ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
Advertisements

แนะนำรายวิชา GED40003 คอมพิวเตอร์กับชีวิต
จัดการฐานข้อมูลด้วย Microsoft Access 2007
E-R Model บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต.
1. นายธนวัฒน์ กันพานิชย์
โดย ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ
ระบบการจัดการสอบ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์
โปรแกรมรหัสข้อมูลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย
แผนการสอน วิชา Database Design and Development
ระบบการจัดการสอบ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทที่ 2 รูปแบบของฐานข้อมูล.
OUTLINE หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของงานวิจัย ขอบเขตเนื้อหางานวิจัย
สรุปใบงาน วิชา ระบบสารสนเทศทางการบัญชี บช. 342
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
Use Case Diagram.
บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต
SCC : Suthida Chaichomchuen
Classification Abstraction
การออกแบบแบบจำลองข้อมูล
ทบทวน การออกแบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
วิธีการทางวิทยาการระบาด
ระบบบัญชี.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
บทที่ 5 พจนานุกรมข้อมูล Data Dictionary
บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis
บทที่ 11 ระบบสารสนเทศ.
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 4 แบบจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
กรณีศึกษา : งานบริหารและธุรการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
อ.อารียา ศรีประเสริฐ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ
ระบบฐานข้อมูลทางการพยาบาล และ Microsoft Access 2003
การแปลง E-R เป็น Table.
ระบบสารสนเทศเพื่อการขายสินค้า ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
1. ชื่อสถาบัน ให้ระบุชื่อ สถาบันการศึกษา คณะวิชา และภาควิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2. ชื่อหลักสูตร ให้ระบุชื่อ หลักสูตรและสาขาวิชาให้ ชัดเจน แบบรายงานข้อมูลการ.
1 ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร.
รายวิชา ระบบฐานข้อมูล 1 หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
Entity Relationship Model
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
Data Modeling Chapter 6.
System Analysis and Design
การวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
1. การศึกษาและการวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
โปรแกรม Microsoft Access
การใช้โปรแกรม Microsoft Word 2007
การพัฒนาระบบงานโดยเทคนิคเชิงโครงสร้าง
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
วิชาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา โดย นางสาวเพลินจิตร์ กันหาป้อง
ง การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 ครูสหรัฐ บัวทอง
QA ready ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา 16 มกราคม 2556 เวลา 13:40-13:50.
ภาระงาน 3.1 การวิเคราะห์และออกแบบฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลเบื้องต้น
อ.วิวัฒน์ ชินนาทศิริกุล
รู้จักกับ Microsoft Access 2003
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Entity-Relationship Model
โมเดลเชิงสัมพันธ์ The relational model.
การแก้ปัญหาโปรแกรม (Flowchart)
Chapter 1 : Introduction to Database System
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
การสร้างสื่อ e-Learning
รายวิชา การจัดการฐานข้อมูล
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ Lecture 9 – แผนภาพ ER and Data Dictionary ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ Contents ER Diagram พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ER-Diagram แผนภาพที่ใช้เป็นเครื่องมือสำหรับอธิบายข้อมูลหรือกฎเกณฑ์ต่าง ๆ เกี่ยวกับข้อมูลในระบบงาน แผนภาพแสดงรายละเอียดและความสัมพันธ์ของข้อมูลต่างๆในระบบในลักษณะภาพรวมซึ่งจะเป็นประโยชน์ในด้านการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ องค์ประกอบของ ER-Diagram Entity หมายถึงสิ่งต่างๆของระบบฐานข้อมูลที่เราสนใจในระบบนั้นๆ เช่น คน, สัตว์, สิ่งของ, สถานที่ หรือเหตุการณ์ มักใช้เป็นคำนาม แทนด้วย Relationship หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่าง Entity แทนด้วย มักใช้เป็นกริยา จะมีคุณสมบัติเฉพาะตัวที่บ่งบอกกฎเกณฑ์ ข้อกำหนด ความหมาย และรายละเอียดที่เกิดจากความสัมพันธ์นั้น ๆ Attribute หมายถึง รายละเอียดของข้อมูลในแต่ละ Entity แทนด้วย มักใช้เป็นคำนาม ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ความสัมพันธ์จะใช้เส้นเชื่อมบ่งบอกถึงความสัมพันธ์ที่เป็นไปได้ One-to-One One-to-Many Many-to-One Many-to-Many 1 N 1 N M N ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ตัวอย่าง - E-R Diagram 1 N เป็นที่ปรึกษา อาจารย์ 1 คนมีนักศึกษาในที่ปรึกษาได้หลายคน นักศึกษา อาจารย์ วินิจฉัยโรค 1 N ผู้ป่วย 1 ราย อาจมีผลการวินิจฉัยว่าเป็นโรคได้หลายโรค ผลการวินิจฉัยโรค ผู้ป่วย ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ตัวอย่าง - E-R Diagram อาจารย์ 1 คน สามารถสอนรายวิชาให้นศ.ได้หลายราย นักศึกษา อาจารย์ อาจารย์ 1 คน สามารถสอนรายวิชาให้นศ.ได้หลายราย ในทางกลับกัน นศ. 1 รายวิชาสามารถสอน โดยอาจารย์ได้มากกว่า 1 คน วินิจฉัยโรค M N แพทย์ 1 คน สามารถทำการวินิจฉัยโรคได้หลายราย ในทางกลับกัน ผู้ป่วย 1 รายสามารถถูกวินิจฉัยโดยแพทย์ได้มากกว่า 1 ราย ผู้ป่วย แพทย์

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สัญลักษณ์เพิ่มเติมที่ใช้เพื่อแสดง Attribute แทน entity ที่อ่อนแอ ซึ่ง entity ประเภทนี้จะถูกลบทิ้งหาก entity ที่ตนขึ้นอยู่ถูกลบทิ้ง เช่น entity ผู้ค้ำประกันจะถูกลบทิ้งด้วยหากมีการลบ entity พนักงาน แทนความสัมพันธ์ระหว่าง entity หนึ่งกับ entity ที่อ่อนแอ แทน แอตทริบิว (Attribute) แทน แอตทริบิวหลัก (Key Attribute) แทน แอตทริบิวที่มีได้หลายค่า (Multivalued Attribute) แทน แอตทริบิวเชิงประกอบ (Composite Attribute) แทน แอตทริบิวที่ได้ขึ้นใหม่ (Derived Attribute) . . . ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

เป็นที่ปรึกษา อาจารย์ สอนรายวิชาให้นศ. ลงทะเบียน T# TName Department SName ID# นักศึกษา รายวิชา Subj-Eng Pre-Subj# Subj-Thai SUB#

พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary)

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) เครื่องมือสำหรับอธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล บอกรูปร่างของข้อมูลในระบบ มีความสำคัญมากเพราะป้องกันความสับสนในระบบงานได้โดยเฉพาะระบบงานใหญ่ๆที่มีข้อมูลมาก และขนาดใหญ่ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ประโยชน์ของการทำData Dictionary เพื่อจัดเก็บรายละเอียดในระบบ เพื่อแสดงความหมายพื้นฐานของส่วนประกอบในระบบ เพื่อทำเอกสารบอกคุณลักษณะของระบบ เพื่อประเมินและค้นหาสิ่งที่ควรปรับปรุงในระบบ เพื่อค้นหาข้อบกพร่องและสิ่งที่ขาดหายจากระบบ

องค์ประกอบของ Data Dictionary ชื่อข้อมูล (Name) รายละเอียดของข้อมูล (Data description) ลักษณะของข้อมูล (Data type) ความยาวของข้อมูล (Data length) รายละเอียดเพิ่มเติม (Additional information) ค่าที่เป็นไปได้ (Permissible value) ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สัญลักษณ์ที่ใช้ในการอธิบายโครงสร้างข้อมูล (Data structure) + แทน และ [ แทน เลือกเพียงหนึ่งอย่างใน { แทน การซ้ำของ ( แทน มีหรือไม่มีก็ได้ * แทน หมายเหตุ = แทน การสมมูลกับ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การอธิบายโครงสร้างข้อมูล ตัวอย่าง ชื่อผู้ป่วย = คำนำหน้า + ชื่อแรก + (ชื่อกลาง) + นามสกุล คำนำหน้า = [นาย/นาง/นางสาว] ตัวอย่างค่าข้อมูล นายสมชาย เพชรดี นางสมศรี เพชรงาม นางสาวสมิธ เอฟ เคอรี ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การอธิบายโครงสร้างข้อมูล (ต่อ) ตัวอย่าง ใบสั่งซื้อ = หมายเลขใบสั่งซื้อ + วันเดือนปีที่สั่งซื้อ + ชื่อลูกค้า + { รหัสสินค้า + ชื่อสินค้า + จำนวนที่สั่งซื้อ + ราคาต่อหน่วย} ข้อมูลของนักศึกษา STUDENTS = { Student record } Student record = Name + Address + Student code + Advisor ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ตัวอย่าง ข้อมูลในระบบวางแผนการผลิต

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ Conclusion ER Diagram พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์