การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
ผอ. สำนักควบคุมและ ตรวจสอบอาคาร (1/1) สำนักงานคณะกรรมการ ควบคุมอาคาร ข้าราชการ พนักงานราชการ 66 ลูกจ้างประจำ 11 กลุ่มงานควบคุม โรงมหรสพ ข้าราชการ.
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี 1. ผลการเรียนรู้ รู้และเข้าใจการแบ่งประเภท และการระบุโทษของการ กระทำความผิดแต่ละประเภท 2.
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
โดย.....นายมานะ ครุธาโรจน์ ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลมณีราษฎร์คณาลัย ตามโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาล ในสถานศึกษา “ป้องกันการทุจริต”
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การปกครองระบอบประชาธิปไตย
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
การกระทำอันไม่เป็นธรรม (Unfair Labour Practice)
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
คู่มือ การจัดทำและนำส่งการรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้าของกรรมการ ผู้บริหาร ผู้สอบบัญชี ผู้ทำแผน และผู้บริหารแผน ขั้นตอนที่
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
กลุ่มเกษตรกร.
พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สถานการณ์การเมืองของไทย
วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
องค์กรตรวจสอบการทำงานภาครัฐ (สตง. / ปปช. / ปปท. )
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การแสดงเจตจำนงของประชาชนตามระบอบประชาธิปไตย
อำนาจอธิปไตย 1.
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
อภิรัฐธรรมนูญไทย.
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่
การจัดองค์กรของรัฐในประเทศไทย ********************
ทะเบียนสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
การจัดการความรู้ด้านงานสนับสนุน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
คู่มือการใช้เครื่องชี้วัดสำหรับ การประเมินผลการปฏิบัติตามมาตรฐาน ทางคุณธรรมและจริยธรรม ส่วนมาตรฐานการบริหารงานบุคคล สำนักงาน ก.ถ. สป.
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ เวลา 2 ชั่วโมง 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4-6 เล่ม 2. ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด เวลา 2 ชั่วโมง 93

ข่าวเกี่ยวกับการตรวจสอบทรัพย์สินของรัฐมนตรี ป.ป.ช. ยันตรวจสอบ ทรัพย์สิน ครม. ตามหน้าที่ เรืองไกร เดินหน้า ตรวจสอบบัญชีทรัพย์สิน 3 รมต. 1) ครูอ่านข่าวเกี่ยวกับการตรวจสอบบัญชีทรัพย์สินของรัฐมนตรีให้นักเรียนฟัง 2) ครูให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข่าว 3) ครูอธิบายเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่เนื้อหาที่จะเรียน นายกรัฐมนตรีระบุ รมว. คลัง ต้องชี้แจงการยื่นบัญชีทรัพย์สินเอง 94

3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ อำนาจรัฐ หมายถึง อำนาจที่บุคคลดำรงตำแหน่งหน้าที่ตามกฎหมาย สามารถกระทำการหรือสั่งการให้กระทำ หรืองดเว้นการกระทำใด ๆ ได้ตามที่กฎหมายบัญญัติ การตรวจสอบอำนาจรัฐมีขึ้นเพื่อรักษาผลประโยชน์ของประชาชนและประเทศชาติ รัฐธรรมนูญจึงมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการใช้อำนาจรัฐ โดยแบ่งเป็นการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระและการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายความหมายและเนื้อหาเกี่ยวกับการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 2) ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–6 คน แล้วให้แต่ละกลุ่มสืบค้นข่าวเกี่ยวกับการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐจากหนังสือพิมพ์หรืออินเทอร์เน็ต จากนั้นร่วมกันวิเคราะห์ข่าว บันทึกผลลงในแบบบันทึกการสืบค้นข่าวเรื่อง การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ แล้วส่งตัวแทนนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน 3) หลังจากที่นำเสนอครบทุกกลุ่มแล้ว ครูอธิบายสรุป แล้วให้นักเรียนบันทึกผลลงในสมุด 4) ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มแสดงบทบาทสมมติเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 5) หลังจากที่แต่ละกลุ่มแสดงบทบาทสมมุติจบแล้ว ครูชมเชยนักเรียนในการทำกิจกรรม และเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามตามความสนใจ จากนั้นให้นักเรียนบันทึกความรู้ที่ได้ลงในแบบบันทึกความรู้ 95

3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 3.1.1 ผู้ตรวจการแผ่นดิน ผู้ตรวจการแผ่นดินเป็นองค์กรหรือสถาบันที่ทำหน้าที่ตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถร้องเรียนการกระทำของเจ้าหน้าที่รัฐเมื่อไม่ได้รับความเป็นธรรม ผู้ตรวจการแผ่นดินจะตรวจสอบและเสนอให้มีการแก้ไข ตรวจสอบและเสนอเรื่องที่ได้รับร้องเรียน หน่วยงานที่รับผิดชอบให้ปฏิบัติตาม ผู้ตรวจการแผ่นดิน 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับผู้ตรวจการแผ่นดิน จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด หากหน่วยงานที่รับผิดชอบไม่ปฏิบัติตาม ผู้ตรวจการแผ่นดินมีหน้าที่ตรวจสอบและเสนอให้มีการแก้ไข แต่หากหน่วยงานนั้นไม่แก้ไข ผู้ตรวจการแผ่นดินจะทำรายงานเสนอต่อนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีที่หน่วยงานนั้นสังกัดอยู่ ประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อนสามารถร้องเรียนได้ที่ สนง. ผู้ตรวจการแผ่นดิน หรือโทร 1676 96

3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 3.1.1 ผู้ตรวจการแผ่นดิน 1. องค์ประกอบและที่มาของผู้ตรวจการแผ่นดิน พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา เป็นผู้ที่ได้รับการยอมรับจากประชาชน มีความรอบรู้และมีประสบการณ์ในการบริหารราชการแผ่นดินหรือกิจการสาธารณะอื่น ๆ ผู้ตรวจการแผ่นดิน 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับผู้ตรวจการแผ่นดิน จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด มีจำนวน 3 คน ประธานวุฒิสภาเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้ตรวจการแผ่นดิน 97

3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 2. วาระในการดำรงตำแหน่ง 3.1.1 ผู้ตรวจการแผ่นดิน 2. วาระในการดำรงตำแหน่ง มีวาระดำรงตำแหน่ง 6 ปี และดำรงตำแหน่งได้เพียงวาระเดียว คือ เมื่อพ้นจากตำแหน่งแล้วจะกลับมาดำรงตำแหน่งอีกไม่ได้ ผู้ตรวจการแผ่นดิน 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับผู้ตรวจการแผ่นดิน จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด มีจำนวน 3 คน 98

3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 3.1.1 ผู้ตรวจการแผ่นดิน 3. อำนาจหน้าที่ของผู้ตรวจการแผ่นดิน 1) พิจารณาและสอบสวนหาข้อเท็จจริงตามคำร้องเรียน และตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ขององค์กรตามรัฐธรรมนูญและองค์กรในกระบวนการยุติธรรม 2) ดำเนินการเกี่ยวกับจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ ผู้ตรวจการแผ่นดิน 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ ครูอธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับผู้ตรวจการแผ่นดิน จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4-6 เล่ม 2. ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด มีจำนวน 3 คน 3) ติดตาม ประเมินผล จัดทำข้อเสนอแนะ ในการปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญ และข้อพิจารณาเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญในกรณีที่เห็นว่าจำเป็น 4) รายงานการตรวจสอบและผลการปฏิบัติหน้าที่ต่อคณะรัฐมนตรี สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภาในทุก ๆ ปี 99

ผู้ตรวจการแผ่นดิน เรื่องน่ารู้ ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาคนแรกของประเทศไทย คือ นายพิเชต สุนทรพิพิธ แต่งตั้งเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2543 เลขาธิการสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาคนแรกของประเทศไทย คือ นายปราโมทย์ โชติมงคล ได้รับการแต่งตั้งเมื่อวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2543 นอกจากนี้ยังให้ถือว่า วันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2543 เป็นวันก่อตั้งสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาอีกด้วย 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ เรื่องน่ารู้-ครูสามารถเล่าเรื่องเสริมความรู้ให้กับนักเรียนนอกเหนือจากความรู้ในบทเรียน และบอกแหล่งความรู้เพิ่มเติมกระตุ้นการเรียนรู้นอกชั่วโมงเรียน เพื่อให้นักเรียนมีการเรียนรู้ที่กว้างขวาง ที่มา: http://www.ombudsman.go.th/10/2_1.asp 100

3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 3.1.2 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ หรือ คณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็นองค์กรที่ทำหน้าที่ป้องกัน ตรวจสอบและปราบปรามการทุจริตของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ระดับสูงของรัฐ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจิตแห่งชาติ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด หากพบเห็นหรือมีเบาะแสเกี่ยวกับการทุจริต สามารถร้องเรียนได้ที่สำนักงานคณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือโทรสายด่วน 1784 101

3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 3.1.2 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ พระมหากษัตริย์แต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา 1. องค์ประกอบและที่มาของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ กรรมการ ประธานกรรมการ 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจิตแห่งชาติ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด มีกรรมการจำนวน 9 คน เป็นผู้มีความซื่อสัตย์สุจริต มีสัญชาติไทยโดยกำเนิด อายุไม่ต่ำกว่า 45 ปีบริบูรณ์ ไม่ติดยาเสพติด ไม่เป็นสมาชิกพรรคการเมือง 102

3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 3.1.2 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 2. วาระการดำรงตำแหน่งของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ดำรงตำแหน่งได้เพียงวาระเดียว มีวาระการดำรงตำแหน่ง 9 ปี 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจิตแห่งชาติ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด มีกรรมการจำนวน 9 คน คณะกรรมการ ป.ป.ช. ที่พ้นจากตำแหน่งตามวาระต้องปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่าจะมีกรรมการคนใหม่เข้ามาดำรงรับหน้าที่ 103

3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 3.1.2 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 3. อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 1) ไต่สวนข้อเท็จจริงและสรุปสำนวนพร้อมทั้งทำความเห็นเสนอต่อวุฒิสภา เพื่อให้มีมติถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองออกจากตำแหน่ง 2) ไต่สวนข้อเท็จจริงและสรุปสำนวนพร้อมทั้งทำความเห็นไปยังศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง เกี่ยวกับการดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจิตแห่งชาติ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 3) ไต่สวนและวินิจฉัยว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐร่ำรวยผิดปกติ กระทำความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ กระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการหรือหน้าที่ในการยุติธรรม 104

3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 3.1.2 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 3. อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจิตแห่งชาติ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 4) ตรวจสอบความถูกต้องของทรัพย์สินและหนี้สินของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่อื่นของรัฐตามบัญชีและเอกสารประกอบที่ได้ยื่นไว้ 5) กำกับดูแลคุณธรรมจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง 105

3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 3.1.2 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 3. อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจิตแห่งชาติ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 6) รายงานผลการตรวจสอบและผลการปฏิบัติหน้าที่ พร้อมทั้งข้อสังเกตต่อคณะรัฐมนตรี สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภาทุกปี 7) ดำเนินการอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ 106

3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 3.1.3 คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน หรือ ค.ต.ง. ทำหน้าที่รับผิดชอบตรวจเงินแผ่นดิน คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน การตรวจเงินแผ่นดิน หมายถึง การตรวจสอบการใช้จ่ายเงินแผ่นดิน หรืองบประมาณแผ่นดินที่รัฐบาลจ่ายแก่ส่วนราชการต่าง ๆ ว่าจ่ายอย่างถูกต้องตามกฎหมายหรือไม่ ตลอดจนตรวจสอบความคุ้มค่าและประสิทธิภาพในการใช้จ่ายเงิน 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 107

3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 3.1.3 คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน 1. องค์ประกอบและที่มาของคณะกรรมการการตรวจเงินแผ่นดิน กรรมการ ประธานกรรมการ 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด มีกรรมการจำนวน 7 คน พระมหากษัตริย์แต่งตั้งตามคำแนะของวุฒิสภา เป็นผู้มีความชำนาญและมีประสบการณ์ด้านการตรวจเงินแผ่นดิน บัญชี การตรวจสอบภายใน การเงิน การคลัง และด้านอื่น ๆ 108

3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 3.1.3 คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน 2. วาระการดำรงตำแหน่งของคณะกรรมการการตรวจเงินแผ่นดิน 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด มีกรรมการจำนวน 7 คน มีวาระการดำรงตำแหน่ง 6 ปี สามารถดำรงตำแหน่งได้เพียงวาระเดียว ไม่สามารถกลับมาดำรงตำแหน่งได้อีก 109

3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 3.1.3 คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน 3. อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการการตรวจเงินแผ่นดิน การกำหนดหลักเกณฑ์มาตรฐานเกี่ยวกับการตรวจเงินแผ่นดิน การวางนโยบาย การให้คำปรึกษา คำแนะนำให้มีการแก้ไขข้อบกพร่องเกี่ยวกับการตรวจเงินแผ่นดิน 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด มีกรรมการจำนวน 7 คน การกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีพิจารณาในเรื่องวินัยทางงบประมาณและทางคลัง 110

3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 3.1.3 คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน 3. อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการการตรวจเงินแผ่นดิน การพิจารณาเลือกผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน การกำหนดโทษปรับทางปกครอง 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด มีกรรมการจำนวน 7 คน อำนาจหน้าที่อื่น ๆ ตามกฎหมาย การพิจารณาวินิจฉัยความผิดทางงบประมาณและการคลัง 111

3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.1 การแสดงรายการบัญชีทรัพย์สินและหนี้สิน การแสดงบัญชีทรัพย์สินเป็นมาตรการสำคัญในการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ระดับสูงของรัฐ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการทุจริตหรือคอร์รัปชั่น หลักฐานในการแสดงบัญชีทรัพย์สิน สำเนาหลักฐานพิสูจน์ความมีอยู่จริงของทรัพย์สินและหนี้สิน สำเนาแบบแสดงรายการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในรอบปีที่ผ่านมา มีหน้าที่ยื่นบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สินของตน คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช.ทุกครั้งที่เข้ารับหรือพ้นจากตำแหน่ง ภายใน 30 วัน และผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองจะต้องยื่นบัญชีฯ อีกครั้งภายใน 30 วัน นับตั้งแต่วันที่พ้นจากตำแหน่งมา 1 ปี 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการแสดงรายการบัญชีทรัพย์สินและหนี้สิน จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 112

3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.1 การแสดงรายการบัญชีทรัพย์สินและหนี้สิน การจงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน หากผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองคนใดจงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน หรือจงใจยื่นข้อมูลเท็จ คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะเสนอเรื่องต่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองเป็นผู้วินิจฉัย 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการแสดงรายการบัญชีทรัพย์สินและหนี้สิน จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด หากพบว่ามีความผิดจริง ให้ผู้นั้นพ้นจากตำแหน่ง และห้ามมิให้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองหรือตำแหน่งใดในพรรคการเมืองเป็นเวลา 5 ปี นับแต่วันที่ศาลมีคำวินิจฉัย 113

Let’s think นักเรียนคิดว่าจะเกิดอะไรขึ้น หากไม่มีการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกคำถามเกี่ยวกับการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ เพื่อให้นักเรียนคิดวิเคราะห์ว่า นักเรียนคิดว่าจะเกิดอะไรขึ้นหากไม่มีการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 2) แนวคำตอบ : ผู้ที่ใช้อำนาเหล่านี้อาจใช้อำนาจที่ตนมีกระทำการทุจริตเพื่อแสวงหาประโยชน์ส่วนตน จนอาจจะทำให้ประเทศชาติและประชาชนโดยรวมสูญเสียผลประโยชน์ จากหนังสือคู่มือการสอน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ผู้ที่ใช้อำนาเหล่านี้อาจใช้อำนาจที่ตนมีกระทำการทุจริตเพื่อแสวงหาประโยชน์ส่วนตน จนอาจจะทำให้ประเทศชาติและประชาชนโดยรวมสูญเสียผลประโยชน์ 114

3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.2 การกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ รัฐธรรมนูญกำหนดเรื่องของการกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ขึ้นเพื่อไม่ให้ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองมีผลประโยชน์ทับซ้อนทางการเมือง โดยมีข้อห้ามต่าง ๆ ดังนี้ 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 1. ไม่ดำรงตำแหน่งหรือหน้าที่ใดในหน่วยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ หรือดำรงตำแหน่งในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 115

3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.2 การกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 2. ไม่รับ แทรกแซง ก้าวก่ายรับสัมปทาน หรือเข้าคู่สัญญากับฝ่ายรัฐที่มีลักษณะเป็นการผูกขาด หรือเข้าเป็นหุ้นส่วนกับบริษัทที่มีลักษณะดังกล่าว ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม 116

3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.2 การกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 3. ไม่รับเงินหรือประโยชน์ใด ๆ จากฝ่ายรัฐ นอกเหนือจากที่ฝ่ายรัฐปฏิบัติต่อบุคคลอื่น ๆ ในธุรกิจการงานตามปกติ 117

3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.2 การกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ ข้อ 1–4 บังคับรวมถึงคู่สมรสและบุตรของ ส.ส. หรือ ส.ว. หรือบุคคลอื่นที่ถูกใช้ให้ร่วมดำเนินการ หรือได้รับมอบหมายจาก ส.ส.หรือ ส.ว.ให้กระทำการในลักษณะนี้ 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูอธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 4. ไม่เป็นเจ้าของกิจการหรือผู้ถือหุ้นในกิจการสื่อสารมวลชนทั้งในนามตนเองหรือวิธีอื่น ๆ ที่มีลักษณะว่าตนเองเป็นเจ้าของหรือถือหุ้นในกิจการดังกล่าว 118

3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.2 การกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 5. ไม่ใช้ตำแหน่งเข้าไปก้าวก่ายหรือแทรกแซงผลประโยชน์เพื่อตนเอง ผู้อื่น หรือของพรรคการเมืองทั้งทางตรงและทางอ้อมในเรื่องการปฏิบัติราชการของฝ่ายรัฐ 119

3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.2 การกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ 6. ข้อห้ามของนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี 1) ห้ามกระทำการที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์เหมือนกับกรณีของ ส.ส.และ ส.ว. รวมทั้งไม่สามารถดำรงตำแหน่งใด ๆ หรือเป็นลูกจ้างในกิจการธุรกิจ 2) ไม่ใช้ตำแหน่งเข้าไปก้าวก่ายหรือแทรกแซงเพื่อผลประโยชน์ของตนเอง ผู้อื่น หรือของพรรคการเมืองทั้งทางตรงและทางอ้อม 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 3) ไม่เป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท บังคับไปถึงคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะของนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีด้วย 120

3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.3 การถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง การถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่งเป็นวิธีการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ โดยการตรวจสอบผู้ดำรงตำแหน่งระดับสูง หากมีพฤติกรรมที่ส่อว่าจะทุจริต วุฒิสภาสามารถถอดถอนผู้นั้นออกจากตำแหน่งได้ 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 121

3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.3 การถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง 1. บุคคลที่จะถูกถอดถอนจากตำแหน่ง นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ประธานศาลฎีกา ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ประธานศาลปกครองสูงสุด อัยการสูงสุด ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด กรรมการการเลือกตั้ง ผู้ตรวจการแผ่นดิน กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ผู้พิพากษาหรือตุลาการ พนักงานอัยการ ผู้ดำรงตำแหน่งระดับสูงอื่น ๆ 122

3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.3 การถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง 2. ผู้มีสิทธิเข้าชื่อให้ดำเนินการถอดถอนออกจากตำแหน่ง การถอดถอนออกจากตำแหน่ง มีวิธีการ ดังนี้ 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 1) ส.ส. เข้าชื่อกันไม่น้อยกว่า 1 ใน 4 ของจำนวนสมาชิกเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร 2) ส.ว. เข้าชื่อกันไม่น้อยกว่า 1 ใน 4 ของจำนวนสมาชิกเท่าที่มีอยู่ของวุฒิสภา 3) ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งเข้าชื่อกันไม่น้อยกว่า 20,000 คน 123

3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.3 การถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง ดำเนินการไต่สวน 3. ขั้นตอนการดำเนินการถอดถอน ส่งเรื่อง ประธานคณะกรรมการ ป.ป.ช.ส่งเรื่องไปยังประธานวุฒิสภา ประธานวุฒิสภา ได้รับคำร้อง 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกเพื่อธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด คณะกรรมการ ป.ป.ช. วุฒิสภาจัดประชุม และลงคะแนนลับ ซึ่งมติถอดถอนให้ถือเอาคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 5 ของจำนวนสมาชิกเท่าที่มีอยู่ของวุฒิสภา หากมีมูลความผิดผู้ถูกกล่าวหาจะปฏิบัติหน้าที่ต่อไปไม่ได้ 124

3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.3 การถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง 4. การพ้นจากตำแหน่ง ผู้ใดที่ถูกถอดถอนให้พ้นจากตำแหน่งหรือให้ออกจากราชการนับตั้งแต่วันที่วุฒิสภามีมติให้ถอดถอน และให้ตัดสิทธิ์ในการดำรงตำแหน่งทางการเมืองหรือการรับราชการเป็นเวลา 5 ปี 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 125

Let’s think เพราะอะไรกฎหมายจึงเปิดโอกาสให้ประชาชนมีสิทธิเสนอให้มีการถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกคำถามเกี่ยวกับการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ เพื่อให้นักเรียนคิดวิเคราะห์ว่า เพราะอะไรกฎหมายจึงเปิดโอกาสให้ประชาชนมีสิทธิเสนอให้มีการถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง 2) ครูคลิกเพื่อเฉลยคำตอบ แนวคำตอบ : เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง และช่วยภาครัฐปกป้องผลประโยชน์ของประเทศชาติ จากหนังสือคู่มือการสอน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง และช่วยภาครัฐปกป้องผลประโยชน์ของประเทศชาติ 126

3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.4 การดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง การดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองเป็นหน้าที่ของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองซึ่งมีกระบวนการพิจารณาพิพากษาคดีอาญาแยกจากวิธีทั่ว ๆ ไป เพื่อให้การพิจารณาคดีปราศจากการแทรกแซงจากผู้มีอำนาจการเมือง 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 127

3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.4 การดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง 1. บุคคลที่มีสิทธิถูกดำเนินคดี ผู้มีสิทธิถูกดำเนินคดีมี 3 ประเภท คือ 1) ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองโดยตรง ได้แก่ นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ข้าราชการเมืองอื่น ผู้บริหารท้องถิ่น 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด สมาชิกสภาท้องถิ่นตามที่กฎหมายกำหนด 2) บุคคลที่ไม่ใช่ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองโดยตรง ได้แก่ บุคคลธรรมดา ซึ่งเป็นตัวการ ผู้ใช้ หรือผู้กระทำความผิดอาญา 3) กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 128

3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.4 การดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง 2. ข้อกล่าวหา บุคคลที่จะถูกดำเนินคดีจะถูกดำเนินคดีอาญาในข้อกล่าวหาข้อใดข้อหนึ่ง ดังนี้ 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 2) กระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการตามประมวลกฎหมายอาญา 3) กระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่หรือทุจริตต่อหน้าที่ตามกฎหมายอื่น 1) ร่ำรวยผิดปกติ 129

3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.4 การดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง 3. การดำเนินคิดฟ้องร้อง 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัดื 2) คณะกรรมการ ป.ป.ช. ไต่สวนข้อเท็จจริงและสรุปสำนวนทั้งทำความเห็นส่งไปศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง 1) ผู้เสียหายในความผิดดังกล่าว ยื่นคำร้องต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. 130

3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.4 การดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง 4. การพิจารณาคดีของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง การพิจารณาคดีของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองจะยึดถือสำนวนของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็นหลักในการพิจารณา แต่สามารถไต่สวนข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานเพิ่มเติมตามที่เห็นสมควร เพื่อเป็นประโยชน์ในการพิจารณา 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 131

3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.4 การดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง 5. คำสั่งและคำพิพากษา การพิพากษาให้ถือตามเสียงข้างมากขององค์คณะ โดยจะต้องเปิดเผยคำสั่งและคำพิพากษา และคำสั่งหรือคำพิพากษาจะถือเป็นที่สุด ไม่มีการอุทธรณ์ใด ๆ อีก 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ ครูอธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 132

เงินเดือนนักการเมืองประเทศสิงคโปร์ เรื่องน่ารู้ การให้เงินเดือนจำนวนมากแก่นักการเมืองในประเทศสิงคโปร์เป็นปัจจัยหนึ่งที่ป้องกันนักการเมืองทุจริต และเพื่อดึงดูดให้ผู้มีความสามารถเข้ามาทำงานบริหารประเทศ โดยนายกรัฐมนตรีประเทศสิงคโปร์มีเงินเดือนต่อปีเฉลี่ย 70 ล้านบาทซึ่งมากกว่าประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาถึง 5 เท่า และมากกว่านายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นถึง 8 เท่า 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ เรื่องน่ารู้-ครูสามารถเล่าเรื่องเสริมความรู้ให้กับนักเรียนนอกเหนือจากความรู้ในบทเรียน และบอกแหล่งความรู้เพิ่มเติมกระตุ้นการเรียนรู้นอกชั่วโมงเรียน เพื่อให้นักเรียนมีการเรียนรู้ที่กว้างขวาง ที่มา : http://www.oknation.net/blog/print.php?id=748257 133

กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3–5 คน ร่วมกันอภิปรายว่า การตรวจสอบอำนาจรัฐด้วยวิธีการใดมีประสิทธิภาพมากที่สุด เพราะอะไร แล้วส่งตัวแทนนำเสนอข้อสรุปหน้าชั้นเรียน 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูกำหนดภาระงานให้นักเรียนปฏิบัติ โดยให้นักเรียนทำกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ 2) แนวคำตอบ : การแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน เพราะเป็นการตรวจสอบความเปลี่ยนแปลงของทรัพย์สิน หากพบว่าเปลี่ยนแปลงอย่างผิดปกติ ก็อาจจะคาดการณ์ได้ว่าต้องมีการกระทำการทุจริตบางอย่างเกิดขึ้น จากหนังสือคู่มือการสอน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 134

กิจกรรม : เหตุการณ์สมมุติ 1. นายภูผาไม่ได้รับความเป็นธรรมจากการกระทำของของตำรวจ นายภูผาต้องไปร้องเรียนกับองค์กรใด ผู้ตรวจการแผ่นดิน 2. นายโจศักดิ์ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการ ป.ป.ช. นายโจศักดิ์จะมีวาระการดำรงตำแหน่งกี่ปี และเมื่อพ้นจากวาระแล้วสามารถกลับเข้ามารับตำแหน่งได้อีกหรือไม่ 1) ครูให้นักเรียนำกิจกรรม โดยตอบคำถามให้ถูกต้อง 2) ครูคลิกเพื่อเฉลยคำตอบ 9 ปี /ไม่ได้ เพราะสามารถดำรงตำแหน่งได้เพียงวาระเดียว 135

กิจกรรม : เหตุการณ์สมมุติ 3. นางตุ๊กกี้พ้นจากตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรต้องยื่นบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สินต่อหน่วยงานใด คณะกรรมการ ป.ป.ช. 4. นายหมากถูกถอดถอนให้พ้นจากตำแหน่งสมาชิกวุฒิสภา จะส่งผลอย่างไรต่อสิทธิในการดำรงตำแหน่งทางการเมืองของนายหมาก 1) ครูให้นักเรียนำกิจกรรม โดยตอบคำถามให้ถูกต้อง 2) ครูคลิกเพื่อเฉลยคำตอบ ไม่สามารถดำรงตำแหน่งทางการเมืองได้ เป็นระยะเวลา 5 ปี 136

สรุปความรู้ การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐเป็นกลไกในการตรวจสอบเพื่อป้องกันมิให้ผู้ใช้อำนาจนี้กระทำการทุจริตหรือกระทำในสิ่งที่ประชาชนและประเทศชาติเสียประโยชน์ โดยในการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐนั้นจะกระทำได้ทั้งโดยองค์กรอิสระ เช่น ผู้ตรวจการแผ่นดิน คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน นอกจากนี้ประชาชนยังสามารถตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐได้ด้วยเช่นกัน สรุปความรู้เรื่อง การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 2) ครูคลิกเพื่อแสดงข้อความสรุปความรู้ทีละประเด็น 137