ศูนย์รับเรื่องร้องเรียน โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์
การรับเรื่องร้องเรียน วัตถุประสงค์ : เพื่อเป็นแนวทางในการ ดำเนินการรับเรื่องร้องเรียน
ขอบเขตของการบริการ : 1. ครอบคลุมช่องทางการรับเรื่องร้องเรียน เช่น 1. ครอบคลุมช่องทางการรับเรื่องร้องเรียน เช่น ผู้บริหาร จดหมาย ตู้รับความคิดเห็น โทรศัพท์ เคาน์เตอร์ประชาสัมพันธ์ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดชุมพร สื่อมวลชน สปสช. ข้อมูลจาก 1330 2. ครอบคลุมหน่วยงาน คือ ตึกผู้ป่วยนอก ตึกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน หอผู้ป่วยใน และหน่วยงาน สายการสนับสนุนงานบริการ
ผู้ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมพร เขตรอุดมศักดิ์ ทุกระดับ กลุ่มเป้าหมาย คือ : ผู้ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมพร เขตรอุดมศักดิ์ ทุกระดับ
ขั้นตอนของการรับเรื่องร้องเรียน ผู้บริหาร ขั้นตอนที่ 1 การรับเรื่องแต่ละช่องทาง จดหมาย รับเรื่องร้องเรียน ผ่านช่องทาง ตู้รับความคิดเห็น โทรศัพท์ เคาน์เตอร์ ปชส. จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ สื่อมวลชน สปสช. 1330 ศูนย์ดำรงธรรมจังหวัด
(มูลค่าตั้งแต่ 50,000 บาทขึ้นไป) ขั้นตอนที่ 2 การจำแนกระดับความรุนแรง เกือบพลาด-รุนแรงต่ำ ( มูลค่าน้อยกว่า 10,000 บาท) การจำแนกความรุนแรง รุนแรงสูง-สูงมาก (มูลค่าตั้งแต่ 50,000 บาทขึ้นไป)
ขั้นตอนที่ 3 การจัดการเรื่องร้องเรียน ขั้นตอนที่ 3 การจัดการเรื่องร้องเรียน 1. เรื่องเกือบพลาด ( ระยะเวลา2 สัปดาห์ ) 2 .เรื่องรุนแรงต่ำ ( ระยะเวลาภายใน 3 วัน ) ลงทะเบียน เสนอศูนย์ความเสี่ยง 3. เรื่องที่รุนแรงสูง – สูงมาก ( ระยะเวลาภายใน 24ชม. ) ลงทะเบียน (งานนิติการ)
ขั้นตอนที่ 4 ประสานงานกับเลขา ฯ ศูนย์ความเสี่ยงของ ร.พ. ขั้นตอนที่ 4 ศูนย์รับเรื่องร้องเรียน ประสานงานกับเลขา ฯ ศูนย์ความเสี่ยงของ ร.พ. สรุปการรับเรื่องร้องเรียนของศูนย์รับเรื่องร้องเรียน
ผลการดำเนินการที่ผ่านมา ประเภทเรื่อง ปีงบประมาณ 2554 ปีงบประมาณ 2555 ผลการเปรียบเทียบ จำนวนเรื่อง (ครั้ง) คิดเป็น ร้อยละ 1. พฤติกรรมบริการ 2. สิ่งอำนวยความสะดวก 3. สิ่งแวดล้อม และความสะอาด 4. ความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สิน 5. อื่น ๆ รวม
กราฟแสดงผลการดำเนินงาน