แนวทางการดำเนินการของกระทรวงสาธารณสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
สำนักพัฒนาการเงินการคลังสาธารณสุข
ระบบส่งเสริมการเกษตร
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
แนวคิด ในการดำเนินงาน
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
กรอบความคิดในการกำหนดยุทธศาสตร์ และแผนงาน ปีงบประมาณ 2550
หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (ส.บ. หรือ B.PH.)
บทบาทหน้าที่ผู้ตรวจราชการกรม
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การงบประมาณ (Budget).
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
กลุ่มที่ 2 กลุ่มจังหวัดที่ 3.1 (นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี อ่างทอง) กลุ่มจังหวัดที่ 3.2 (ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี) กลุ่มจังหวัดที่ 4.1 (กาญจนบุรี
แนวคิดความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณ
โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ ผ่านกลไกสถานบันศึกษา
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2549.
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ข อง โดย … นายแพทย์สุวัช เซียศิริวัฒนา ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและ ยุทธศาสตร์ 15 มีนาคม 2549.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
นโยบายสร้างความเป็น เอกภาพ ลดความเหลื่อมล้ำของ ๓ กองทุน นายแพทย์สมชัย นิจพานิข รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
ระบบส่งเสริมการเกษตร
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สู่การเดินหน้าปฏิรูป วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2557 ณ โรงแรม เดอะ สุโกศล
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
สรุปการประชุมระดมความคิด
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การบริหารและพัฒนากำลังคน
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
ทิศทางและแนวทางการบริหารจัดการ การบูรณาการยุทธศาสตร์ เพื่อการพัฒนางานสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ และกระบวนการจัดทำคำของบประมาณ พ.ศ สิงหาคม.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการดำเนินการของกระทรวงสาธารณสุข ในช่วงระยะเวลาการปฏิรูป 3-8 เดือน 5 /02 /14

สถานการณ์ การเลือกตั้งที่ไม่สมบูรณ์คาดว่าทำให้การมีรัฐบาลใหม่ล่าช้าออกไปอย่าง น้อย 3 เดือน เป็นโอกาสในการใช้กระแสการปฏิรูปเพื่อวางระบบในกระทรวง เพื่อพัฒนา งาน สร้างความสามัคคี และป้องกันการแทรกแซงที่ไม่มีคุณธรรม การพัฒนากระทรวงในเชิง Function ก้าวหน้ามาระดับหนึ่งแต่ยังขาดความ ชัดเจนจนเป็นข้อสรุปสุดท้าย เช่นเขตบริการสุขภาพ

ประชาคมสาธารณสุข

กรอบการปฏิรูป การปฏิรูปประเทศไทย การปฏิรูประบบสาธารณสุข เขตสุขภาพ การบูรณาการงานของกรมกับ สป. การปรับภารกิจกรมและคณะกรรมการตามกฎหมาย การร่วมงานของ กสธ. กับ ภาคีนอก กสธ. การอภิบาลระบบในกระทรวงสาธารณสุข การบริหารจัดการระบบคุณธรรม การจัดกลไกร่วมกำหนด ตรวจสอบ ถ่วงดุล ของประชาคมสาธารณสุข

การปฏิรูปประเทศไทย ติดตามความเคลื่อนไหวคณะปฏิรูปต่างๆ โดยเฉพาะคณะที่ได้รับการยอมรับและมี การขับเคลื่อนเป็นรูปธรรม ตั้งคณะทำงานเพื่อเข้าร่วมประชุม แลกเปลี่ยนความเห็น จุดยืนของ กสธ. ภายใต้ การดูแลของท่านปลัดกระทรวง สธ. สื่อสารให้ประชาคมสาธารณสุขรับรู้ในวงกว้าง ในบทบาทการมีส่วนร่วมการปฏิรูป ประเทศไทย

ปฏิรูประบบการเมืองและระบบราชการ ปฏิรูปการปกครอง การกระจายอำนาจ กรอบเนื้อหาการปฏิรูป: 8 กลุ่มเรื่องใหญ่ จากคณะปฏิรูปประเทศชุดปลัดยุติธรรม ปฏิรูประบบการเมืองและระบบราชการ ปฏิรูปการปกครอง การกระจายอำนาจ ปฏิรูปการขจัดคอร์รัปชั่น ปฏิรูปสังคมเพื่อลดปัญหาความเหลื่อมล้ำและความไม่เป็นธรรม ปฏิรูปการจัดสรรทรัพยากร ปฎิรูประบบความยุติธรรม ปฏิรูประบบเศรษฐกิจ ปฏิรูประบบปัญญาของชาติ (การศึกษา-การวิจัย-การสื่อสาร)

2. การปฏิรูประบบสาธารณสุข 2. การปฏิรูประบบสาธารณสุข เขตสุขภาพ ประเมินการดำเนินการของเขตต่างๆ ในช่วงที่ผ่านตามบทบาทใหม่ โดยตั้งประเด็นต่างที่ต้องการความชัดเจน เช่น บทบาท CEO vs Regulator, สำนักงานสาธารณสุขเขต, การสนับสนุนของกรมและ สป.ส่วนกลาง, Service Plan, การบริหารงบประมาณ ฯ ประเมินโดยทีมวิชาการ 4 ทีม/ 4 ภาค และทีมผู้บริหาร หา Good Practices ในการจัดการด้านต่างๆ ของเขตต่างๆเพื่อเป็นแนวทาง พัฒนา กำหนดแนวทางทางการพัฒนา (Blueprint) เพื่อลดความแตกต่างในหลักการ สำคัญ รองปลัด วชิระ เพ็งจันทร์ ดูแล

2. การปฏิรูประบบสาธารณสุข 2. การปฏิรูประบบสาธารณสุข การบูรณาการงานของกรมกับ สป. พัฒนาการบูรณาการงานของกรมต่างๆ รวมถึงศูนย์วิชาการของกรม เพื่อให้การ สนับสนุนเขตบริการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นเอกภาพ มุ่งเน้นที่ขาลงเป็นแผนบูรณาการก่อนถึงเขต รวมถึงกระบวนการ M & E ผตร. สุริยะ วงศ์คงคาเทพ ดูแล

2. การปฏิรูประบบสาธารณสุข 2. การปฏิรูประบบสาธารณสุข การปรับภารกิจกรมและคณะกรรมการตามกฎหมาย ปฏิรูปภารกิจกรมให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนากระทรวง การทบทวนบทบาทคณะกรรมการตามกฎหมายต่างๆโดยเฉพาะที่ปลัดเป็น ประธาน รองปลัด ทรงยศ ชัยชนะ ดูแล

2. การปฏิรูประบบสาธารณสุข 2. การปฏิรูประบบสาธารณสุข การร่วมงานของ สธ. กับ ภาคีนอก กสธ. เพิ่มความร่วมมือในการพัฒนา เริ่มด้วยเรื่องที่มีความเห็นในทิศทางเดียวกันเช่น DHS สธ., สปสช., สสส. ให้ การสนับสนุน, การเข้าถึงบริการ แสวงหาข้อเท็จจริงในประเด็นที่เห็นต่างเพื่อหาทางออกร่วมกันอย่างเป็น เอกภาพในอนาคตเช่น การบริหารงบ UC บทบาทในฐานะ National Health Authority ผตร. สุรเชษฐ์ สถิตนิรามัย ดูแล

การอภิบาลระบบในกระทรวงสาธารณสุข การบริหารจัดการระบบคุณธรรม กำหนดกระบวนการการจัดซื้อจัดจ้างที่โปร่งใส ตรวจสอบได้ การบริหารงานบุคคลในระดับต่างๆ มีคุณธรรม ป้องกันการแทรกแซงที่ไม่ชอบ ธรรม การวางแผนการผลิตและพัฒนาเพื่อการให้บริการสาธารณสุข การวางแผนงบลงทุนระยะยาวที่เป็นรูปธรรม (คน เงิน ของ) ผู้ช่วยปลัด สุเทพ วัชรปิยานันท์ ดูแล

การอภิบาลระบบในกระทรวงสาธารณสุข การจัดกลไกร่วมกำหนด ตรวจสอบ ถ่วงดุล ของประชาคมสาธารณสุข กำหนดบทบาทในการเป็นผู้ร่วม ตรวจสอบ ถ่วงดุล ออกแบบกลไกและกระบวนการการมีส่วนร่วมของประชาคมสาธารณสุขในการ รักษาระบบคุณธรรม สนับสนุนให้เกิดเวทีในการระดมความเห็นเพื่อร่วมกำหนดกลไกและกระบวนการ โดยเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมเช่น ธรรมนูญ. สมัชชา ฯ ผู้ทรงคุณวุฒิ ศุภกิจ ศิริลักษณ์ ดูแล

สวัสดี