เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย สิงหาคม 2552
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 ประยุกต์ทฤษฎีอุปทานแรงงาน
รองศาสตราจารย์ดร. ภาวดี ทองอุไทย กรกฎาคม  แรงงานเข้าสู่ตลาดด้วยระดับการศึกษาและ ทักษะต่างกัน  หลังจากทำงาน ยังได้ฝึกอบรมเพิ่ม (on-the- job training)
บทบาทหญิงชายในระบบเศรษฐกิจ ศ. 363 Gender Economics
วิกฤตเศรษฐกิจ และ ผลกระทบต่อแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471)
โลกาภิวัตน์ การค้าเสรี และการจ้างงานหญิงชาย
Specific Factor Model ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
เศรษฐศาสตร์แรงงาน ศ. 471 สหภาพแรงงาน
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
“นโยบายส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาด้านวิทยาศาสตร์
ตัวอย่าง : ผลกระทบภายนอกจากการผลิต
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
“การบริหารโลกาภิวัตน์: ประสบการณ์ของ ภาคอุตสาหกรรมไทย”
รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง
กลไกราคากับผู้บริโภค
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ได้กล่าวว่า ในระดับบุคคลข่าวสารที่ ได้จากระบบ ช่วยทั้งในแง่ ส่วนตัวและวิชาชีพ ในระดับองค์การ การจะมีส่วนช่วยองค์การให้มี ประสิทธิภาพจะมีผลกระทบต่อกล ยุทธ์และความสำเร็จขององค์การ.
ปัจจัยสนับสนุน ความสามารถในการแข่งขัน
อุตสาหกรรมเด่นของไทย มูลค่าส่งออก (ล้านบาท)
ขับเคลื่อนนวัตกรรม ด้วยการเข้าใจตลาดและผู้ใช้
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
ด้านสัญญาณ เตือน คำอธิบาย ด้านการผลิต ภาคการเกษตร สาขา การเกษตร ขยายตัว พิจารณาจากมูลค่า ผลผลิตรวมด้านการเกษตรเพิ่มขึ้น จากปีก่อนร้อยละ สาขาปศุ
ราคาเงาของแรงงาน และอัตราการคิดลดสำหรับสังคม
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
บทที่ 8 รายรับและกำไรจากการดำเนินธุรกิจ
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
ต้นทุนการผลิต.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ตลาด ( MARKET ).
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
เงินเฟ้อ และการว่างงาน
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย กันยายน 2552

ผลกระทบของการอพยพแรงงาน การจำกัด หรือ สนับสนุนแรงงานต่างชาติ ตลาดแรงงานในประเทศ สมมติว่า แรงงานต่างชาติและแรงงานในประเทศ ทดแทนกันได้อย่าง สมบูรณ์ ในระยะสั้น ทุนมีปริมาณคงที่ เส้นอุปทานเคลื่อนออก การจ้างงานเพิ่ม ค่าจ้างลด แต่...การจ้างแรงงานในประเทศลดลง แรงงานต่างชาติ แย่งงาน ไปจาก คนในประเทศหรือเปล่า?

ในระยะสั้น ถ้าเส้นอุปสงค์ลาดลง และ สินค้าทุนมีปริมาณคงที่ แรงงานต่างชาติเพิ่ม  ค่าจ้างลด และ การจ้างงานของคนใน ประเทศลด แรงงานต่างชาติอาจเข้ามาเสริม (complement) ไม่ได้แข่งเพื่องานประเภทเดียวกัน แต่ช่วยให้แรงงานในประเทศ งานอื่นที่ดีกว่า ผลผลิตหน่วยสุดท้ายของคนในประเทศสูงขึ้น เส้นอุปสงค์แรงงานเคลื่อนขึ้น ค่าจ้างที่สูงขึ้น จูงใจให้คนในประเทศเข้ามาในตลาดแรงงานมากขึ้น

ในระยะยาว ถ้าแข่งขันในตลาดแรงงานประเภทเดียวกัน แรงงานต่างชาติ  เส้นอุปทานแรงงาน เคลื่อนออก ค่าจ้างลดลง เมื่อหน่วยผลิตได้ใช้แรงงานราคาถูกลง  เพิ่มปริมาณทุน เส้นอุปสงค์แรงงาน เคลื่อนออก หลังจากการปรับตัวของทุน ค่าจ้างจะกลับสู่ระดับเดิม สรุป ในระยะยาว ระดับการจ้างงานของคนในประเทศ จะเท่ากับที่เคยเป็น ก่อนจะมีการย้ายเข้าของแรงงานต่างชาติ

ผลกระทบจากการย้ายเข้าของแรงงานต่างชาติ ผลต่อการจ้างงาน แรงงานต่างชาติ ลดโอกาสการจ้างงานสำหรับกำลังแรงงานที่มีอยู่ ขณะนั้นหรือไม่ สองมุมมอง ผลต่อค่าจ้าง แรงงานต่างชาติสร้างแรงกดดันในทางลบต่อค่าจ้างหรือไม่ ผลต่องบประมาณ มีผลอย่างไรต่อรายรับของรัฐ ค่าใช้จ่ายเงินโอน และ บริการ สาธารณะ