ตัวชี้วัดที่ 9.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักตามเป้าหมายผลผลิตของจังหวัด (ตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย) น้ำหนัก : ร้อยละ 2 หน่วยวัด : ระดับ คำอธิบาย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
Advertisements

ชื่อตัวชี้วัด : คำอธิบาย :
 6. การจัดการข้อร้องเรียน ชื่อตัวชี้วัด : คำอธิบาย :
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
สาระสำคัญของการสัมมนา
รายการตัวชี้วัด และเกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัด “ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการกลุ่มจังหวัดและจังหวัด”
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
การติดตามและรายงานผลการ ปฏิบัติงาน ส่งเสริมการเกษตร ๒๕๕๔ ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ.
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การดำเนินการ ขั้น 1 : ◊ แต่งตั้งคณะทำงาน ◊ จัดทำแผนดำเนินการ (Roadmap) ◊ จัดประชุมชี้แจง คณะทำงานดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ควรประกอบด้วย.
ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน คป.สอ.สตูล
ระดับความสำเร็จของ การควบคุมภายใน
คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละความสำเร็จ ของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
ประชุมคณะทำงานพัฒนาระบบราชการ ของ สปท. ครั้งที่ 2/55
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 23 ธันวาคม 2551 ณ ห้องประชุมศาลาชื่นอารมณ์
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผลการปฏิบัติราชการตามคำ รับรอง การปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
หมวด2 9 คำถาม.
การประชุมเร่งรัดการใช้จ่ายเงินงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
บก.วน. ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ 2551 รวม 4 มิติ มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ.
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
Sharing Items Module 1 : การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดที่ ๖ ตัวชี้วัดที่ ๖ ร้อยละความสำเร็จของการ เบิกจ่ายเงินงบประมาณ น้ำหนัก ร้อยละ ๕ มิติภายใน.
ตัวชี้วัดที่ 3.8 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินการในผลผลิตที่ 3 แรงงานที่ถูกเลิกจ้าง/ว่างงาน แรงงานใหม่ ผู้สูงอายุ ผู้พิการและแรงงานนอกระบบที่มีทักษะฝีมือในการประกอบอาชีพ.
โดย : สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมาย ตามแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงาน.
นางณัฐชนัญ ศุภพิพัฒน์
ตัวชี้วัดที่ 2 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานพัฒนาฝีมือแรงงานในภาพรวมของภาค (ผลการดำเนินงานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาคและศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานที่อยู่ในเครือข่าย)
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ หน่วยงานภายในกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
3.3 ร้อยละผลการปฏิบัติงานตาม แผนกลยุทธ์การสร้างราชการใส สะอาดของกรุงเทพมหานคร 4.3 การดำเนินการของเรื่อง ร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริตของ หน่วยงาน 4.4 ร้อยละของความสำเร็จของ.
1 3.3 ร้อยละของผลการ ปฏิบัติงานตามแผน กลยุทธ์การสร้างราชการใส สะอาด ฯ ความสำเร็จ ในการเสริมสร้าง 4.3 ร้อยละของความสำเร็จ ในการเสริมสร้าง คุณธรรมและ จริยธรรมแก่บุคลากร.
ตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุม-ภายใน ประจำปีงบประมาณ 2557.
สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ  ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับกรอบ การประเมินผล ชี้แจงทำความเข้าใจและ มอบหมายงานให้ผู้ที่ เกี่ยวข้องรับผิดชอบ ดำเนินการ  จัดทำคำรับรองระดับหน่วยงาน.
วัตถุประสงค์ของการประชุมครั้งนี้
- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
การชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด การบริหารจัดการความเสี่ยงตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) หมวด 2 SP7 ผ่านระบบวิดีทัศน์ทางไกลของกระทรวงมหาดไทย.
4.6 การคำนวณต้นทุนของส่วนราชการ วัตถุประสงค์ ส่วนราชการสามารถคำนวณต้นทุนได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม เป็นมาตรฐานเดียวกัน เปรียบเทียบต้นทุนกันได้ในระหว่างหน่วยงาน.
กรอบการประเมินผลของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
การอนุรักษ์พลังงาน ในระบบปรับอากาศ.
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
แบบฟอร์ม - ERM I ดร.ทองม้วน นาเสงี่ยม ผู้เชี่ยวชาญ และที่ปรึกษา
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
การรายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัด ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (KRS) และตามแผนปฏิบัติราชการ (ARS) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กลุ่มอำนวยการ.
1 การดำเนินการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์การ สู่ระดับหน่วยงานและระดับบุคคลตามเกณฑ์คุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ
การดำเนินงานประจำปี2557 สท.
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กรและบุคลากร ให้มีขีดสมรรถนะสูงได้มาตรฐานสากล การดำเนินการพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กร เป็นการนำเกณฑ์
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตามคำรับรอง การปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
แผน / ผลการปฏิบัติงาน ประจำปี งบประมาณ พ. ศ ฝ่ายบริหารทั่วไป สำนักงานสหกรณ์จังหวัดตราด (1 ต. ค – 30 มิ. ย. 2555)
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
 วัตถุประสงค์กำหนดรายละเอียดของโครงการแต่ละคณะ / หน่วยงาน  ผู้ใช้งาน ผู้จัดทำโครงการของแต่ละคณะ / หน่วยงาน รูปแสดงหน้าจอบันทึกข้อมูล โครงการ.
คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด อ่างทอง ประจำปี งบประมาณ พ. ศ.2554.
ประจำปีงบประมาณ พ. ศ.2551 ( เฉพาะในส่วนที่ เกี่ยวข้อง ) ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด ราชบุรี ผลงานถึงเดือนพฤษภาคม.
เมนูพิมพ์แบบรายงาน ผู้ใช้งานระบบ สามารถเลือกพิมพ์แบบรายงานในรูปแบบต่าง ๆ ได้ โดยการส่งออกรายงานจะเป็นในรูปของ Excel File.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวชี้วัดที่ 9.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักตามเป้าหมายผลผลิตของจังหวัด (ตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย) น้ำหนัก : ร้อยละ 2 หน่วยวัด : ระดับ คำอธิบาย : วัดผลสำเร็จจากร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ของการบรรลุเป้าหมายผลผลิตของโครงการ ตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด ที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 โดยเปรียบเทียบผลการดำเนินงานกับเป้าหมาย ของตัวชี้วัดกิจกรรม/โครงการภายใต้ผลผลิต ที่กำหนดไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ของจังหวัด

ตัวชี้วัดที่ 9.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักตามเป้าหมายผลผลิตของจังหวัด (ตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย) ตารางและสูตรการคำนวณ:

ตัวชี้วัดที่ 9.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักตามเป้าหมายผลผลิตของจังหวัด (ตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย) ตารางและสูตรการคำนวณ: (ต่อ) โดยที่ : W หมายถึง น้ำหนักความสำคัญที่ให้กับแต่ละตัวชี้วัดกิจกรรม/โครงการภายใต้ผลผลิต และผลรวมของน้ำหนักของทุกตัวชี้วัดกิจกรรม/โครงการในแต่ละผลผลิต เท่ากับ 1 SM หมายถึง คะแนนที่ได้จากการเทียบกับร้อยละของเป้าหมายที่กำหนด i หมายถึง ลำดับที่ของตัวชี้วัดกิจกรรม/โครงการในแต่ละผลผลิต ; 1, 2,…, i

ตัวชี้วัดที่ 9.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักตามเป้าหมายผลผลิตของจังหวัด (ตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย) เกณฑ์การให้คะแนน: ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1  (Wi x SMi) = 1 2  (Wi x SMi) = 2 3  (Wi x SMi) = 3 4  (Wi x SMi) = 4 5  (Wi x SMi) = 5

ตัวชี้วัดที่ 9.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักตามเป้าหมายผลผลิตของจังหวัด (ตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย) เงื่อนไข : กรณีที่จังหวัดเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการหรือเปลี่ยนแปลงโครงการภายใต้ผลผลิตที่กำหนดไว้ตามเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 จังหวัดจะต้องประเมินผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดกิจกรรม/โครงการที่มีการเปลี่ยนแปลงข้างต้นซึ่งได้รับความเห็นชอบจากสำนักงบประมาณ กรณีที่จังหวัดใดมีตัวชี้วัดกิจกรรม/โครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดที่ซ้ำซ้อนกับตัวชี้วัดที่ 1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการกลุ่มจังหวัด และจังหวัด หรือตัวชี้วัดอื่นตามกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของจังหวัด จังหวัดไม่ต้องประเมินผลตามตัวชี้วัดดังกล่าว หมายเหตุ : การกำหนดน้ำหนักที่จัดสรรให้แต่ละตัวชี้วัดกิจกรรม/โครงการภายใต้ผลผลิต ให้ถ่วงน้ำหนักตามลำดับความสำคัญของกิจกรรม/โครงการ หากไม่ระบุน้ำหนัก ให้ถือว่าทุกตัวชี้วัดกิจกรรม/โครงการภายใต้ผลผลิตมีน้ำหนักเท่ากัน

แบบฟอร์มการรายงานผล : ตัวชี้วัดที่ 9.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักตามเป้าหมายผลผลิตของจังหวัด (ตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย) แบบฟอร์มการรายงานผล :

ตัวชี้วัดที่ 9.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักตามเป้าหมายผลผลิตของจังหวัด (ตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย) ตัวอย่าง: จังหวัด ก. มีรายงานผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ตามแบบรายงาน สงป. 301 ดังนี้

ตัวชี้วัดที่ 9.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักตามเป้าหมายผลผลิตของจังหวัด (ตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย) ดังนั้น จังหวัด ก. มีระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักตามเป้าหมายผลผลิตของจังหวัด (ตามเอกสารงบประมาณรายจ่ายฯ) ดังแสดงในตาราง

ขอขอบคุณ

Contact Person Fax: 0-2231-3680, 0-2231-3682 Website: www.tris.co.th โทรศัพท์ E-mail นายสมชาย ไตรรัตนภิรมย์ 0-2231-3011 ต่อ 300 Somchai@tris.co.th นายธวัชชัย โพธิ์วรสุนทร 0-2231-3011 ต่อ 303 Thawatchai@tris.co.th นายสรรเสริญ สงวนศักดิ์ นางสาวบงกช นุตพงษ์ 0-2231-3011 ต่อ 324 0-2231-3011 ต่อ 312 Sarnsoen@tris.co.th Bongkot@tris.co.th Fax: 0-2231-3680, 0-2231-3682 Website: www.tris.co.th