ตัวอย่างการประยุกต์ตัวแบบ IC การเลือกเสียภาษีของผู้บริโภค ภาษีรายได้หรือภาษีต่อหน่วย การวัดความพอใจเป็นตัวเงิน ส่วนเกินผู้บริโภค(consumer surplus) เปรียบเทียบ consumer surplus, compensating variation และ equivalent variation
การเลือกเสียภาษีของผู้บริโภค ภาษีรายได้และภาษีต่อหน่วย ไม่ว่าจะเลือกภาษีประเภทใดก็จะมีรายจ่ายภาษีเท่ากัน
ความพอใจจากการบริโภคในรูปแบบของตัวเงิน ส่วนเกินผู้บริโภค บทเรียนจากอาเคมิดีส
แนวคิดของอาคิเมดีส ขนมครก 1 ฝา มงกุฏ ปริมาตรน้ำ 500 ซีซี = ปริมาตรมงกุฏ มงกุฏ ขนมครก 1 ฝา จำนวนเงินสูงสุดที่ยินดีจ่าย = 2 บาท ความพอใจ = 2 บาท
ส่วนเกินผู้บริโภคจากเส้นความพอใจเท่ากัน
ส่วนเกินผู้บริโภคและเส้นอุปสงค์ Compensated demand ใช้วัดส่วนเกินผู้บริโภค คำนวณได้จากสมการรายจ่าย
เปรียบเทียบ ordinary และ compensated demand ตัวอย่างกรณีที่ขนมครกเป็นสินค้าปกติ
ตัวอย่างการประมาณส่วนเกินผู้บริโภค ความพอใจจากการบริโภคขนมครกจำนวน 2 ฝาเท่ากับ (9+ 8) คำนวณแบบเป็นช่วง
ความคลาดเคลื่อนในการประมาณส่วนเกินผู้บริโภคจากอุปสงค์ปกติ คำนวณแบบต่อเนื่อง Cs ขนมครก T ฝา = OPxRT – OPx*AT Cs จากอุปสงค์ปกติ= PxPx*A สูงเกินไป (PxPx*A – PxPx*Z + AZR) หรือ PxAR
การเก็บค่าธรรมเนียม(compensating variation) การเสียค่าธรรมเนียมเพื่อมีสิทธิ์ในการบริโภค ค่าธรรมเนียมสูงสุดที่ยินดีเสียคือ BB*
การห้ามการบริโภค(equivalent variation) ถ้าห้ามการบริโภคต้องมีการชดเชย BG