การพัฒนาระบบบริการผู้ป่วยจิตเวช รุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
Advertisements

ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
เครื่องมือเพื่อการคัดกรองโรคซึมเศร้า
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. การให้การดูแลผู้ป่วยแบบ ปฐมภูมิ 2. การประเมินผู้ป่วยตามความ รุนแรง 3. การดูแลผู้ป่วยที่อาจมีอาการ เปลี่ยนแปลง 4. การป้องกันและการเฝ้าระวัง การติดเชื้อในชุมชน.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
SERVICE PLAN 59.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
การพัฒนาข้อมูล HDC ปีงบประมาณ เมษายน 2559
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ด้านระบบสารสนเทศสุขภาพ
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
นายแพทย์บุรินทร์ สุรอรุณสัมฤทธิ์
ขั้นตอนการให้บริการ ด้านโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
พื้นที่ทำร้ายตัวเองใหม่(√) ปี๒๕๖๐ ทั้งสำเร็จ-ไม่สำเร็จ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่
สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ ข้อมูล ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2559
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
2.ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย : การเข้าถึงบริการโรคสมาธิสั้นร้อยละ 9
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
ระบบบริการสาขาสุขภาพจิตและจิตเวช และยาเสพติด เขตสุขภาพที่ 3 ปีงบประมาณ – 9 พฤษภาคม 2560 โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา ความเสี่ยง/ความท้าทาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบบริการผู้ป่วยจิตเวช รุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อน การพัฒนาระบบบริการผู้ป่วยจิตเวช รุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อน นพ ไพฑูรย์ สมุทรสินธุ์ 15 ธค . 2558

เกณฑ์การประเมินผู้ป่วยจิตเวช ที่มียุ่งยากซับซ้อนในการรักษา เกณฑ์การประเมินผู้ป่วยจิตเวช ที่มียุ่งยากซับซ้อนในการรักษา นิยาม ผู้ป่วยจิตเวชที่จำเป็นต้องได้รับการรักษา เกินขีดความสามารถของหน่วยบริการ กำหนดร่วมกันในหน่วยบริการของเขตบริการเดียวกัน

เกณฑ์การประเมินผู้ป่วยจิตเวช ที่มียุ่งยากซับซ้อนในการรักษา (ต่อ) เกณฑ์การประเมินผู้ป่วยจิตเวช ที่มียุ่งยากซับซ้อนในการรักษา (ต่อ) เกณฑ์การประเมิน ก. อาจเป็นผู้ป่วยจิตเวชที่มียุ่งยากซับซ้อนในการรักษา 1. พบเห็น/ประวัติที่เชื่อได้ว่ามีพฤติกรรมที่เกิดอันตราย/เสี่ยงต่อตัวเอง ฆ่าตัวตาย, บกพร่องในการดูแลตัวเองมาก,มีพฤติกรรมที่อาจนำอันตรายมาสู่ต่อตัวเอง

เกณฑ์การประเมินผู้ป่วยจิตเวช ที่มียุ่งยากซับซ้อนในการรักษา (ต่อ) เกณฑ์การประเมินผู้ป่วยจิตเวช ที่มียุ่งยากซับซ้อนในการรักษา (ต่อ) 2. พบเห็น/ประวัติที่เชื่อได้ว่ามีพฤติกรรมที่เกิดอันตราย/เสี่ยงต่อคนอื่น ทำร้ายร่างกาย, พกอาวุธพร้อมก่อเหตุ, ทำร้ายสัตว์/วางเพลิง/ทำลายข้าวของ, ล่วงละเมิดทางเพศ, พฤติกรรมทำให้คนอื่นหวาดกลัวมาก 3. ผู้ป่วยจิตเวชที่อยู่ระหว่างดำเนินคดี 4. ผู้ป่วยจิตเวชที่รับการรักษาแบบผู้ป่วยใน นานกว่า14วัน อาการยังไม่ดีขึ้น

เกณฑ์การประเมินผู้ป่วยจิตเวช ที่มียุ่งยากซับซ้อนในการรักษา (ต่อ) เกณฑ์การประเมินผู้ป่วยจิตเวช ที่มียุ่งยากซับซ้อนในการรักษา (ต่อ) ข. เป็นผู้ป่วยจิตเวชที่มียุ่งยากซับซ้อนในการรักษา 1. ได้รับการประเมินว่าอาจเป็นผู้ป่วยจิตเวชที่มียุ่งยากซับซ้อนในการรักษาและ 2. ได้รับการประเมินโดยแพทย์อย่างน้อย 2คน (จิตแพทย์ 1คน)

เกณฑ์การประเมินผู้ป่วยจิตเวช ที่มียุ่งยากซับซ้อนในการรักษา (ต่อ) เกณฑ์การประเมินผู้ป่วยจิตเวช ที่มียุ่งยากซับซ้อนในการรักษา (ต่อ) แนวทางสำหรับผู้ปฎิบัติงาน 1. กรณีประเมินว่าอาจเป็นผู้ป่วยจิตเวชที่มียุ่งยากซับซ้อนในการรักษา ตามเกณฑ์ข้อ ก. รายงานแพทย์ผู้รับผิดชอบ หรือปรึกษาจิตแพทย์ทุกรายโดยเร็วที่สุด 2. กรณีประเมินว่าเป็นผู้ป่วยจิตเวชที่มียุ่งยากซับซ้อนในการรักษา ตามเกณฑ์ข้อ ข. ให้พิจารณารับไว้ในหน่วยบริการที่มีความพร้อม หรือส่งต่อไปรพ.จิตเวชตามข้อตกลงร่วมกันระหว่างหน่วยงาน

แนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง ( Serious Mental Illness with High Risk to Violence) สำหรับสถาบัน/รพ.จิตเวชในสังกัดกรมสุขภาพจิต คำจำกัดความ 1.ผู้ป่วยจิตเวชที่ได้รับการวินิจฉัย 1ปี ได้แก่ schizophrenia, bipolar disorder, major depressive disorder (ยกเว้นกลุ่มปัญหาพัฒนาการและสารเสพติด) 2.ส่งผลต่อพฤติกรรมรุนแรง/ ทำให้เกิดทุพลภาพรุนแรง 3.จำเป็นต้องได้รับการเฝ้าระวังดูแลป้องกันการกำเริบซ้ำ

แนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง ( Serious Mental Illness with High Risk to Violence) สำหรับสถาบัน/รพ.จิตเวชในสังกัดกรมสุขภาพจิต(ต่อ) แนวคิดการจัดการ 1. จัดลำดับ/วิเคราะห์ กลุ่มSMI ที่มีโอกาสเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง 2. พัฒนากระบวนการวิเคราะห์ปัญหาของผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง 3. วางระบบ/รูปแบบการจัดการปัจจัยเสี่ยง/ป้องกันการกำเริบซ้ำ 4. ระบบฐานข้อมูล เพื่อร่วมกันติดตามระหว่างรพจิตเวช+รพในเขต

แนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง ( Serious Mental Illness with High Risk to Violence) สำหรับสถาบัน/รพ.จิตเวชในสังกัดกรมสุขภาพจิต(ต่อ) เป้าหมายความดูแล 1.ลดการก่อความรุนแรงต่อตนเอง/ผู้อื่น 2.ลดการกลับเป็นซ้ำ 3.เพิ่มคุณภาพชีวิตผู้ป่วย 4.ลดตราบาปให้กับสังคม

แนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง ( Serious Mental Illness with High Risk to Violence) สำหรับสถาบัน/รพ.จิตเวชในสังกัดกรมสุขภาพจิต(ต่อ) เกณฑ์การจำแนก ผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง ( Serious Mental Illness with High Risk to Violence) ได้แก่ ผู้ป่วยโรคจิตเภท โรคซึมเศร้า โรคอารมณ์สองขั้ว ที่มีภาวะอันตรายสูง และที่มีความเสี่ยงที่จะเกิดอันตรายสูง มีเกณฑ์การจำแนก ดังนี้

แนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง ( Serious Mental Illness with High Risk to Violence) สำหรับสถาบัน/รพ.จิตเวชในสังกัดกรมสุขภาพจิต(ต่อ) เกณฑ์การจำแนก 1. มีประวัติทำร้ายตัวเองด้วยวิธีรุนแรงหวังให้เสียชีวิต 2. มีประวัติทำร้ายผู้อื่นด้วยวิธีรุนแรง/ก่อเหตุรุนแรงในชุมชน 3. มีอาการหลงผิด มีความคิดทำร้ายผู้อื่นให้ถึงแก่ชีวิต/มุ่งร้ายผู้อื่นแบบเฉพาะเจาะจง 4. มีประวัติก่อคดีอาญารุนแรง(ฆ่า พยายามฆ่า ข่มขืน วางเพลิง)

แนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง ( Serious Mental Illness with High Risk to Violence) สำหรับสถาบัน/รพ.จิตเวชในสังกัดกรมสุขภาพจิต(ต่อ) แนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูง ต่อการก่อความรุนแรงที่ไม่มีคดี 1. การคัดกรองเบื้องต้น 2. การตรวจรักษา 3. การประเมินความเสี่ยง 4. การติดตามผู้ป่วย 5. การส่งต่อข้อมูลให้เครือข่าย

แนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง ( Serious Mental Illness with High Risk to Violence) สำหรับสถาบัน/รพ.จิตเวชในสังกัดกรมสุขภาพจิต(ต่อ) กระบวนการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง ต่อเนื่องในชุมชน 1. ระบบการส่งต่อข้อมูลให้เครือข่าย ทางโทรศัพท์ / ผ่านโปรแกรม/ แบบส่งต่อข้อมูลเครือข่าย 2. ระบบการติดตาม การติดตามเยี่ยม 1ครั้งใน1เดือน/ การใช้ระบบนัด,ขาดนัดตามใน 1 สัปดาห์/ ติดตามข้อมูลการรักษาทุก 3เดือน 1ปี หลังจากนั้นทุก 6เดือน 3. ระบบการส่งต่อกรณีฉุกฉิน จัดให้มีช่องทางด่วนรับส่งต่อ

แนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง ( Serious Mental Illness with High Risk to Violence) สำหรับสถาบัน/รพ.จิตเวชในสังกัดกรมสุขภาพจิต(ต่อ) แนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูง ต่อการก่อความรุนแรงที่มีคดี 1. พิจารณารับไว้เป็นผู้ป่วยใน จาก อาการ /ความรุนแรงของโรค /ภาวะอันตรายต่อตัวเองหรือผู้อื่น 2. ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ม. 14 3. ประมวลกฎหมายอาญา ม. 48 4. ประมวลกฎหมายอาญา ม. 56 5. พ.ร.บ.สุขภาพจิต พ.ศ. 2551

แนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง ( Serious Mental Illness with High Risk to Violence) สำหรับสถาบัน/รพ.จิตเวชในสังกัดกรมสุขภาพจิต(ต่อ) การจำหน่ายผู้ป่วย 1. ประสานงานพื้นที่/ญาติ/ เรือนจำ/ ศาล/ ตำรวจ/ สถานสงเคราะห์ 2. ส่งต่อข้อมูลการรักษาให้กับพื้นที่ที่จำหน่ายผู้ป่วย 3. เมื่อส่งผู้ป่วยกลับชุมชน ให้ส่งข้อมูลให้แก่ สสจ./ รพช.หรือรพท./ รพ.ที่มีจิตแพทย์ในพื้นที่ หน่วยงานที่ดูแลต่อให้รายงานผลการรักษามาที่รพ.จิตเวชที่จำหน่าย ทุก30วัน3ครั้ง แล้วทุก90วันจนครบ1ปี (พรบ.สุขภาพจิต พ.ศ.2551)

ขอบคุณครับ