การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ เวลา 2 ชั่วโมง 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4-6 เล่ม 2. ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด เวลา 2 ชั่วโมง 93
ข่าวเกี่ยวกับการตรวจสอบทรัพย์สินของรัฐมนตรี ป.ป.ช. ยันตรวจสอบ ทรัพย์สิน ครม. ตามหน้าที่ เรืองไกร เดินหน้า ตรวจสอบบัญชีทรัพย์สิน 3 รมต. 1) ครูอ่านข่าวเกี่ยวกับการตรวจสอบบัญชีทรัพย์สินของรัฐมนตรีให้นักเรียนฟัง 2) ครูให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข่าว 3) ครูอธิบายเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่เนื้อหาที่จะเรียน นายกรัฐมนตรีระบุ รมว. คลัง ต้องชี้แจงการยื่นบัญชีทรัพย์สินเอง 94
3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ อำนาจรัฐ หมายถึง อำนาจที่บุคคลดำรงตำแหน่งหน้าที่ตามกฎหมาย สามารถกระทำการหรือสั่งการให้กระทำ หรืองดเว้นการกระทำใด ๆ ได้ตามที่กฎหมายบัญญัติ การตรวจสอบอำนาจรัฐมีขึ้นเพื่อรักษาผลประโยชน์ของประชาชนและประเทศชาติ รัฐธรรมนูญจึงมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการใช้อำนาจรัฐ โดยแบ่งเป็นการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระและการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายความหมายและเนื้อหาเกี่ยวกับการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 2) ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–6 คน แล้วให้แต่ละกลุ่มสืบค้นข่าวเกี่ยวกับการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐจากหนังสือพิมพ์หรืออินเทอร์เน็ต จากนั้นร่วมกันวิเคราะห์ข่าว บันทึกผลลงในแบบบันทึกการสืบค้นข่าวเรื่อง การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ แล้วส่งตัวแทนนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน 3) หลังจากที่นำเสนอครบทุกกลุ่มแล้ว ครูอธิบายสรุป แล้วให้นักเรียนบันทึกผลลงในสมุด 4) ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มแสดงบทบาทสมมติเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 5) หลังจากที่แต่ละกลุ่มแสดงบทบาทสมมุติจบแล้ว ครูชมเชยนักเรียนในการทำกิจกรรม และเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามตามความสนใจ จากนั้นให้นักเรียนบันทึกความรู้ที่ได้ลงในแบบบันทึกความรู้ 95
3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 3.1.1 ผู้ตรวจการแผ่นดิน ผู้ตรวจการแผ่นดินเป็นองค์กรหรือสถาบันที่ทำหน้าที่ตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถร้องเรียนการกระทำของเจ้าหน้าที่รัฐเมื่อไม่ได้รับความเป็นธรรม ผู้ตรวจการแผ่นดินจะตรวจสอบและเสนอให้มีการแก้ไข ตรวจสอบและเสนอเรื่องที่ได้รับร้องเรียน หน่วยงานที่รับผิดชอบให้ปฏิบัติตาม ผู้ตรวจการแผ่นดิน 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับผู้ตรวจการแผ่นดิน จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด หากหน่วยงานที่รับผิดชอบไม่ปฏิบัติตาม ผู้ตรวจการแผ่นดินมีหน้าที่ตรวจสอบและเสนอให้มีการแก้ไข แต่หากหน่วยงานนั้นไม่แก้ไข ผู้ตรวจการแผ่นดินจะทำรายงานเสนอต่อนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีที่หน่วยงานนั้นสังกัดอยู่ ประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อนสามารถร้องเรียนได้ที่ สนง. ผู้ตรวจการแผ่นดิน หรือโทร 1676 96
3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 3.1.1 ผู้ตรวจการแผ่นดิน 1. องค์ประกอบและที่มาของผู้ตรวจการแผ่นดิน พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา เป็นผู้ที่ได้รับการยอมรับจากประชาชน มีความรอบรู้และมีประสบการณ์ในการบริหารราชการแผ่นดินหรือกิจการสาธารณะอื่น ๆ ผู้ตรวจการแผ่นดิน 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับผู้ตรวจการแผ่นดิน จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด มีจำนวน 3 คน ประธานวุฒิสภาเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้ตรวจการแผ่นดิน 97
3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 2. วาระในการดำรงตำแหน่ง 3.1.1 ผู้ตรวจการแผ่นดิน 2. วาระในการดำรงตำแหน่ง มีวาระดำรงตำแหน่ง 6 ปี และดำรงตำแหน่งได้เพียงวาระเดียว คือ เมื่อพ้นจากตำแหน่งแล้วจะกลับมาดำรงตำแหน่งอีกไม่ได้ ผู้ตรวจการแผ่นดิน 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับผู้ตรวจการแผ่นดิน จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด มีจำนวน 3 คน 98
3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 3.1.1 ผู้ตรวจการแผ่นดิน 3. อำนาจหน้าที่ของผู้ตรวจการแผ่นดิน 1) พิจารณาและสอบสวนหาข้อเท็จจริงตามคำร้องเรียน และตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ขององค์กรตามรัฐธรรมนูญและองค์กรในกระบวนการยุติธรรม 2) ดำเนินการเกี่ยวกับจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ ผู้ตรวจการแผ่นดิน 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ ครูอธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับผู้ตรวจการแผ่นดิน จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4-6 เล่ม 2. ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด มีจำนวน 3 คน 3) ติดตาม ประเมินผล จัดทำข้อเสนอแนะ ในการปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญ และข้อพิจารณาเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญในกรณีที่เห็นว่าจำเป็น 4) รายงานการตรวจสอบและผลการปฏิบัติหน้าที่ต่อคณะรัฐมนตรี สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภาในทุก ๆ ปี 99
ผู้ตรวจการแผ่นดิน เรื่องน่ารู้ ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาคนแรกของประเทศไทย คือ นายพิเชต สุนทรพิพิธ แต่งตั้งเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2543 เลขาธิการสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาคนแรกของประเทศไทย คือ นายปราโมทย์ โชติมงคล ได้รับการแต่งตั้งเมื่อวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2543 นอกจากนี้ยังให้ถือว่า วันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2543 เป็นวันก่อตั้งสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาอีกด้วย 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ เรื่องน่ารู้-ครูสามารถเล่าเรื่องเสริมความรู้ให้กับนักเรียนนอกเหนือจากความรู้ในบทเรียน และบอกแหล่งความรู้เพิ่มเติมกระตุ้นการเรียนรู้นอกชั่วโมงเรียน เพื่อให้นักเรียนมีการเรียนรู้ที่กว้างขวาง ที่มา: http://www.ombudsman.go.th/10/2_1.asp 100
3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 3.1.2 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ หรือ คณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็นองค์กรที่ทำหน้าที่ป้องกัน ตรวจสอบและปราบปรามการทุจริตของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ระดับสูงของรัฐ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจิตแห่งชาติ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด หากพบเห็นหรือมีเบาะแสเกี่ยวกับการทุจริต สามารถร้องเรียนได้ที่สำนักงานคณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือโทรสายด่วน 1784 101
3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 3.1.2 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ พระมหากษัตริย์แต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา 1. องค์ประกอบและที่มาของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ กรรมการ ประธานกรรมการ 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจิตแห่งชาติ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด มีกรรมการจำนวน 9 คน เป็นผู้มีความซื่อสัตย์สุจริต มีสัญชาติไทยโดยกำเนิด อายุไม่ต่ำกว่า 45 ปีบริบูรณ์ ไม่ติดยาเสพติด ไม่เป็นสมาชิกพรรคการเมือง 102
3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 3.1.2 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 2. วาระการดำรงตำแหน่งของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ดำรงตำแหน่งได้เพียงวาระเดียว มีวาระการดำรงตำแหน่ง 9 ปี 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจิตแห่งชาติ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด มีกรรมการจำนวน 9 คน คณะกรรมการ ป.ป.ช. ที่พ้นจากตำแหน่งตามวาระต้องปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่าจะมีกรรมการคนใหม่เข้ามาดำรงรับหน้าที่ 103
3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 3.1.2 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 3. อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 1) ไต่สวนข้อเท็จจริงและสรุปสำนวนพร้อมทั้งทำความเห็นเสนอต่อวุฒิสภา เพื่อให้มีมติถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองออกจากตำแหน่ง 2) ไต่สวนข้อเท็จจริงและสรุปสำนวนพร้อมทั้งทำความเห็นไปยังศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง เกี่ยวกับการดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจิตแห่งชาติ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 3) ไต่สวนและวินิจฉัยว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐร่ำรวยผิดปกติ กระทำความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ กระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการหรือหน้าที่ในการยุติธรรม 104
3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 3.1.2 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 3. อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจิตแห่งชาติ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 4) ตรวจสอบความถูกต้องของทรัพย์สินและหนี้สินของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่อื่นของรัฐตามบัญชีและเอกสารประกอบที่ได้ยื่นไว้ 5) กำกับดูแลคุณธรรมจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง 105
3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 3.1.2 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 3. อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจิตแห่งชาติ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 6) รายงานผลการตรวจสอบและผลการปฏิบัติหน้าที่ พร้อมทั้งข้อสังเกตต่อคณะรัฐมนตรี สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภาทุกปี 7) ดำเนินการอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ 106
3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 3.1.3 คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน หรือ ค.ต.ง. ทำหน้าที่รับผิดชอบตรวจเงินแผ่นดิน คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน การตรวจเงินแผ่นดิน หมายถึง การตรวจสอบการใช้จ่ายเงินแผ่นดิน หรืองบประมาณแผ่นดินที่รัฐบาลจ่ายแก่ส่วนราชการต่าง ๆ ว่าจ่ายอย่างถูกต้องตามกฎหมายหรือไม่ ตลอดจนตรวจสอบความคุ้มค่าและประสิทธิภาพในการใช้จ่ายเงิน 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 107
3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 3.1.3 คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน 1. องค์ประกอบและที่มาของคณะกรรมการการตรวจเงินแผ่นดิน กรรมการ ประธานกรรมการ 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด มีกรรมการจำนวน 7 คน พระมหากษัตริย์แต่งตั้งตามคำแนะของวุฒิสภา เป็นผู้มีความชำนาญและมีประสบการณ์ด้านการตรวจเงินแผ่นดิน บัญชี การตรวจสอบภายใน การเงิน การคลัง และด้านอื่น ๆ 108
3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 3.1.3 คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน 2. วาระการดำรงตำแหน่งของคณะกรรมการการตรวจเงินแผ่นดิน 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด มีกรรมการจำนวน 7 คน มีวาระการดำรงตำแหน่ง 6 ปี สามารถดำรงตำแหน่งได้เพียงวาระเดียว ไม่สามารถกลับมาดำรงตำแหน่งได้อีก 109
3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 3.1.3 คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน 3. อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการการตรวจเงินแผ่นดิน การกำหนดหลักเกณฑ์มาตรฐานเกี่ยวกับการตรวจเงินแผ่นดิน การวางนโยบาย การให้คำปรึกษา คำแนะนำให้มีการแก้ไขข้อบกพร่องเกี่ยวกับการตรวจเงินแผ่นดิน 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด มีกรรมการจำนวน 7 คน การกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีพิจารณาในเรื่องวินัยทางงบประมาณและทางคลัง 110
3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 3.1.3 คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน 3. อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการการตรวจเงินแผ่นดิน การพิจารณาเลือกผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน การกำหนดโทษปรับทางปกครอง 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด มีกรรมการจำนวน 7 คน อำนาจหน้าที่อื่น ๆ ตามกฎหมาย การพิจารณาวินิจฉัยความผิดทางงบประมาณและการคลัง 111
3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.1 การแสดงรายการบัญชีทรัพย์สินและหนี้สิน การแสดงบัญชีทรัพย์สินเป็นมาตรการสำคัญในการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ระดับสูงของรัฐ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการทุจริตหรือคอร์รัปชั่น หลักฐานในการแสดงบัญชีทรัพย์สิน สำเนาหลักฐานพิสูจน์ความมีอยู่จริงของทรัพย์สินและหนี้สิน สำเนาแบบแสดงรายการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในรอบปีที่ผ่านมา มีหน้าที่ยื่นบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สินของตน คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช.ทุกครั้งที่เข้ารับหรือพ้นจากตำแหน่ง ภายใน 30 วัน และผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองจะต้องยื่นบัญชีฯ อีกครั้งภายใน 30 วัน นับตั้งแต่วันที่พ้นจากตำแหน่งมา 1 ปี 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการแสดงรายการบัญชีทรัพย์สินและหนี้สิน จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 112
3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.1 การแสดงรายการบัญชีทรัพย์สินและหนี้สิน การจงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน หากผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองคนใดจงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน หรือจงใจยื่นข้อมูลเท็จ คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะเสนอเรื่องต่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองเป็นผู้วินิจฉัย 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการแสดงรายการบัญชีทรัพย์สินและหนี้สิน จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด หากพบว่ามีความผิดจริง ให้ผู้นั้นพ้นจากตำแหน่ง และห้ามมิให้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองหรือตำแหน่งใดในพรรคการเมืองเป็นเวลา 5 ปี นับแต่วันที่ศาลมีคำวินิจฉัย 113
Let’s think นักเรียนคิดว่าจะเกิดอะไรขึ้น หากไม่มีการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกคำถามเกี่ยวกับการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ เพื่อให้นักเรียนคิดวิเคราะห์ว่า นักเรียนคิดว่าจะเกิดอะไรขึ้นหากไม่มีการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 2) แนวคำตอบ : ผู้ที่ใช้อำนาเหล่านี้อาจใช้อำนาจที่ตนมีกระทำการทุจริตเพื่อแสวงหาประโยชน์ส่วนตน จนอาจจะทำให้ประเทศชาติและประชาชนโดยรวมสูญเสียผลประโยชน์ จากหนังสือคู่มือการสอน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ผู้ที่ใช้อำนาเหล่านี้อาจใช้อำนาจที่ตนมีกระทำการทุจริตเพื่อแสวงหาประโยชน์ส่วนตน จนอาจจะทำให้ประเทศชาติและประชาชนโดยรวมสูญเสียผลประโยชน์ 114
3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.2 การกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ รัฐธรรมนูญกำหนดเรื่องของการกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ขึ้นเพื่อไม่ให้ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองมีผลประโยชน์ทับซ้อนทางการเมือง โดยมีข้อห้ามต่าง ๆ ดังนี้ 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 1. ไม่ดำรงตำแหน่งหรือหน้าที่ใดในหน่วยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ หรือดำรงตำแหน่งในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 115
3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.2 การกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 2. ไม่รับ แทรกแซง ก้าวก่ายรับสัมปทาน หรือเข้าคู่สัญญากับฝ่ายรัฐที่มีลักษณะเป็นการผูกขาด หรือเข้าเป็นหุ้นส่วนกับบริษัทที่มีลักษณะดังกล่าว ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม 116
3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.2 การกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 3. ไม่รับเงินหรือประโยชน์ใด ๆ จากฝ่ายรัฐ นอกเหนือจากที่ฝ่ายรัฐปฏิบัติต่อบุคคลอื่น ๆ ในธุรกิจการงานตามปกติ 117
3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.2 การกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ ข้อ 1–4 บังคับรวมถึงคู่สมรสและบุตรของ ส.ส. หรือ ส.ว. หรือบุคคลอื่นที่ถูกใช้ให้ร่วมดำเนินการ หรือได้รับมอบหมายจาก ส.ส.หรือ ส.ว.ให้กระทำการในลักษณะนี้ 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูอธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 4. ไม่เป็นเจ้าของกิจการหรือผู้ถือหุ้นในกิจการสื่อสารมวลชนทั้งในนามตนเองหรือวิธีอื่น ๆ ที่มีลักษณะว่าตนเองเป็นเจ้าของหรือถือหุ้นในกิจการดังกล่าว 118
3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.2 การกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 5. ไม่ใช้ตำแหน่งเข้าไปก้าวก่ายหรือแทรกแซงผลประโยชน์เพื่อตนเอง ผู้อื่น หรือของพรรคการเมืองทั้งทางตรงและทางอ้อมในเรื่องการปฏิบัติราชการของฝ่ายรัฐ 119
3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.2 การกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ 6. ข้อห้ามของนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี 1) ห้ามกระทำการที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์เหมือนกับกรณีของ ส.ส.และ ส.ว. รวมทั้งไม่สามารถดำรงตำแหน่งใด ๆ หรือเป็นลูกจ้างในกิจการธุรกิจ 2) ไม่ใช้ตำแหน่งเข้าไปก้าวก่ายหรือแทรกแซงเพื่อผลประโยชน์ของตนเอง ผู้อื่น หรือของพรรคการเมืองทั้งทางตรงและทางอ้อม 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 3) ไม่เป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท บังคับไปถึงคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะของนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีด้วย 120
3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.3 การถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง การถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่งเป็นวิธีการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ โดยการตรวจสอบผู้ดำรงตำแหน่งระดับสูง หากมีพฤติกรรมที่ส่อว่าจะทุจริต วุฒิสภาสามารถถอดถอนผู้นั้นออกจากตำแหน่งได้ 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 121
3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.3 การถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง 1. บุคคลที่จะถูกถอดถอนจากตำแหน่ง นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ประธานศาลฎีกา ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ประธานศาลปกครองสูงสุด อัยการสูงสุด ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด กรรมการการเลือกตั้ง ผู้ตรวจการแผ่นดิน กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ผู้พิพากษาหรือตุลาการ พนักงานอัยการ ผู้ดำรงตำแหน่งระดับสูงอื่น ๆ 122
3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.3 การถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง 2. ผู้มีสิทธิเข้าชื่อให้ดำเนินการถอดถอนออกจากตำแหน่ง การถอดถอนออกจากตำแหน่ง มีวิธีการ ดังนี้ 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 1) ส.ส. เข้าชื่อกันไม่น้อยกว่า 1 ใน 4 ของจำนวนสมาชิกเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร 2) ส.ว. เข้าชื่อกันไม่น้อยกว่า 1 ใน 4 ของจำนวนสมาชิกเท่าที่มีอยู่ของวุฒิสภา 3) ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งเข้าชื่อกันไม่น้อยกว่า 20,000 คน 123
3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.3 การถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง ดำเนินการไต่สวน 3. ขั้นตอนการดำเนินการถอดถอน ส่งเรื่อง ประธานคณะกรรมการ ป.ป.ช.ส่งเรื่องไปยังประธานวุฒิสภา ประธานวุฒิสภา ได้รับคำร้อง 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกเพื่อธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด คณะกรรมการ ป.ป.ช. วุฒิสภาจัดประชุม และลงคะแนนลับ ซึ่งมติถอดถอนให้ถือเอาคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 5 ของจำนวนสมาชิกเท่าที่มีอยู่ของวุฒิสภา หากมีมูลความผิดผู้ถูกกล่าวหาจะปฏิบัติหน้าที่ต่อไปไม่ได้ 124
3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.3 การถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง 4. การพ้นจากตำแหน่ง ผู้ใดที่ถูกถอดถอนให้พ้นจากตำแหน่งหรือให้ออกจากราชการนับตั้งแต่วันที่วุฒิสภามีมติให้ถอดถอน และให้ตัดสิทธิ์ในการดำรงตำแหน่งทางการเมืองหรือการรับราชการเป็นเวลา 5 ปี 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 125
Let’s think เพราะอะไรกฎหมายจึงเปิดโอกาสให้ประชาชนมีสิทธิเสนอให้มีการถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกคำถามเกี่ยวกับการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ เพื่อให้นักเรียนคิดวิเคราะห์ว่า เพราะอะไรกฎหมายจึงเปิดโอกาสให้ประชาชนมีสิทธิเสนอให้มีการถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง 2) ครูคลิกเพื่อเฉลยคำตอบ แนวคำตอบ : เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง และช่วยภาครัฐปกป้องผลประโยชน์ของประเทศชาติ จากหนังสือคู่มือการสอน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง และช่วยภาครัฐปกป้องผลประโยชน์ของประเทศชาติ 126
3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.4 การดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง การดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองเป็นหน้าที่ของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองซึ่งมีกระบวนการพิจารณาพิพากษาคดีอาญาแยกจากวิธีทั่ว ๆ ไป เพื่อให้การพิจารณาคดีปราศจากการแทรกแซงจากผู้มีอำนาจการเมือง 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 127
3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.4 การดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง 1. บุคคลที่มีสิทธิถูกดำเนินคดี ผู้มีสิทธิถูกดำเนินคดีมี 3 ประเภท คือ 1) ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองโดยตรง ได้แก่ นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ข้าราชการเมืองอื่น ผู้บริหารท้องถิ่น 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด สมาชิกสภาท้องถิ่นตามที่กฎหมายกำหนด 2) บุคคลที่ไม่ใช่ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองโดยตรง ได้แก่ บุคคลธรรมดา ซึ่งเป็นตัวการ ผู้ใช้ หรือผู้กระทำความผิดอาญา 3) กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 128
3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.4 การดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง 2. ข้อกล่าวหา บุคคลที่จะถูกดำเนินคดีจะถูกดำเนินคดีอาญาในข้อกล่าวหาข้อใดข้อหนึ่ง ดังนี้ 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 2) กระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการตามประมวลกฎหมายอาญา 3) กระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่หรือทุจริตต่อหน้าที่ตามกฎหมายอื่น 1) ร่ำรวยผิดปกติ 129
3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.4 การดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง 3. การดำเนินคิดฟ้องร้อง 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัดื 2) คณะกรรมการ ป.ป.ช. ไต่สวนข้อเท็จจริงและสรุปสำนวนทั้งทำความเห็นส่งไปศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง 1) ผู้เสียหายในความผิดดังกล่าว ยื่นคำร้องต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. 130
3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.4 การดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง 4. การพิจารณาคดีของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง การพิจารณาคดีของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองจะยึดถือสำนวนของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็นหลักในการพิจารณา แต่สามารถไต่สวนข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานเพิ่มเติมตามที่เห็นสมควร เพื่อเป็นประโยชน์ในการพิจารณา 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูคลิกเพื่ออธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 131
3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 3.2.4 การดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง 5. คำสั่งและคำพิพากษา การพิพากษาให้ถือตามเสียงข้างมากขององค์คณะ โดยจะต้องเปิดเผยคำสั่งและคำพิพากษา และคำสั่งหรือคำพิพากษาจะถือเป็นที่สุด ไม่มีการอุทธรณ์ใด ๆ อีก 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ ครูอธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับการดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 132
เงินเดือนนักการเมืองประเทศสิงคโปร์ เรื่องน่ารู้ การให้เงินเดือนจำนวนมากแก่นักการเมืองในประเทศสิงคโปร์เป็นปัจจัยหนึ่งที่ป้องกันนักการเมืองทุจริต และเพื่อดึงดูดให้ผู้มีความสามารถเข้ามาทำงานบริหารประเทศ โดยนายกรัฐมนตรีประเทศสิงคโปร์มีเงินเดือนต่อปีเฉลี่ย 70 ล้านบาทซึ่งมากกว่าประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาถึง 5 เท่า และมากกว่านายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นถึง 8 เท่า 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.1 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ เรื่องน่ารู้-ครูสามารถเล่าเรื่องเสริมความรู้ให้กับนักเรียนนอกเหนือจากความรู้ในบทเรียน และบอกแหล่งความรู้เพิ่มเติมกระตุ้นการเรียนรู้นอกชั่วโมงเรียน เพื่อให้นักเรียนมีการเรียนรู้ที่กว้างขวาง ที่มา : http://www.oknation.net/blog/print.php?id=748257 133
กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3–5 คน ร่วมกันอภิปรายว่า การตรวจสอบอำนาจรัฐด้วยวิธีการใดมีประสิทธิภาพมากที่สุด เพราะอะไร แล้วส่งตัวแทนนำเสนอข้อสรุปหน้าชั้นเรียน 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 3.2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ 1) ครูกำหนดภาระงานให้นักเรียนปฏิบัติ โดยให้นักเรียนทำกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ 2) แนวคำตอบ : การแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน เพราะเป็นการตรวจสอบความเปลี่ยนแปลงของทรัพย์สิน หากพบว่าเปลี่ยนแปลงอย่างผิดปกติ ก็อาจจะคาดการณ์ได้ว่าต้องมีการกระทำการทุจริตบางอย่างเกิดขึ้น จากหนังสือคู่มือการสอน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 2 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 134
กิจกรรม : เหตุการณ์สมมุติ 1. นายภูผาไม่ได้รับความเป็นธรรมจากการกระทำของของตำรวจ นายภูผาต้องไปร้องเรียนกับองค์กรใด ผู้ตรวจการแผ่นดิน 2. นายโจศักดิ์ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการ ป.ป.ช. นายโจศักดิ์จะมีวาระการดำรงตำแหน่งกี่ปี และเมื่อพ้นจากวาระแล้วสามารถกลับเข้ามารับตำแหน่งได้อีกหรือไม่ 1) ครูให้นักเรียนำกิจกรรม โดยตอบคำถามให้ถูกต้อง 2) ครูคลิกเพื่อเฉลยคำตอบ 9 ปี /ไม่ได้ เพราะสามารถดำรงตำแหน่งได้เพียงวาระเดียว 135
กิจกรรม : เหตุการณ์สมมุติ 3. นางตุ๊กกี้พ้นจากตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรต้องยื่นบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สินต่อหน่วยงานใด คณะกรรมการ ป.ป.ช. 4. นายหมากถูกถอดถอนให้พ้นจากตำแหน่งสมาชิกวุฒิสภา จะส่งผลอย่างไรต่อสิทธิในการดำรงตำแหน่งทางการเมืองของนายหมาก 1) ครูให้นักเรียนำกิจกรรม โดยตอบคำถามให้ถูกต้อง 2) ครูคลิกเพื่อเฉลยคำตอบ ไม่สามารถดำรงตำแหน่งทางการเมืองได้ เป็นระยะเวลา 5 ปี 136
สรุปความรู้ การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐเป็นกลไกในการตรวจสอบเพื่อป้องกันมิให้ผู้ใช้อำนาจนี้กระทำการทุจริตหรือกระทำในสิ่งที่ประชาชนและประเทศชาติเสียประโยชน์ โดยในการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐนั้นจะกระทำได้ทั้งโดยองค์กรอิสระ เช่น ผู้ตรวจการแผ่นดิน คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน นอกจากนี้ประชาชนยังสามารถตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐได้ด้วยเช่นกัน สรุปความรู้เรื่อง การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 2) ครูคลิกเพื่อแสดงข้อความสรุปความรู้ทีละประเด็น 137