หลอดฟลูออเรสเซนต์ fluorescent

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทังสเตน ทังสเตนหรือวุลแฟรม ( W ) เป็นโลหะสีเทาเงิน นำความร้อนและไฟฟ้าดีมาก ซึ่งมีจุดหลอมเหลวสูงถึง 3410 องศาเซลเซียส ความหนาแน่น 19.3 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร.
Advertisements

บทที่ 6 การใช้สีสำหรับเว็บไซต์
สื่อการเรียนรู้ ความงามของศิลปะด้านจิตรกรรม ศ เรื่อง
คอยล์ ( coil ) สมพล พัทจารี วิศวกรรมไฟฟ้า.
ตอบคำถาม 1. วงจรไฟฟ้า หมายถึง ตัวนำไฟฟ้า หมายถึง
ปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
วิธีการช่วยป้องกัน สภาวะโลกร้อน.
颜色 Yánsè ความเชื่อเรื่อง สี ของชาวจีน โครงงาน เสนอ
วงจรสี.
~ ชาเขียว ~.
8. ไฟฟ้า.
การทดลองที่ 3 สเปกโทรสโกป.
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
หน่วยที่ 5 หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
Liquid Crystal Display (LCD)
ข้อเปรียบเทียบ Monitor 2 แบบ
โครงการจัดทำนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
ระบบทำความเย็นและปรับอากาศ
ตัวเหนี่ยวนำ (Inductor)
แนะนำวิธีการลดการใช้พลังงาน
เครื่องมืออุปกรณ์งานเดินสายไฟฟ้าในอาคาร
การบัดกรีชิ้นงานอิเล็คทรอนิคส์
หม้อแปลง.
โครงการฝึกอบรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ จุดเกิดเหตุบนถนน
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
ระบบไฟฟ้ากับเครื่องกล
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
ระบบเครื่องปรับอากาศ
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
ลักษณะการมองเห็นภาพ ตา
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
1. สีสันหรือฮิว(HUE) หมายถึง สีที่ตาเรามองเห็น
ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอด
เตารีด คือ เครื่องใช้ไฟฟ้าที่สามารถหยิบยกได้ ให้ความร้อนแผ่นฐานด้วยไฟฟ้าและใช้สำหรับรีดวัสดุสิ่งทอให้เรียบ ปัจจุบันมีการนำเอาสารเคลือบ เทฟลอนมาเคลือบแผ่นฐาน.
เตาไฟฟ้า.
เตาปิ้งย่างไฟฟ้า.
กระทะไฟฟ้า                .
เครื่องพิมพ์ดีดไฟฟ้า
เครื่องดูดฝุ่น.
เตาไมโครเวฟ.
หลอดไฟฟ้า.
เครื่องใช้ไฟฟ้า...ภายในบ้าน
ความหมายของเครื่องปรับอากาศ
เครื่องปิ้งขนมปัง.
เครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า.
เครื่องโปรเจคเตอร์PROJECTOR
เครื่องถ่ายเอกสาร.
หมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า : ลำโพง รายวิชา วิทยาศาสตร์
ไดร์เป่าผม.
v v v v อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์โลหะและการปั๊มโลหะ
การอนุรักษ์พลังงาน ในระบบไฟฟ้าแสงสว่าง และอุปกรณ์สำนักงาน.
โดย นายธีระพงษ์ มะลัยทิพย์
Magnetic Particle Testing
1.ใช้ถ่านไฟฉายที่สามารถบรรจุไฟได้ใหม่
ระบบสี และ การแสดงผลภาพ
สังกะสี แคดเมียม.
วิธีการลดค่าใช้จ่าย มีดังนี้
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ 5 ชิ้น สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
บทที่ 7 เรื่อง พลังงานลม
วิชา งานสีรถยนต์.
เรื่อง น้ำสมุนไพร. โดย เด็กหญิง นิศาชล เทพวงค์. มัธยมศึกษาปีที่ 1/3
การหักเหของแสง (Refraction)
สำหรับสาวๆ ที่รักผมเป็นชีวิตจิตใจ ถ้าหาก คิดจะทำสีผมสักครั้ง เชื่อว่าคงไม่มีใครคิด ปุ๊บปั๊บแล้วก็ทำเลยหรอกค่ะ เราก็จะต้อง คิดแล้วคิดอีกว่าทำสีไหนถึงจะออกมาดูดี
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลอดฟลูออเรสเซนต์ fluorescent

หลักการทำงานของหลอดฟลูออเรสเซนต์ เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านไอปรอท จะคายพลังงานไฟฟ้าให้แก่ไอปรอท ซึ่งจะทำให้อะตอม ของไอปรอทอยู่ในสภาวะถูกกระตุ้น (exited state) เป็นผลให้อะตอมปรอทคายพลังงานออกมา เพื่อลดระดับพลังงานในตัวเองในรูปของรังสีอัลตราไวโอเลต ซึ่งมองไม่เห็น เมื่อรังสีชนิดนี้ไปกระทบกับสารวาวแสงที่ฉาบไว้ที่ผิวด้านในของหลอดฟลูออเรสเซนต์ สารเหล่านี้จะเปล่งแสงได้ โดยให้แสงสีต่างๆตามชนิดของสารวาวแสงที่ฉาบไว้ภายในหลอดนั้น เช่น แคดเมียมบอเรท (Cadmium borate) ให้ แสงสีชมพู แคดเมียมซิลิเคท (Cadmium silicate) ให้แสงสีชมพูอ่อน แมกนีเซียมทังสเตท (Magnesium tungstate) ให้แสงสีขาวอมฟ้า แคลเซียมทังสเตท (Calcium tungstate) ให้แสงสีน้ำเงิน ซิงค์ซิลิเคท (Zinc silicate) ให้แสงสีเขียว ซิงค์เบริลเลียมซิลิเคท (Zinc Beryllium silicate) ให้แสงสีเหลืองนวล นอกจากนี้ยังอาจผสมสารวาวแสงเหล่านี้ เพื่อให้ได้แสงสีผสมที่แตกต่างกันออกไปได้อีกด้วย

ส่วนประกอบของหลอดฟลูออเรสเซนต์  1. ตัวหลอด  ภายในสูบอากาศออกจนหมดแล้วบรรจุไอปรอทและก๊าซอาร์กอน เล็กน้อย  ผิวด้านในของหลอดเรืองแสงฉาบด้วยสารเรืองแสงชนิดต่างๆ แล้วแต่ความต้องการให้เรืองแสงเป็นสีใด           

      2. ไส้หลอด ทำด้วยทังสเตนหรือวุลแฟรมอยู่ที่ปลายทั้งสองข้าง เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านไส้หลอดจะทำให้ไส้หลอดร้อนขึ้น ความร้อนที่เกิดขึ้นจะทำให้ไอปรอทที่บรรจุไว้ในหลอดกลายเป็นไอมากขึ้น แต่ขณะนั้นกระแสไฟฟ้ายังผ่านไอปรอทไม่สะดวก เพราะปรอทยังเป็นไอน้อยทำให้ความต้านทานของหลอดสูง

3. สตาร์ตเตอร์ ทำหน้าที่เป็นสวิตซ์ไฟฟ้าอัตโนมัติของวงจรโดยต่อขนานกับหลอด ทำด้วยหลอดแก้วภายในบรรจุก๊าซนีออนและแผ่นโลหะคู่ที่งอตัวได้          

4. แบลลัสต์  เป็นขดลวดที่พันอยู่บนแกนเหล็ก   แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำที่เกิดจากแบลลัสต์นั้นจะทำให้เกิดกระแสไฟฟ้า เหนี่ยวนำไหลสวนทางกับกระแสไฟฟ้าจากวงจรไฟฟ้าในบ้าน ทำให้กระแส ไฟฟ้าที่จะเข้าสู่วงจรของหลอดเรืองแสงลดลง

การใช้งานให้ถูกวิธี 1. ใช้หลอดไฟวัตต์ต่ำ 2. อย่าทาสีผนังเป็นสีเข้ม ควรใช้สีอ่อนๆ เพื่อช่วยให้ความสว่างมากขึ้น 3. หลอดไฟที่ขาด ควรใส่ไว้กับขั้วหลอดจนกว่าจะเปลี่ยนหลอดใหม่ 4. อย่าปล่อยให้หลอดไฟกะพริบ หรือหลอดแดงโดยไม่สว่าง เพราะอาจเกิดไฟฟ้าลัดวงจร ทำให้เกิดอัคคีภัยได้ 5. เลิกใช้หลอดไฟฟ้าที่ไม่ได้มาตรฐาน

วิธีการดูแลรักษา 1. หลอดที่เก็บไว้ไม่กระทบกระทั่งกันจนเกิดการชำรุดเสียหาย 2. เปลี่ยนใช้หลอดผอมแทนหลอดอ้วน ใช้หลอดตะเกียบแทนหลอดไส้ 3. หมั่นทำความสะอาดหลอดไฟฟ้า ควรทำอย่างน้อย 4 ครั้งต่อปี 4. ควรใช้บัลลาสต์ประหยัดไฟ หรือบัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์คู่กับหลอดผอม 5. เลือกใช้หลอดไฟที่มีกำลังวัตต์ เหมาะสมกับการใช้งาน

จบการนำเสนอครับ.. สมาชิกกลุ่ม นายอภิสิทธิ์ กิ่งก้าน นายอภิสิทธิ์ กิ่งก้าน นายเกรียงไกร คำประเสริฐ

โจทย์ปัญหา เรื่อง หลอดฟลูออเรสเซนต์ fluorescent 1.เหตุใดหลอดฟลูออเรสเซนต์จึงสามารถเปล่งแสงได้ ก. รังสีอัลตราไวโอเลตไปกระทบกับไส้หลอด ข. รังสีอัลตราไวโอเลตไปกระทบกับสารวาวแสงที่ฉาบไว้ที่ผิวด้านในของหลอดฟลูออเรสเซนต์ ค. รังสีอัลตราไวโอเลตไปกระทบกับไอปรอท ง. รังสีอัลตราไวโอเลตไปกระทบกับก๊าซอาร์กอน

2.ซิงค์ซิลิเคท (Zinc silicate) ทำให้เกิดแสงสีอะไร ก. แสงสีเขียว ข. แสงสีชมพู ค. แสงสีน้ำเงิน ง. จะมีข้อถูกก็หาไม่

3.ข้อใดไม่ใช่ส่วนประกอบของหลอดฟลูออเรสเซนต์ ก. ตัวหลอด ข. ไส้หลอด ค. สตาร์ตเตอร์ ง. เครื่องปั่นไฟ

4.ส่วนประกอบข้อใดทำหน้าที่เป็นสวิตซ์ไฟฟ้าอัตโนมัติของวงจรโดยต่อขนานกับหลอด ก. ตัวหลอด ข. ไส้หลอด ค. สตาร์ตเตอร์ ง. แบลลัสต์

5.ข้อใดไม่ใช่วิธีการดูแลรักษาหลอดฟลูออเรสเซนต์ ก. หลอดที่เก็บไว้ไม่กระทบกระทั่งกันจนเกิดการชำรุดเสียหาย ข. เปลี่ยนใช้หลอดผอมแทนหลอดอ้วน ใช้หลอดตะเกียบแทนหลอดไส้ ค. หมั่นทำความสะอาดหลอดไฟฟ้า ควรทำอย่างน้อย 4 ครั้งต่อปี ง. เลือกใช้หลอดไฟที่มีกำลังวัตต์สูงๆ