การเรียนการสอนทางไกลอย่างมีประสิทธิภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียน E-LEARNING
Advertisements

E-Learning.
E-learning วิทยาลัยราชพฤกษ์.
แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
E-learning การเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Learning) เป็นการศึกษา เรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต(Internet) หรืออินทราเน็ต(Intranet)
แนวทางการสนับสนุนการพัฒนา ที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผน
แนะนำรายวิชา GED40003 คอมพิวเตอร์กับชีวิต
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนวัตกรรมการศึกษา
Dublin Core Metadata tiac. or
ชื่อโครงการ : (ภาษาไทย) การเปรียบเทียบสมรรถนะ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ภาษาอังกฤษ) Comparative Benchmarking.
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
ระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1
โครงการจัดตั้งศูนย์สื่อการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์
ผู้สอน อาจารย์จุฬาวลี มณีเลิศ
“ลูกค้าสัมพันธ์” ก้าวใหม่ในการบริการห้องสมุด
หัวหน้าฝ่ายสารสนเทศการศึกษา ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ลดอัตราการออกกลางคัน ของนักศึกษาปริญญาตรี (Drop out)
โปรแกรมการทดสอบวัดความสามารถพื้นฐาน ทางการเรียนของนักศึกษา
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษากับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
Knowledge Management (KM)
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
การประยุกต์ใช้งานระบบการจัดการเนื้อหาเว็บและแนวโน้มในอนาคต
รู้จัก LMS รู้จักและใช้ MOODLE เป็น
คอมพิวเตอร์สำหรับ นักศึกษาบัณฑิต (Computer for Graduate Students)
การออกแบบเว็บเซอร์วิสสำหรับการจัดการบริการ ของมหาวิทยาลัย A Web Service Design for University Services Management.
E-Learning คืออะไร ? อะไรบ้างที่เป็น e-Learning คุณลักษณะของ e-Learning LMS : ระบบบริหารจัดการรายวิชาออนไลน์ การนำระบบ LMS ไปใช้งานในการเรียนการสอน.
โอฬาริก สุรินต๊ะ CS/MIS
ยินดีต้อนรับคณะเยี่ยมชื่นชม
การจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ป.บัณฑิต การบริหารการศึกษา รุ่นที่ 9 มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านแท่นวิทยา สพท.ชย.2
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านแท่นวิทยา สพท.ชย.2
จากกระดานชนวนสู่กระดานอิเล็กทรอนิกส์
การพัฒนาทรัพยากรบุคคล แนวทางการพัฒนาพนักงาน
Kasetsart University Powerful eLearning Suite
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมการศึกษา ดร
วิทยนิวส์ สำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์
11.พัฒนาครูด้วยระบบ e-Training 10.พัฒนาระบบนิเทศแนวใหม่
แหล่งข้อมูลเพื่ออนาคตทางการศึกษา Testing & Education Reference Center
ทำแบบทดสอบและหาที่เรียนในต่างประเทศ
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
สื่อการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ด้วยโปรแกรม Moodle
TTE Multi Provide System ระบบศูนย์กลางการจัดการเรียนการสอน แบบออนไลน์
บทบาทของ สารสนเทศ จัดทำโดย น. ส อมรรัตน์ เม่งบุตร 002.
โรงเรียนวัดทรัพย์สโมสร
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
คำว่า e-Learning คือ การ เรียน การสอนในลักษณะ หรือรูปแบบใดก็ได้ ซึ่งการ ถ่ายทอดเนื้อหานั้น กระทำ ผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
Moodle Modular Object Oriented Dynamic Learning Environment
การออกแบบและการประยุกต์ใช้ หลักสูตรเว็บออนไลน์ เพื่อการเรียนรู้ทางไกล On the Design and Application of an Online Web Course for Distance Learning.
LOGO 1. Moodle (Modular Object- Oriented Dynamic Learning Environment) คือ โปรแกรมที่ ประมวลผลในเครื่องบริการ (Server-Side Script) ทำหน้าที่ให้บริการระบบ.
TO DAY AGENDA วันนี้จะสอน อะไร 1. แผนการสอน เรื่อง ……………………………………… …………………………………… ชั่วโมง หน่วย ……………………. ………………… ชั้น …………. ภาคเรียน …… ความสำคัญ วัสดุ
ระบบบริหารการเรียนการสอน บนเครือข่าย:LMS
เทคโนโลยีมัลติมีเดีย (MULTIMEDIA TECHNOLOGY)
ADDIE Model.
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
แหล่งเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
ด้านคุณภาพมาตรฐาน การจัดการเรียนการสอนออนไลน์
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสามารถนำไปประยุกต์ในด้านต่างๆได้
E-learning.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเรียนการสอนทางไกลอย่างมีประสิทธิภาพ (กรณีศึกษา ศูนย์การศึกษาต่อเนื่องแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) โดย ศาสตราจารย์ ดร. ดิเรก ลาวัณย์ศิริ

CEC Case Study E-Learning Contents E-Learning Website Learning Management System Road To Standard

e-Learning Contents

บทเรียนในรูปแบบ e-Learning ระดับก่อนปริญญา หลักสูตรเติมความรู้มุ่งสู่มหาวิทยาลัย เติมเข้มคณิตศาสตร์ เฉลยข้อสอบ Entrance 2. ระดับปริญญา โครงการผลิตสื่อการเรียนการสอนทางไกล ระดับอุดมศึกษา โครงการติววิทยาศาสตร์พื้นฐานระดับมหาวิทยาลัย

บทเรียนในรูปแบบ e-Learning (cont.) 3. ระดับหลังปริญญา ธุรกิจท่องเที่ยว SMEs ภาษาญี่ปุ่น ภาษาเวียดนาม จิตวิทยาการบริหาร การศึกษาความเป็นไปได้และโครงการ

บทเรียนในรูปแบบ e-Learning (cont.) Flash Content

บทเรียนในรูปแบบ e-Learning (cont.) 2. Streaming

e-Learning Website

ChulaOnline.Com TOEFL Online ChulaOnline Card เป็นหลักสูตรเพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับการสอบ TOEFL และ TOEIC ด้วยความร่วมมือของผู้ผลิตหลักสูตรออนไลน์ชั้นนำจากประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดา ChulaOnline Card หลักสูตรเติมความรู้มุ่งสู่มหาวิทยาลัย สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ในการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ โดยการรับชมวิดีทัศน์ ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต

ChulaOnline.Com (cont.) Mini Entrance โครงการสำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่กำลังเตรียมตัวสอบ เข้ามหาวิทยาลัย สามารถทดลองทำข้อสอบย้อนหลังกว่า 3,000 ข้อ E-Life Long Learning โครงการเพื่อเปิดโอกาสทางการศึกษาให้สามารถศึกษาผ่านทาง Internet เพื่อลดข้อจำกัดของการเรียนในเรื่องของเวลาและสถานที่โดยศูนย์การศึกษาต่อเนื่องแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดให้บุคคลทั่วไปมีโอกาสได้เข้าเรียนในโครงการเรียนผ่าน Internet โดยร่วมกับสื่อต่าง ๆให้เข้าร่วมโครงการ

Learning Management System

Chula ELS : คุณสมบัติโปรแกรม มีความสามารถในการบริหารจัดการบทเรียนผ่านทางเครือข่าย Internet โดยผู้เรียนผู้สอนสามารถเข้าใช้งานระบบได้แบบ Anywhere Anytime ประกอบด้วยฐานข้อมูลที่ทำการจัดเก็บข้อมูล ทั้งผู้เรียน ผู้สอน และผู้บริหารระบบ รวมถึงฐานข้อมูลในด้านหลักสูตร และข้อสอบ ประกอบด้วยโปรแกรมช่วยสร้างเนื้อหา (Content Authoring Tool) ที่ใช้งานง่ายและรองรับบทเรียนได้หลายรูปแบบ ทั้ง text-based และ multimedia สามารถรองรับจำนวนผู้ใช้งานและจำนวนบทเรียนได้ไม่จำกัด โดยขึ้นอยู่กับ Hardware และ Software ที่ใช้

Chula ELS : คุณสมบัติโปรแกรม (cont.) โปรแกรมประกอบด้วยระบบข้อสอบแบบจับเวลา ตรวจข้อสอบอัตโนมัติ และระบบสุ่มข้อสอบ เฉลยข้อสอบ และรายงานสถิติคะแนนและการเข้าเรียน ประกอบด้วยระบบจัดการไฟล์โฟล์เดอร์ สามารถ upload ไฟล์ได้หลายรูปแบบ เช่น HTML,Flash,Quicktime,Movie,Acrobat,Powerpoint,Word,Real ประกอบด้วย Collaboration Tools สำหรับติดต่อสื่อสารระหว่างนักเรียนและอาจารย์ เช่น Webboard และ Chatroom พัฒนาโดยฝีมือของคนไทย สามารถรองรับการทำงานได้ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

Chula ELS : การนำไปใช้ ใช้อบรมกับสถาบันราชภัฏ 41 แห่งทั่วประเทศ จำนวนผู้อบรม 1,225 คน ใช้อบรมกับคณาจารย์จุฬาและบุคคลทั่วไป จำนวนผู้อบรม 366 คน ใช้งานกับคลังข้อสอบ Entrance ปี 2541-2545 (11 ชุดวิชา) เปิดให้บริการฟรีบน ChulaOnline มีผู้สมัครเรียน 627 คน เข้าร่วมกับโครงการ NIMEWORLD ประเทศญี่ปุ่น ใช้อบรมภายในบริษัท ทศท. คอร์ปอเรชั่น จำกัด มหาชน ใช้อบรมภายในสถาบันภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กระทรวงพาณิชย์ ธนาคารกสิกรไทย

Road To Standard

Why Standard Need ? ประโยชน์ของมาตรฐาน ทำให้สามารถเนื้อหาจาก LMS หนึ่งมาผสมและรวมไปใช้งานกับ LMS อีกตัวหนึ่งได้ (Mix and Match) ทำให้การใช้งานไม่ขึ้นอยู่กับแพลตฟอร์ม เพิ่มประสิทธิภาพและทำให้เกิดการลงทุนที่คุ้มค่า ทำบทเรียนให้เหมาะกับแต่ละบุคคล (Personalization) ได้มากขึ้น (Put the right content to the right person on the right time) เพิ่มทั้งปริมาณและคุณภาพของเนื้อหา

Who does What for Standard

Sharable Content Object Reference Model (SCORM) Version 1.2 Content Aggregation Model อธิบายหลักในการประกอบ learning object ให้สามารถถูกค้นพบและถูกเรียกใช้ซ้ำระหว่าง SCORM-complicant LMS ได้ Run-time Environment จะอธิบายหลักในการรันเนื้อหา (Content) โดยที่ SCO ที่ประกอบกันเป็นเนื้อหานั้นจะต้องถูกติดตามได้โดย LMS ซึ่งเป็นผลให้เราสามารถติดตามข้อมูลผู้เรียนได้

Conformance Requirements v1.2 1. LMS Categories 3. Metadata Categories LMS-RTE1 LMS-RTE2 LMS-RTE3 MD-XML1 MD-XML1 + Optional MD-XML1 + Extensions MD-XML1 + Optional + Extensions 2. SCO Categories 4. Content Pacakging Categories SCO-RTE1 SCO-RTE1 + Mandatory SCO-RTE1 + Optional SCO-RTE1 + Mandatory + Optional ADLCP-PIF1

Conformance Test Suite Version 1.2.3

Example : SCO Metadata (cont.)

Example : SCO Metadata (cont.) Metadata กลุ่มบังคับสำหรับ SCO กลุ่ม general บังคับ Catalog Entry Catalog Entry และ Keyword กลุ่ม Lifecycle บังคับVersion และ Status กลุ่ม Meta-Metadata บังคับ Meta-Data Schema กลุ่ม Technical บังคับ Format และ Location กลุ่ม Rights บังคับ Cost และ Copyrights and other restrictions กลุ่ม Classification บังคับ Purpose Description และ Keyword

Example : SCO Metadata (cont.) *************************************** Checking Meta-data for Minimum Conformance Checking Meta-data for well-formedness... Meta-data is well-formed Validating Meta-data against Schema... Meta-data is valid against the Schema Checking Meta-data for Mandatory Elements... Meta-data contains all mandatory elements Checking Meta-data for Optional Elements... Meta-data used optional elements correctly Checking Meta-data for Extension Elements... Extension element(s) have not been used Meta-data is SCORM Version 1.2 MD-XML1 + Optional Conformant

Already Done. Plan To Develop. SCO Metadata Conformance Content Packaging Conformance LMS : Import / Export Module