศาสตร์ กลุ่มจังหวัด/จังหวัด ระดับความสำเร็จในการสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ภายนอก ภายใน 50% ร้อยละของระดับความพึงพอใจ ของผู้รับบริการต่อการให้บริการ ทีโปร่งใสเป็นธรรม ยึดมั่นในจรรยาบรรณและมาตรฐานวิชาชีพ ปราศจากการทุจริตและประพฤติมิชอบ 15% ระดับความสำเร็จของการ ดำเนินการตามมาตรการการ ป้องกัน และ ปราบปรามทุจริต ปลอดจากการกระทำผิดวินัยและการละเมิดกฎหมาย 10% น้ำหนัก 60 % นวัตกรรมทางด้านคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล ระดับความสำเร็จของการดำเนินโครงการ เสริมสร้างความมีคุณธรรมจริยธรรม และธรรมาภิบาลขององค์การ 25% น้ำหนัก 40 % น้ำหนัก 100% คะแนนเต็ม 5 น้ำหนัก 100% คะแนนเต็ม 5 < 3 ถ้าส่วนราชการได้คะแนนความดีต่ำกว่า 3 จะไม่ได้รับเงินรางวัลประจำปี 2550

www.opdc.go.th