แนวคิดทางปรัชญาพื้นฐาน ปรัชญาจิตนิยม (Idealism) ปรัชญาวัตถุนิยม (Realism) ปรัชญากลุ่มปฏิบัตินิยม(Pragmatism)
ปรัชญาพื้นฐาน ปรัชญาจิตนิยม Idealism ปรัชญาสัจนิยม/ วัตถุนิยม Realism ปรัชญาปฏิบัตินิยม Pragmatism
ปรัชญาจิตนิยม Idealism ทัศนะเรื่อง “ความจริง” เชื่อว่า ความคิด คือ ความจริงอันแท้จริง 2. ทัศนะเรื่อง “ความรู้” เชื่อว่า ความรู้ที่แท้จริงเกิดจากเหตุผลมากกว่า เกิดจากประสบการณ์ 3. ทัศนะเรื่อง “คุณค่า” เชื่อว่า สิ่งที่มีค่าที่สุดของมนุษย์ คือ จิตวิญญาณ
แนวคิดทางการศึกษาของลัทธิจิตนิยม (Idealism) จิตนิยมกับการศึกษา แนวคิดทางการศึกษาของลัทธิจิตนิยม (Idealism) ความมุ่งหมายของการศึกษา คือ การพัฒนาจิตหรือปัญญา ควบคู่ไปกับคุณธรรม หลักสูตรและเนื้อหา * เน้นวิชาที่ฝึกจิต ได้แก่ คณิตศาสตร์ วรรณคดี ปรัชญา ประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม และงานเขียนในอดีต * เน้นวิทยาศาสตร์ รองลงมาคือ พลศึกษา วิธีการเรียนการสอน เน้นวิธีคิด วิธีพิจารณาหาเหตุผล โดยใช้วิภาษาวิธี (dialectic) การอภิปราย บรรยาย และโครงการสร้างสรรค์ ครู ทำหน้าที่ประสานความรู้กับผู้เรียน แนะนำอย่างเฉลียวฉลาด ควบคุมตักเตือนอย่างเพื่อน (ครูเป็นปราชญ์ที่มีคุณธรรม)
ปรัชญาสัจนิยม/วัตถุนิยม Realism ทัศนะเรื่อง “ความจริง” ความจริง ความเป็นจริง คือ วัตถุหรือสสารที่มีอยู่ภายนอกจิต และเป็นอิสระจากการรับรู้ของจิต 2. ทัศนะเรื่อง “ความรู้” ความรู้ที่ติดตัวมาตั้งแต่เกิดนั้นไม่มี ทัศนะเรื่อง “คุณค่า” สิ่งที่มีค่าที่สุดสำหรับมนุษย์ คือ ความสุขสบายทางกาย
แนวคิดทางการศึกษาของลัทธิสัจนิยม (Realism) ความมุ่งหมายของการศึกษา “ชีวิตที่ดี คือ ชีวิตที่มีความสุข” หลักสูตรและเนื้อหาวิชา เน้นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาและ ประวัติศาสตร์ วิธีการเรียนการสอน ให้ผู้เรียนรู้จักคุ้นเคยกับความเป็นจริงที่มีอยู่ในธรรมชาติทั้งทางตรง และทางอ้อม การวัดและการประเมินผล “ใช้ความเป็นปรนัย” ครู (ต้องมีความรู้ดีและเสนอความรู้อย่างมีระบบ)
จบการบรรยาย สวัสดี