Pol.Col.Aviruth Ratchusiri

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
Advertisements

ระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการศึกษา
กิจกรรมที่ 9 ระดับสารสนเทศ จุดประสงค์ อธิบายและจำแนกระดับสารสนเทศ.
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
Community of Practice ชุมชนนักปฏิบัติ.
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
ระบบธุรกิจการป้องกันอัคคีภัย...!!!
วิธีการดำเนินงานธุรกิจเครือข่าย
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
การจัดการศูนย์สารสนเทศ
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.
คุยกันก่อนเรียน สัมมนาสัตวศาสตร์ ปีการศึกษา 2551.
การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น
การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ Innovation and Information Management
หัวข้อวิชา “งานศูนย์ปฏิบัติการสถานีตำรวจ”
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
ประเด็น 22 ก.พ. 55 ปรัปปรุงห้องประชุมให้พร้อมรับแขกมาเยือน (อาทิ ทำ Chart สถิติ ข้อมูล ติด LCD ในห้องประชุม ฯลฯ) ต้องทบทวนคำสั่งต่าง ๆ จากการเปลี่ยนรองจาก.
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
กลุ่ม ๓ (สีเขียว) วิเคราะห์สภาพปัญหา อุปสรรค และ แนวทางในการพัฒนาพรรคการเมือง ได้เป็น” สถาบันทางการเมือง” ที่เข้มแข็ง.
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
ดร.สมพร หวานเสร็จ ผู้อำนวยการเชี่ยวชาญ โรงเรียนพิบูลประชาสรรค์
กลุ่มที่ 4.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
สรุปบทความเรื่อง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency
ADDIE Model.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Pol.Col.Aviruth Ratchusiri Superintendent, Immigration Information Technology Center, Immigration Bureau, Royal Thai Police. DOB 25th August 1959 EDUCATION 2009 Sripatum University Bangkok, Thailand Master of Science Information Technology 1994 – 1996 Sripatum University Bangkok, Thailand Master of Public Administration 1977 – 1984 Ramkhumhang University Bangkok, Thailand Bachelor Degree of Law

WORK EXPERIENCE 2009 – Present Immigration Information Technology Center, Immigration Bureau, Royal Thai Police Superintendent 2008 - 2009 Information Technology Center, Suvarnabhumi Airport, National Airport Immigration Division, 2006 – 2008 Information Technology Center, Suvarnabhumi Airport, Deputy Superintendent 2005 – 2006 Immigration Sub-Division 4, Bangkok International Airport, International Airport Immigration Division,

WORK EXPERIENCE 2005 – 2005 Immigration Information Sub-Division, Immigration Bureau, Royal Thai Police Deputy Superintendent 2003 – 2005 Sub-Division 5, Immigration Division 2, Deputy Superintendent / Chief, Immigration Bureau Information Technology Center 2002 – 2003 Section 2, Sub-Division 4, General Staff Division, Inspector / Chief, Immigration Bureau 1997 – 2002 Maptaput Immigration, Immigration Division 3, Inspector, Maptaput Immigration 1996 – 1997 Maesai Immigration, Immigration Division 3, Inspector

WORK EXPERIENCE 1996 – 1997 Maesai Immigration, Immigration Division 3, Immigration Bureau, Royal Thai Police Inspector 1990 – 1996 Criminal Record Division, Office of Forensic Science, Police Department Inspector of Identifying mark, Conveyance 1986 – 1990 Tactical Training Division, Border Patrol Police Bureau, Police Department Aide to Commander, Tactical Training Division 1985 – 1986 Personnel Division, Office of Human Resources, Police Department Sub-Inspector

ASEAN BORDER LEADERSHIP EXCHANGE PROGRAMME: ABLE Jan 19-24, 2011 @ S’PORE

โครงการสัมมนาผู้นำกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน ครั้งที่ 4 จัดโดย Immigration & Checkpoint Authority: ICA และกระทรวงต่างประเทศ ภายใต้การสนับสนุนของ ASEAN Training Awards: ATA

วัตถุประสงค์ของโครงการ ABLE เพื่อเพิ่มความสัมพันธ์ระหว่างผู้นำกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน ของหน่วยงานตรวจคนเข้าเมือง และศุลกากร เพื่อร่วมกันนำเสนอแนวคิดในการพัฒนา และเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบรักษาความปลอดภัย ในการควบคุมการผ่านแดนของกลุ่มสมาชิก ร่วมกันกำหนดวิธีสร้างเครือข่ายเพื่อเพิ่ม และเสริมประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนข้อมูล รวมทั้งการสื่อสารระหว่างกัน

หัวข้อของการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น หัวข้อที่ 1 ท่ามกลางแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงของโลกอย่างรวดเร็ว ในด้านการรักษาความปลอดภัย (เช่น การคุกคามการก่อการร้าย, ภัยจากโรคไข้หวัดใหญ่ เป็นต้น) ที่หน่วยงานควบคุมการผ่านแดนต้องเผชิญ นวัตกรรมของการแก้ปัญหาจึงเป็นสิ่งที่จะทำให้เกิดความมั่นใจถึงประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของระบบรักษาความปลอดภัย และการควบคุมการผ่านแดน

หัวข้อของการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น หัวข้อที่ 1 หัวข้อที่กำหนดให้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การดำเนินการที่ดีที่สุด และนวัตกรรมที่ใช้ในการแก้ปัญหา ที่ได้ปฏิบัติแล้วประสบความสำเร็จ รวมถึงการบูรณาการระบบต่างๆ หรือแผนงานที่กำลังจะดำเนินการ เนื้อหาของกระบวนการแก้ปัญหาต่างๆ โดยจะเน้นในเรื่องของ เทคโนโลยี กระบวนการปฏิบัติการ และบุคลากร

หัวข้อของการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น หัวข้อที่ 2 นอกเหนือจากแผนงาน และระบบงานสำคัญมีใช้อยู่ในปัจจุบัน ทำอย่างไรที่สมาชิกกลุ่มประเทศอาเซียนจะสามารถเพิ่ม และเสริมประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนข้อมูล และการสื่อสารระหว่างหน่วยงานศุลกากร และหน่วยงานตรวจคนเข้าเมือง ในกรอบของประเทศกลุ่มสมาชิกอาเซียน

หัวข้อกระบวนการแก้ปัญหาต่างๆ ด้านเทคโนโลยี ด้านการปฏิบัติ ด้านบุคลากร

และการปฏิบัติที่ดีที่สุด ด้านเทคโนโลยี การปรับปรุง และการปฏิบัติที่ดีที่สุด คำอธิบาย 1 ช่องตรวจบัตรอิเล็กทรอนิกส์ อัตโนมัติ ช่องตรวจสำหรับประชาชนสิงคโปร์ ที่เคยเดินทางผ่านประเทศมาเลเซียไม่ต่ำกว่า 4 ครั้ง ช่องตรวจอื่นสำหรับประชาชนประเทศมาเลเซียโดยเฉพาะ 2 บันทึกภาพหน้าบุคคลเดินทางขาเข้า เพื่อใช้เปรียบเทียบเวลาเดินทางออก เพื่อป้องกันการเปลี่ยนตัว เสริมประสิทธิภาพการสืบสวน สอบสวน และขจัดปัญหาการปลอมแปลงภาพถ่ายบนหนังสือเดินทาง 3 ระบบฐานข้อมูลกลาง เพื่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน เครื่องแม่ข่ายสำรอง สำหรับบันทึกข้อมูลการเดินทางที่มีอายุเกิน 2 ปี 4 เพิ่มประสิทธิภาพการตรวจสอบ เพื่อขจัดปัญหาอาชญากรรม ให้หมดไปจากประเทศ ระบบจะต้องครอบคลุม ทุกจุดตรวจคนผ่านแดน 5 การใช้งานสติ๊กเกอร์ 2-D บาร์โค้ด ทดแทนการใช้งานตรายาง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพด้านความปลอดภัย 6 การเปรียบเทียบประวัติภาพถ่ายหน้าข้อมูลส่วนบุคคลของหนังสือเดินทาง กับหน้าข้อมูลส่วนบุคคลของหนังสือเดินทางที่ใช้ในการเดินทางปัจจุบัน ความสามารถของระบบ ในการเปรียบเทียบหน้าข้อมูลส่วนบุคคลของหนังสือเดินทาง ทั้งสองครั้ง หน้าข้อมูลส่วนบุคคลของหนังสือเดินทาง ที่บันทึกจากการเดินทางครั้งล่าสุด เพื่อนำมาเปรียบเทียบกับภาพหน้าข้อมูลส่วนบุคคลของหนังสือเดินทางที่ใช้ในการเดินทางปัจจุบัน หมายเหตุ: ผู้แทนตรวจคนเข้าเมืองไทยนำเสนอในหัวข้อที่ 2, 3, 5 และ 6

และการปฏิบัติที่ดีที่สุด ด้านการปฏิบัติ การปรับปรุง และการปฏิบัติที่ดีที่สุด คำอธิบาย 1 หน่วยวิเคราะห์บุคคลเดินทางPassenger Analysis Unit (PAU) โดยการแบ่งปันข้อมูลผู้โดยสารขาเข้าระหว่าง หน่วยงานที่ออกหนังสือเดินทาง สายการบิน ศุลกากร ตรวจคนเข้าเมือง และหน่วยปราบปรามยาเสพติด การหาเอกลักษณ์ของบุคคลเดินทางล่วงหน้า จัดหาระบบการตรวจข้อมูลล่วงหน้า หมายเหตุ: ผู้แทนตรวจคนเข้าเมืองไทยนำเสนอในหัวข้อที่ 1

และการปฏิบัติที่ดีที่สุด ด้านบุคลากร การปรับปรุง และการปฏิบัติที่ดีที่สุด คำอธิบาย 1 แนวความคิดรอบด้าน ที่ใช้ในการกำหนดกรอบการปฏิบัติหน้าที่ มีการสับเปลี่ยนหน้าที่การทำงานของเจ้าหน้าที่ ทุกๆ ๒ ปี สร้างเสริมประสบการณ์การปฏิบัติหน้าที่ ตามจุดตรวจ และหน่วยงานที่แตกต่าง 2 การอบรมเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน และกรอบของการสื่อสาร ในภาพรวม ร่วมกับผู้ขายระบบ จัดการฝึกอบรม เมื่อมีการใช้ระบบใหม่ มีการจัดการฝึกอบรมอย่างสม่ำเสมอ สรุปคำสั่งแบบย่อ เพื่อทบทวนความเข้าใจในการทำงาน มีการฝึกอบรม หรือประชุมเป็นกลุ่มเฉพาะ มีการสื่อสาร กระจายข่าว ให้ทราบข้อมูลฯ ให้เป็นปัจจุบัน หมายเหตุ: ผู้แทนตรวจคนเข้าเมืองไทยนำเสนอในหัวข้อที่ 1 และ 2

มติของกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน ในกลุ่มหน่วยงานตรวจคนเข้าเมือง สรุปแนวทางในการแก้ปัญหา การพัฒนาระบบงาน เพื่อให้ได้มาซึ่งการดำเนินการที่ดีที่สุด ของนวัตกรรมที่ใช้ในการแก้ปัญหา และการบูรณาการระบบต่างๆ ดังนี้

ด้านเทคโนโลยี เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นระบบเทคโนโลยีในระดับสูง ต้องมีแผนเผชิญเหตุเมื่อระบบล่ม สำหรับการทำงาน ณ จุดตรวจ เพื่อรองรับการกู้ข้อมูล นำข้อมูลกลับมา และการปฏิบัติงานในโหมด Offline เน้นการมีอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ที่ดีที่สุดเพื่อใช้งาน ณ ท่าอากาศยาน และจุดตรวจสำคัญๆ (จุดตรวจทั่วไปไม่จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ที่ดีที่สุด โดยจำแนกตามความสำคัญ) ประเมินทักษะความชำนาญของเจ้าหน้าที่ และเลือกสรรระบบเทคโนโลยี ให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม

ด้านกระบวนการปฏิบัติการ การควบคุมการผ่านแดนไม่สามารถดำเนินได้ด้วยความรู้ และทักษะด้านเดียว ต้องมีการอบรมอยู่ตลอดเวลาเพื่อพัฒนาเจ้าหน้าที่ ต้องมีการพิจารณาภูมิศาสตร์ เพื่อทราบถึงทรัพยากรที่มีอยู่ในพื้นที่ บริหารจัดการที่ดีเพื่อประโยชน์สูงสุด ในสภาวะขาดแคลน ขับเคลื่อนโดยแผนงานที่เฉพาะเจาะจง หรือการปฏิบัติการที่มีความเกี่ยวพันกัน

ด้านบุคลากร เจ้าหน้าที่อาวุโสมักต่อต้านความเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะการเรียนรู้เทคโนโลยีสมัยใหม่ อิทธิพลความเชื่อ มีผลต่อพฤติกรรมของเจ้าหน้าที่ และผู้รับบริการ ค้นหางานที่ดีที่สุด และเหมาะสมที่สุดสำหรับเจ้าหน้าที่นั้นๆ เพื่อเป็นขวัญกำลังใจ รักษามาตรฐานการบริการเดิมไว้ ในช่วงขณะที่รอการพัฒนาปรับปรุงกระบวนการใหม่

มติของกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน ในกลุ่มหน่วยงานตรวจคนเข้าเมือง สรุปแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยนข้อมูล และการสื่อสาร ดังนี้

แนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยนข้อมูล และการสื่อสาร วิธีการ / แผนงาน คำอธิบาย 1 การเตรียมข้อมูลล่วงหน้า (API) ขยายการตรวจบุคคลผ่านแดนไปยังประเทศต้นทาง เตรียมการตรวจล่วงหน้า/พิธีการ เช่น สายการการบินทำการตรวจสอบข้อมูลจากบัตรโดยสารขณะบุคคลเดินทางซื้อบัตร 2 เครือข่ายข้อมูลผู้โดยสารล่วงหน้า Network API ประเทศในกลุ่มสมาชิกอาเซียน แบ่งปันข้อมูลผู้โดยสารล่วงหน้ากัน ผ่านทางเครือข่ายข้อมูลผู้โดยสารล่วงหน้า ทำให้สามารถตรวจสอบรายชื่อบุคคลต้องห้าม บุคคลเป้าหมายของแต่ละประเทศได้โดยอัตโนมัติ หากเป้าหมายมีการเดินทางในระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียน 3 มีรูปแบบข้อมูลแบบเดียวกันร่วมกัน สร้างมาตรฐานรูปแบบข้อมูลกลางสำหรับกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน เช่น รูปแบบ XML 4 เครื่องแม่ข่ายกลางสำหรับแลกเปลี่ยนข้อมูล เพื่อประโยชน์ในการประสานข้อมูลบุคคลต้องห้าม บุคคลเป้าหมายระหว่างกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน เครื่องแม่ข่ายหลัก จะตั้งอยู่ ณ ประเทศใดประเทศหนึ่ง 5 แบ่งปันข้อมูลชีวภาพ ระดับความเชื่อมั่นในการแบ่งปันข้อมูลชีวภาพ อำนาจที่ถูกต้องภายใต้กฎหมายของแต่ละประเทศ การจัดสรรงบประมาณ แบ่งการสำรวจพื้นฐานของระบบระหว่างสองฝ่าย ก่อนสำรวจพื้นฐานระบบรวม หมายเหตุ: ผู้แทนตรวจคนเข้าเมืองไทยนำเสนอในหัวข้อที่ 1 , 2, 3 , 4, 5 และ 9

แนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยนข้อมูล และการสื่อสาร วิธีการ / แผนงาน คำอธิบาย 6 เว็บไซด์สำหรับตรวจคนเข้าเมืองอาเซียน เพื่อความรวดเร็วในการประสานข้อมูลระหว่างกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน 7 โปรแกรมการฝึกอบรม การเรียนรู้ เพิ่มโปรแกรมการแลกเปลี่ยนความรู้ เช่น โปรแกรม ABLE สำหรับการแบ่งปันความรู้ และร่วมกันตัดสินใจ จัดให้มีการประชุมเจ้าหน้าที่ระดับสูง เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และริเริ่มการดำเนินการ ผสมผสานการฝึกอบรมระหว่างกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน จัดทำแผนงานความร่วมมือระหว่างประเทศ 8 กลุ่มเชี่ยวชาญเฉพาะทาง จัดตั้งกลุ่มเชี่ยวชาญเฉพาะทาง จากประเทศที่มีความหลากหลาย 9 ผู้ประสานอย่างไม่เป็นทางการ (ด้านข้าง) สร้างเครือข่าย ช่องทางในการสื่อสาร ของผู้ประสานงานอย่างไม่เป็นทางการ อีเมล์เป็นสื่อที่เหมาะสม 10 จดหมายข่าว และกระดานข่าว เพื่อเป็นประโยชน์สำหรับผู้ที่เคยมีส่วนร่วมในโปรแกรม ABLE เพื่อให้รับทราบข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน 11 ศูนย์ศิษย์เก่า ABLE อยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มเครือข่าย หมายเหตุ: ผู้แทนตรวจคนเข้าเมืองไทยนำเสนอในหัวข้อที่ 1 , 2, 3 , 4, 5 และ 9

มติของกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน ในกลุ่มหน่วยงานตรวจคนเข้าเมือง ให้ประเทศสมาชิกนำหัวข้อที่สรุปแนวทางในการแก้ปัญหา การพัฒนาระบบงาน เพื่อให้ได้มาซึ่งการดำเนินการที่ดีที่สุด ของนวัตกรรมที่ใช้ในการแก้ปัญหา และการบูรณาการระบบต่างๆ รวมทั้งแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยนข้อมูล และการสื่อสาร รายงานต้นสังกัด นำประเด็นต่างๆ เข้าเสนอต่อที่ประชุม DGICM ที่จะจัดขึ้นในเดือนตุลาคมปีนี้ ที่ประเทศสิงคโปร์

ข้อเสนอแนะ ผลการสัมมนา ABLE เป็นการศึกษาแนวทางในการแก้ปัญหา เพื่อให้ได้มาซึ่งการพัฒนาระบบงาน การดำเนินการที่ดีที่สุด เลือกสรรนวัตกรรมที่จะนำมาใช้ในการแก้ปัญหา และการบูรณาการระบบต่างๆ รวมทั้งพัฒนาการการแลกเปลี่ยนข้อมูล และการสื่อสาร ระหว่างกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อประโยชน์ของความร่วมมือระหว่างสมาชิก เห็นควรมอบหมายหน่วยงานในสังกัด สตม.ที่เกี่ยวข้อง ทำการศึกษา และรวบรวมข้อมูลฯ เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับ ผบช.สตม. และคณะ ที่จะเข้าร่วมประชุม DGICM ในเดือนตุลาคม 2554 ณ ประเทศสิงค์โปร์