แนวทางการใช้ข้อมูล บริการแพทย์แผนไทย สปสช. ปี 2557

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
Advertisements

ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
ระบบจัดการผู้ป่วยนอกสำหรับโรงพยาบาล
ช่องทางการกำกับติดตามข้อมูลจาก สปสช.
โปรแกรมรหัสข้อมูลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
แนวทางการบริหารงบแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2557
ระบบ OP/PP Individual Data ปี 2557
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
ด้านการส่งเสริมพัฒนาและ ปรับปรุง :ระบบการให้บริการ
สปสช. เขต 8 อุดรธานี รังสรรค์ ศรีภิรมย์ 10 พฤษภาคม 2556
ตามขั้นตอนการให้บริการสาธารณสุข สิทธิสวัสดิการพนักงานส่วนท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานในการคืนสิทธิขั้นพื้นฐาน
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
โครงการจัดทำข้อมูลผ่านเว็บไซต์
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
การลงบันทึกกิจกรรมนวดไทย
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
คำถามต่าง ๆ ในงานแพทย์แผนไทย นายธนพล มีอุดร งานสารสนเทศ สปสช. เขต 1 เชียงใหม่
แนวทางการดำเนินงานแพทย์แผนไทย ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2557 แผนงานสนับสนุนระบบบริการการแพทย์แผนไทย สปสช.
การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research : R2R
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ระบบการรายงาน 0110 รง.5 ปี 2550.
การจัดทำและรายงานข้อมูล แบบ  รง  ปีงบประมาณ 
สัญลักษณ์ การรณรงค์ มะเร็งเต้านม.
การลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง
กองทุนสมทบ ค่าบริการการแพทย์แผนไทย
แนวทางการบริหารกองทุน ที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ปีงบประมาณ 2552
โปรแกรมโครงการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ (INFLUENZA) ปีงบประมาณ2552
ค่าบริการแพทย์แผนไทยปีงบ 2556
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
เงินค่าเสื่อม (A) ภาครัฐ (B) ภาคเอกชน (A1)
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
(OP/PP Individual Data) รังสรรค์ ศรีภิรมย์
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
เมนู...บันทึกการให้บริการหญิงหลังคลอด
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557
ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพแผนไทย โรงพยาบาลทัพทัน
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
งบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
วาระประชุม กวป. งานแพทย์แผนไทย 2 ธ.ค โดย วัชรี แก้วสา
ประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556 “เพิ่มประสิทธิภาพหลักประกันสุขภาพไทย” ระหว่างวันที่ ตุลาคม 2555 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ.
 คู่มือการรายงานจุดเน้นออนไลน์ 2555 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาสเขต 1 เว็บไซต์รายงานจุดเน้นสำหรับสถานศึกษา
แนวทางการจัดสรร งบค่าบริการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
>>0 >>1 >> 2 >> 3 >> 4 >> เมนูแผนของบประมาณ แสดงวิธีการบันทึกข้อมูลหน้าระบบทีละขั้นตอน ข้อพิจารณา : ผู้สร้างต้องมีข้อมูล ดังนี้ - แผนปฏิบัติราชการ หรือโครงการภายใต้แผนปฏิบัติ
แนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่าย เพื่อบริการสาธารณสุข ปี 2551 ปี 2551 เอกสารหมายเลข 1.
แนวทางการบริหารงบค่าบริการ แพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2556 สมชาย ชินวา นิชย์เจริญ.
เกณฑ์การจัดสรร งบค่าบริการการแพทย์แผนไทย ปี 2555
การจัดทำหนังสือ รับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
วิเคราะห์สถิติผู้ป่วยนอก ให้รหัสตาม icd10tm
ประชุม web conference ติดตามข้อมูลแฟ้มมาตรฐาน วันที่ 24 เมษายน 2557
มติคณะอนุกรรมการบริหารงานหลักประกันสุขภาพ จังหวัดปทุมธานี ครั้งที่ 1/2557 วันที่ 15 มกราคม 2557 เรื่อง การบริหารจัดการงบ OP / PP Basic Service จากหน่วยบริหารประจำ.
Palliative Care e-Claim.
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
ระบบการบันทึกข้อมูลและขอชดเชยการรักษาของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพส่วนตำบล กองทุนสวัสดิการพนักงานส่วนท้องถิ่น.
ระบบรายงานการใช้จ่ายงบลงทุน (ค่าเสื่อม)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการใช้ข้อมูล บริการแพทย์แผนไทย สปสช. ปี 2557 แนวทางการใช้ข้อมูล บริการแพทย์แผนไทย สปสช. ปี 2557 นงนุช แสนชัชวาล สปสช.เขต 1 เชียงใหม่

วัตถุประสงค์ในการใช้ข้อมูล 1. การกำกับติดตามผลการดำเนินงาน งานแพทย์แผนไทย จัดทำคำของบประมาณ 2. เป็นข้อมูลประกอบการจัดสรรงบประมาณตาม เกณฑ์ผลงาน ดังนี้ - นวดไทย(นวด ประคบ อบสมุนไพร) - บริการฟื้นฟูสุขภาพแม่หลังคลอด - ยาสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ

หน่วยบริการที่มีสิทธิได้รับงบเพิ่มเติม กรณีผลงานตามเกณฑ์ หน่วยบริการภาครัฐและเอกชนในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กรณีจัดบริการแพทย์แผนไทย: ต้องผ่าน/ผ่านแบบมีเงื่อนไขตามเ กณฑ์ขึ้นทะเบียนหน่วยบริการปฐมภูมิตามข้อ ม.5.7,ม.5.8 (ภาคผนวก 6 และ 7) กรณีฟื้นฟูสุขภาพมารดาหลังคลอด : ต้องผ่าน/ผ่านแบบมีเงื่อนไขตามเกณฑ์ขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ ปฐมภูมิตามข้อ ม.5.7,ม.5.8 (ภาคผนวก 6 และ 7) ผ่านการพิจารณาการสมัครเข้าร่วมโครงการฯ กรณีมีการสั่งจ่ายยาสมุนไพรให้ถือว่ามีการจัดบริการแพทย์แผนไทย โดยผลการประเมินจะพิจารณาจากเครื่องมือ อุปกรณ์ตามรายการที่ประเมินตามภาคผนวก 6 ข้อ ก และ ข)

ระบบข้อมูลบริการแพทย์แผนไทย นวด , อบ , ประคบ , แม่หลังคลอด (กรณี OP) (กรณี IP) การสั่งใช้ยาสมุนไพร /มูลค่ายาสมุนไพร บุคลากรแผนไทย (แพทย์แผนไทย,ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย) การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ (แผนไทย,แพทย์แผนไทยประยุกต์) แหล่งข้อมูล OP/PP Individual E-Claim Program TTM Data Center

ประมวลผลหลังจากสิ้นไตรมาสนั้นๆแล้ว 30 วัน รอบการประมวลผลข้อมูลจาก 21 แฟ้ม สปสช.ส่วนกลางประมวลผลข้อมูลจาก OP/PP Individual data รายไตรมาส ดังนี้ ไตรมาสที่ 1 ใช้ข้อมูลการรับบริการวันที่ 1ตุลาคม – 31 ธันวาคม ไตรมาสที่ 2 ใช้ข้อมูลการรับบริการวันที่ 1มกราคม – 31 มีนาคม ไตรมาสที่ 3 ใช้ข้อมูลการรับบริการวันที่ 1เมษายน– 30 มิถุนายน ไตรมาสที่ 4 ใช้ข้อมูลการรับบริการวันีที่ 1กรกฎาคม –30 กันยายน การนำข้อมูลไปใช้ในการจัดสรรในแต่ละงวด เป็นไปตามแนวทางที่ สปสช.เขตกำหนด ในแต่ละเขตพื้นที่ซึ่งอาจจะใช้ข้อมูลในแต่ละช่วงไตรมาสแตกต่างกันไป ประมวลผลหลังจากสิ้นไตรมาสนั้นๆแล้ว 30 วัน

การสั่งจ่ายยาสมุนไพร (ED) ตัวอย่างรหัสหัตถการ 7 หลัก 1. OP/PP Individual Data การตรวจสอบข้อมูลการให้บริการผู้ป่วยนอก (OP) (Add on) Drug PID SEQ Date_Serve Clinic Card base CID Service* CID PID SEQ Date_Serve Clinic Diag* PID SEQ Date_Serve Clinic ตัวอย่างรหัสยาสมุนไพร (24 หลัก) 410000000100000020110665 410000000190000094510662 410000000380000040110662 การสั่งจ่ายยาสมุนไพร (ED) (Add on) Proced PID SEQ Date_Serve Clinic ตัวอย่างรหัสหัตถการ 7 หลัก 1007820 1007822 1007821 บริการนวด ประคบ อบ บริการฟื้นฟูสุขภาพมาดาหลังคลอด

ข้อกำหนดการบันทึกข้อมูลและสามารถทำการจ่ายได้ นวดไทย (นวด อบ ประคบ) ต้องมีการบันทึกข้อมูลหัตถการแพทย์แผนไทย(หัตถการ 7 หลัก) ต้องมีการบันทึกข้อมูลการวินิจฉัยโรค(รหัสโรคแผนปัจุบัน หรือรหัสโรคแผนไทย) ผู้รับบริการสามารถมารับบริการได้ไม่เกิน 1 ครั้ง/วัน การบันทึกข้อมูลภายในเวลาที่กำหนด (ภายใน 30 วันหลังจากสิ้นไตรมาสนั้นๆ) การ Diag. => ตามการวินิจฉัยของผู้ตรวจประเมินและสั่งการรักษา สามารถใช้ได้ ทั้ง WHO,TTM

ข้อกำหนดการบันทึกข้อมูลและสามารถทำการจ่ายได้ การให้บริการหญิงหลังคลอด 1. กรณีคลอดปกติ ให้บริการได้หลังจากวันที่คลอดแล้ว 7 วัน (กรณีต้องการให้บริการภายใน 7 วันแรกหลังคลอต้องได้รับความเห็นชอบจากบุคลากรผู้มีสิทธิ์ตรวจประเมินและสั่งการรักษา) 2. กรณีผ่าตัดคลอด ให้บริการได้หลังจากวันที่ผ่าตัดแล้ว 1 เดือน 3. ต้องบันทึกข้อมูล กิจกรรมหลักให้ครบทั้ง 5 กิจกรรม (9007712 ,9007713 , 9007714, 9007716, 9007730) 5. แม่หลังคลอดจะต้องรับบริการทั้งหมดภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนหลังจาก วันที่ให้บริการครั้งแรก 6. แม่หลังคลอด สามารถมารับบริการได้ไม่เกิน 5 ครั้ง ต่อ 1 ครรภ์ 7. ต้องมีการบันทึกข้อมูลภายใน ภายใน 30 วันหลังจากสิ้นไตรมาสนั้นๆ การ Diag. => ตามการวินิจฉัยของแพทย์ สามารถใช้ได้ทั้ง WHO,TTM

ผู้ตรวจประเมินและสั่งการรักษาแพทย์แผนไทย

ข้อกำหนดการบันทึกข้อมูลและสามารถทำการจ่ายได้ ยาสมุนไพรไทย 1. มีรหัสยาสมุนไพร 24 หลักที่ถูกต้อง (DIDSTD) 2. เป็นยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ (ED TYPE = 1) รหัสที่ 25 ที่มาของยา หมายเลข 1 = ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ

ช่องทางการดาวโหลดรหัสเกี่ยวกับแพทย์แผนไทย รหัสหัตถการแพทย์แผนไทย 7 หลัก www.nhso.go.th/บริการออนไลน์/งานชดเชย (บันทึกการรับบริการแพทย์แผนไทย) รหัสยาแผนไทย 24 หลัก http://www.dtam.moph.go.th / รหัสยาแผนไทย

Flow Diagram การตรวจสอบ นวด อบ ประคบ (1) คำอธิบายเพิ่มเติม ข้อมูล OP Individual Records 1. นำข้อมูลจาก OP Individual Records มาทำการตรวจสอบเงื่อนไข 2. ตรวจสอบตามเงื่อนไข OP Individual Records ตรวจสอบตามเงื่อนไข OP Individual Records - ถ้าตรวจสอบตามเงื่อนไข OP individual Records ไม่ผ่าน จะทำการคัดข้อมูลออก ไม่ผ่าน คัดข้อมูลออก 3. ข้อมูลที่ที่ผ่านการตรวจสอบ มาตรวจสอบ วันที่รับบริการอยู่ในช่วงเวลาที่กำหนด (ดูข้อมูลจากฟิลด์ DATE_SERV จากแฟ้ม SERVICE) ผ่าน - ถ้าตรวจสอบวันที่รับบริการไม่ได้อยู่ ในช่วงที่กำหนด จะทำการคัดข้อมูลออก วันที่รับบริการ (อยู่ในช่วงเวลาที่กำหนด) ไม่ใช่ ใช่

Flow Diagram การตรวจสอบ นวด อบ ประคบ (2) ใช่ คำอธิบายเพิ่มเติม รหัสหัตถการแพทย์แผนไทยจากแฟ้ม Procedure ไม่ใช่ คัดข้อมูลออก 4. ข้อมูลบริการนั้นต้องมีการลงรหัสหัตถการที่ เป็นรหัสแพทย์แผนไทย (โดยรหัสหัตถการ ดังกล่าวจะมีทั้งหมด 7 หลัก) ใช่ - ถ้าตรวจสอบรหัสแพทย์แผนไทยแล้วไม่ใช่ จะ ทำการคัดข้อมูลออก สิทธิ์ UC, WEL 5. เลือกข้อมูลเฉพาะสิทธิ UC, WEL ที่หาสิทธิได้ จากส่วนกลาง 6. เลือกข้อมูลเฉพาะที่มีฟิลด์ SERVICE_TYPE เป็น 1 และ 2 (หมายเหตุ ถ้าค่าว่างมาทางทีม ทำข้อมูลจะใส่ให้เป็น 1) ใช่ ไม่ใช่ สถานที่บริการ SERVICE_TYPE เป็น 1 หรือ 2 - ถ้าตรวจสอบข้อมูล SERVICE_TYPE ไม่ใช่ 1 หรือ 2 จะทำการคัดข้อมูลออก 7. นับจำนวนผู้ป่วยที่เข้ามารับบริการ (ดูฟิลด์ DATE_SENT จากแฟ้ม service ใครส่งก่อน ได้ก่อน) แต่หากวันรับบริการและวันส่งข้อมูล เหมือนกันทุกอย่าง ให้ถือเป็นข้อมูล ERROR จะ ไม่ทำการนับ ใช่ 8. นับเฉพาะรหัสบัตรประชาชนที่ถูกต้อง (CID) นับจำนวนผู้ป่วยที่เข้ามารับบริการ นับจำนวนครั้งที่เข้ามารับบริการโดย 1 วัน 1 คน 1 บริการ

Flow Diagram การตรวจสอบข้อมูลแม่หลังคลอด (1) คำอธิบายเพิ่มเติม ข้อมูล OP Individual Records 1. นำข้อมูลจาก OP Individual Records มาทำการตรวจสอบเงื่อนไข 2. ตรวจสอบตามเงื่อนไข OP Individual Records ตรวจสอบตามเงื่อนไข OP Individual Records ไม่ผ่าน คัดข้อมูลออก - ถ้าตรวจสอบตามเงื่อนไข OP Individual Records ไม่ผ่าน จะทำ การคัดข้อมูลออก ผ่าน 3. ข้อมูลที่ที่ผ่านการตรวจสอบ มาตรวจสอบ วันที่รับบริการอยู่ในช่วงเวลาที่กำหนด (ดู ข้อมูลจากฟิลด์ DATE_SERV จากแฟ้ม SERVICE) วันที่รับบริการ อยู่ในช่วงเวลาที่กำหนด ไม่ใช่ - ถ้าตรวจสอบวันที่รับบริการแล้วไม่ได้อยู่ ในช่วงเวลาที่กกหนด จะทำการคัด ข้อมูลออก ใช่

Flow Diagram การตรวจสอบข้อมูลแม่หลังคลอด (2) ใช่ รหัสหัตถการแพทย์แผนไทยจากแฟ้ม Procedure คำอธิบายเพิ่มเติม คัดข้อมูลออก ไม่ใช่ 4. ข้อมูลบริการนั้นต้องมีการลงรหัสหัตถการที่เป็น รหัสแพทย์แผนไทย (โดยรหัสหัตถการ ดังกล่าวจะมีทั้งหมด 7 หลัก) - ถ้าตรวจสอบรหัสแพทย์แผนไทยแล้วไม่ใช่ จะ ทำการคัดข้อมูลออก ใช่ สิทธิ์ UC, WEL 5. เลือกข้อมูลเฉพาะสิทธิ UC, WEL ที่หาสิทธิได้จาก ส่วนกลาง ไม่ใช่ - ถ้าตรวจสอบสิทธิแล้วไม่ใช่ จะทำการคัด ข้อมูลออก 6. เลือกข้อมูลที่มีรหัสหัตถการ 5 รหัส คือ (9007712 ,9007713 , 9007714, 9007716, 9007730) มาพร้อมกันในการบริการครั้งเดียว ใช่ ไม่ใช่ มีรหัสหัตถการ 900-77-13, 900-77-14, 900-77-16, 900-77-12, 900-77-30 มาพร้อมกัน 7. ตรวจสอบ CID ที่มารับรักษาต้องไม่เกิน 5 ครั้ง CID ที่มารับรักษาไม่เกิน 5 ครั้ง - ถ้าตรวจสอบ CID ที่มารับการรักษาถ้า เกิน 5 ครั้ง จะทำการคัดข้อมูลออก ใช่ 8. นับจำนวนผู้ป่วยที่เข้ามารับบริการ (ดูฟิลด์ DATE_SENT จากแฟ้ม Service ใครส่งก่อน ได้ก่อน) แต่หากวันรับบริการและวันส่งข้อมูล เหมือนกันทุกอย่าง ให้ถือเป็นข้อมูล ERROR จะไม่ทำการนับ ใช่ นับจำนวนผู้ป่วยที่เข้ามารับบริการ นับจำนวนครั้งที่เข้ามารับบริการโดย 1 วัน 1 คน 1 บริการ 9.นับเฉพาะรหัสบัตรประชาชนที่ถูกต้อง (CID)

Flow Diagram การตรวจสอบข้อมูลยาสมุนไพร (1) คำอธิบายเพิ่มเติม 1. นำข้อมูลจาก OP Individual Records มาทำการตรวจสอบเงื่อนไข ข้อมูล OP Individual Records 2. ตรวจสอบตามเงื่อนไข OP Individual Records - ถ้าตรวจสอบตามเงื่อนไข OP Individual Records ไม่ผ่านจะทำ การคัดข้อมูลออก ตรวจสอบตามเงื่อนไข OP Individual Records ไม่ผ่าน คัดข้อมูลออก ผ่าน 3. ข้อมูลที่ที่ผ่านการตรวจสอบ มา ตรวจสอบ วันที่รับบริการโดยอยู่ในช่วงเวลาที่กำหนด (ดูข้อมูลจากฟิลด์ DATE_SERV จากแฟ้ม SERVICE) - ถ้าตรวจสอบวันที่รับบริการแล้วไม่ได้อยู๋ ในช่วงเวลาที่กำหนดจะทำการคัดข้อมูล ออก วันที่รับบริการ อยู่ในช่วงเวลาที่กำหนด ไม่ใช่ ใช่

Flow Diagram การตรวจสอบข้อมูลยาสมุนไพร ใช่ สิทธิ์ UC, WEL คำอธิบายเพิ่มเติม ไม่ใช่ คัดข้อมูลออก 4. เลือกข้อมูลเฉพาะสิทธิ UC, WEL ที่หาสิทธิ ได้จากส่วนกลาง - ถ้าตรวจสอบสิทธิแล้วไม่ใช่ จะทำการคัด ข้อมูลออก ใช่ 5. เลือกข้อมูลเฉพาะที่มีการส่งข้อมูลตามรหัส ยาสมุนไพร 24 หลักที่ถูกต้องเข้ามา ข้อมูล ยาสมุนไพรจะแยกเป็น ยาสมุนไพรที่มีใบ ยาบัญชีหลักแห่งชาติ และที่ไม่ได้อยู่ในยา บัญชีหลักแห่งชาติ (ดูได้จากตารางยา COLUMN รหัสที่มาของยา) ข้อมูลที่มีรหัสยาสมุนไพร จากแฟ้ม Drug ไม่ใช่ - ถ้าตรวจสอบแล้วไม่มีรหัสยาสมุนไพร จะทำ การคัดข้อมูลออก 6. นับจำนวนผู้ป่วยที่เข้ามารับบริการ (ดูฟิลด์ DATE_SENT จากแฟ้ม Service ใครส่ง ก่อนได้ก่อน) แต่หากวันรับบริการและวันส่ง ข้อมูลเหมือนกันทุกอย่าง ให้ถือเป็นข้อมูล ERROR จะไม่ทำการนับ ใช่ 7.นับเฉพาะรหัสบัตรประชาชนที่ถูกต้อง (CID) นับจำนวนผู้ป่วยที่เข้ามารับบริการ นับจำนวนครั้งที่เข้ามารับบริการโดย 1 วัน 1 คน 1 บริการ

การลงทะเบียนผู้ให้บริการ ในโปรแกรมแพทย์แผนไทย

ช่องทางการเข้าใช้งานระบบฯ เข้าเว็บไซต์ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ( สปสช. ) URL : www.nhso.go.th » : บริการออนไลน์ » : หัวข้อ งานชดเชย » : 2. บันทึกการรับบริการ แพทย์แผนไทย

ขั้นตอนการบันทึกข้อมูล ผู้ให้บริการ 1. เมนู ลงทะเบียนผู้ให้บริการ

1.1 บันทึกข้อมูล ลงทะเบียนผู้ให้บริการ (เพิ่มข้อมูล)

1.2 ค้นหาข้อมูล ผู้ให้บริการ (แก้ไขข้อมูล) หรือ ดูข้อมูลเพื่อการตรวจสอบ)

** หมายเหตุ ** กรณี มีข้อมูลของผู้ให้บริการอยู่แล้วเมื่อบันทึกข้อมูลในสังกัด หน่วยงานใหม่ ให้ทำการลาออกจาก หน่วยงานเดิมก่อน จึงจะสามารถบันทึกข้อมูลได้

เมนู รายงานผลงาน

2. เมนู รายงานผลงาน

2.1 รายงานการบริการนวดไทย (นวด ประคบ อบสมุนไพร) ค้นหาตามเงื่อนไข สามารถดูได้ตามระดับการใช้งาน

แสดงข้อมูล ระดับเขต

ข้อสังเกต/ผลจากการ Audit : ข้อมูลบริการแผนไทย ปี 2555

ข้อสังเกต/ผลจากการ Audit ข้อมูลปีที่ผ่านมา 1. ผู้รับบริการที่มารับบริการนวดไทย (นวด ประคบ อบสมุนไพร) มารับบริการครบทุกกิจกรรม และมารับบริการต่อเนื่อง ตัวอย่าง หน่วยบริการ 1 แห่งผู้รับบริการทุกคนได้รับครบทุกกิจกรรม ผู้รับบริการ 1 คนมารับบริการต่อเนื่องกันภายใน 1 เดือน (CPG < 12 ครั้ง/เดือน )

ข้อสังเกต/ผลจากการ Audit ข้อมูลปีที่ผ่านมา 2. ผู้รับบริการที่มารับบริการนวดไทย 2 เดือนติดต่อกันทุกวัน เป็นเวลา 2 เดือน 14138 3670600107743 สุทน ชอบดอน 20120802 20121017 20120804 20120806 20120808 20120809 20120812 20120813 20120815 20120816 20120817 20120818 20120819 20120821 20120822 20120823 20120824 20120826 20120828 20120829 20120830 20120901 20121024 20120902 20120904 20120905 20120909 20120910 20120912 20120914 20120915 20120916 20120918 14138 3670600107743 สุทน ชอบดอน 20120702 20120831 20120703 20120704 20120705 20120706 20120708 20120709 20120710 20120711 20120712 20120713 20120714 20120715 20120716 20120717 20120718 20120719 20120720 20120721 20120722 20120723 20120724 20120725 20120727 20120728 20120729 20120730 20120731 20120801 20121017

ข้อสังเกต/ผลจากการ Audit ข้อมูลปีที่ผ่านมา 3. ผู้รับบริการที่มารับบริการนวดไทยในวันเดียวกันมากกว่า 1 แห่ง HCODE PID ชื่อ นามสกุล วันที่รับบริการ วันที่ส่งข้อมูล 11447 3420700151606 หนูรัก โสประดิษฐ 20120705 20120831 04713 HCODE PID ชื่อ นามสกุล วันที่รับบริการ วันที่ส่งข้อมูล 10735 3759900135774 พรม สมุทรสกุลเจริญ 20120702 20120831 20120716 20120815 20120921 20120822 20120903 20121018 20120912 20120924 15250 20120828 20120930 20121026 วันรับบริการและวันส่งข้อมูลเป็นวันเดียวกัน วันที่รับบริการเหมือนกันแต่วันส่งข้อมูลไม่เหมือนกัน

ข้อสังเกต/ผลจากการ Audit ข้อมูลปีที่ผ่านมา 4. ผู้รับบริการที่มารับบริการฟื้นฟูสุขภาพแม่หลังคลอด มีชื่อรับบริการ 2 แห่งภายใน 1 วัน

ข้อสังเกต/ผลจากการ Audit : ข้อมูลบริการแผนไทย ปี 2556

บันทึกข้อมูลในเวชระเบียนไม่ครบถ้วน /ถูกต้อง บันทึกข้อมูลในเวชระเบียนไม่ครบถ้วน /ถูกต้อง ข้อมูลการวัด vital signs ก่อนการให้บริการ การประเมินร่างกาย ก่อนและภายหลังการรักษา ไม่ได้ลงวันที่ในการให้บริการ ไม่ได้ระบุเวลาในการทำหัตถการ รหัสประจำตัวไม่ถูกต้อง ให้บริการ ไม่มีการบันทึกใน OPD card

รหัสโรคไม่ตรงกับการวินิจฉัยที่บันทึกในเวชระเบียน มีอาการปวดหลัง ลง Diag. ปวดขา การซักประวัติการรักษาไม่ละเอียด วินิจฉัยโรค และหัตถการไม่ถูกต้อง พบว่าบางรายมีการสั่งการรักษาด้วยการประคบเพียงอย่างเดียวแต่การลงข้อมูลว่ามีการนวดเพื่อการรักษาด้วย

ผู้ให้บริการ ไม่มีใบประกอบโรคศิลปะของแพทย์แผนไทย ไม่มีการระบุชื่อผู้ให้บริการและไม่มีการลงลายมือชื่อทั้งผู้ตรวจและผู้ให้บริการ มีลายเซ็นของผู้ตรวจ และหมอนวด ในแต่ละแผ่นไม่ ครบ รวมทั้งไม่ทราบว่าเป็นลายเซ็นของใคร 4. หมอนวดไม่ผ่านการอบรมหลักผู้ช่วยแพทย์แผนไทยหลักสูตร 330 ชม. /บางราย 160 ชม.

ปัญหาที่พบในการตรวจสอบการให้บริการ แม่หลังคลอด การซักประวัติหญิงหลังคลอดไม่ครบถ้วน เช่น ประวัติการคลอด ลักษณะของน้ำนม/เต้านม อาการปวดหน้าท้องหรือปวดตามกล้ามเนื้อ ลักษณะของน้ำคาวปลา โรคประจำตัว เป็นต้น ไม่มีการตรวจประเมินร่างกายก่อนการให้บริการ ถ้ามีควรระบุลงใน OPD CARD 3. ไม่มีการระบุเวลาในการให้บริการในแต่ละกิจกรรม จำนวนครั้งที่ให้บริการและวันที่ไม่ตรงกัน ไม่ได้ระบุวันที่คลอดหรือผ่าตัดคลอด Z392 ดูแลหลังคลอด (ICD 11) U 509 หลังคลอดผิดปกติ

การตรวจสอบรายงานการจ่ายเงินกองทุน www.nhso.go.th 1

การตรวจสอบรายงานการจ่ายเงินกองทุน 2

การตรวจสอบรายงานการจ่ายเงินกองทุน 3

การตรวจสอบรายงานการจ่ายเงินกองทุน 4

การตรวจสอบรายงานการจ่ายเงินกองทุน 5 Download ตารางการจัดสรรเงิน

ตัวชี้วัดการดำเนินงานแพทย์แผนไทยระดับเขต ปี 2557 2556 เป้าหมาย 2557 1.จำนวนหน่วยบริการที่เป็นศูนย์บริการด้านการแพทย์แผนไทยและมีแพทย์แผนไทยประจำมีการ certify ระดับหน่วยบริการประจำ (จำนวน 118 CUP) 56 แห่ง 67 แห่ง (เพิ่ม 11แห่ง) 2.ร้อยละของประชาชนได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ร้อยละ 40.84 เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 ของผลงานปีที่ผ่านมา 3.ร้อยละของ รพ.สต. ที่มีบริการแพทย์แผนไทยพื้นฐาน เน้นการใช้ยาพื้นฐาน 5 รายการ (ระดับประเทศ ร้อยละ 70) ร้อยละ 37.14 ร้อยละ 50 4. ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยที่ได้มาตรฐาน NA ร้อยละ 8 รพ.สต. ที่มีบริการแพทย์แผนไทยพื้นฐาน หมายถึง รพ.สต.ที่ได้ขึ้นทะเบียนที่ Data Center ในหมวด ก และ ข ของภาคผนวก 6, 7 ตามแบบประเมินหน่วยบริการปฐมภูมิ

E-mail : nongnuch.s@nhso.go.th ขอบคุณค่ะ www.nhso.go.th นงนุช แสนชัชวาล สปสช.เขต 1 เชียงใหม่ มือถือ 090-1975149 E-mail : nongnuch.s@nhso.go.th