งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นายแพทย์บุรินทร์ สุรอรุณสัมฤทธิ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นายแพทย์บุรินทร์ สุรอรุณสัมฤทธิ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นายแพทย์บุรินทร์ สุรอรุณสัมฤทธิ์
Service plan ความเชื่อมโยงระหว่างการดูแลต่อเนื่องผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังกลุ่ม SMI-V ในระบบสาธารณสุข ปี 2561 นายแพทย์บุรินทร์ สุรอรุณสัมฤทธิ์

2 กรอบการดำเนินงานผู้ป่วยโรคจิตเวชเรื้อรัง
Service plan 61 กรอบการดำเนินงานผู้ป่วยโรคจิตเวชเรื้อรัง บริการดูแลต่อเนือง COC ลดช่องว่างการเข้าถึงการรักษา : การเข้าถึงบริการ - Raising awareness in community forum and District Health System - Capacity training (screening, early intervention, diagnosis, treatment and follow-up) Monitoring and Evaluation Sharing good knowledge บริการการฟื้นฟูคุณภาพชีวิตและลดอคติในชุมชน Service plan 57-60

3 หมายเหตุ : ปีงบประมาณ 2557-2558 สำรวจข้อมูลผู้ป่วย ICD-10 : F20-29

4 75%

5 เขตสุขภาพที่ 1 7 8 87.50 เขตสุขภาพที่ 2 1 5 20.00 เขตสุขภาพที่ 3 2
จำนวนจังหวัดที่ผ่านร้อยละเข้าถึงบริการโรคจิตมากกว่าหรือเท่ากับ 70 จำนวนจังหวัดที่ผิดชอบของแต่ละเขตสุขภาพทั้งหมด ร้อยละมากกว่าหรือเท่ากับ 75 ของจังหวัดที่การเข้าถึงบริการได้ตามเป้าหมาย เขตสุขภาพที่ 1 7 8 87.50 เขตสุขภาพที่ 2 1 5 20.00 เขตสุขภาพที่ 3 2 40.00 เขตสุขภาพที่ 4 25.00 เขตสุขภาพที่ 5 4 50.00 เขตสุขภาพที่ 6 3 37.50 เขตสุขภาพที่ 7 100.00 เขตสุขภาพที่ 8 71.43 เขตสุขภาพที่ 9 75.00 เขตสุขภาพที่ 10 เขตสุขภาพที่ 11 เขตสุขภาพที่ 12 กทม รวมทั้งประเทศ 43 76 56.57

6 บริการการฟื้นฟูคุณภาพชีวิตและลดอคติในชุมชน
expectation บริการดูแลต่อเนือง COC ลดช่องว่างการเข้าถึงการรักษา : การเข้าถึงบริการ -สร้างความครอบคลุมของการเข้าถึงบริการและข้อมูลของผู้ป่วยโรคจิต บริการการฟื้นฟูคุณภาพชีวิตและลดอคติในชุมชน

7 รายงานข้อมูลผู้ป่วย SMI-V ( ปี 2557 – 2560)

8 Reference : Prasri Mahabodhi hospital, 2016

9 จำนวนผู้ป่วย SMI-V จำแนกรายกลุ่มโรค จำนวน 11 กลุ่มโรค
รหัสโรค ชื่อกลุ่มโรค รวม ร้อยละ F00-F09 ความผิดปกติทางจิตและอาการทางจิตที่เกิดจากโรคทางกาย 236 2.39 F10-F19 ความผิดปกติทางจิตและพฤติกรรมที่เกิดจากการใช้สารออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท 1,441 14.61 F20-F29 โรคจิตเภท พฤติกรรมแบบโรคจิตเภท และโรคหลงผิด 5,302 53.74 F30-F39 ความผิดปกติทางอารมณ์ 2,234 22.64 F40-F49 โรคประสาท ความผิดปกติที่สัมพันธ์กับความเครียด และโรคโซมาโตฟอร์ม 267 2.70 F50-F59 กลุ่มอาการทางพฤติกรรมที่พบร่วมกับความผิดปกติทางสรีรวิทยาและปัจจัยทางกายภาพ 8 0.08 F60-F69 ความผิดปกติทางบุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้ใหญ่ 22 0.22 F70-F79 ภาวะปัญญาอ่อน 105 1.06 F80-F89 ความผิดปกติของพัฒนาการทางจิต 12 0.12 F90-F98 ความผิดปกติทางอารมณ์และพฤติกรรมที่มักเริ่มต้นในวัยเด็กและวัยรุ่น 76 0.77 โรคอื่นๆ ความผิดปกติทางจิตที่ไม่ระบุรายละเอียด 163 1.65 9,866 100 *ข้อมูลจากสำนักบริหารระบบบริการสุขภาพจิต ณ เดือน ต.ค ถึง กันยายน 2560

10 จำแนกผู้ป่วย SMI-V ตามความรุนแรง
ลักษณะความรุนแรง จำนวน(ราย) ร้อยละ มีประวัติทำร้ายตัวเองด้วยวิธีรุนแรงมุ่งหวังให้เสียชีวิต (SMI-V 1) 4,222 42.50 มีประวัติทำร้ายผู้อื่นด้วยวิธีรุนแรง/ก่อเหตุการณ์รุนแรงในชุมชม (SMI-V 2) 3,899 39.25 มีอาการหลงผิด คิดทำร้ายผู้อื่น (SMI-V 3) 541 5.44 เคยมีประวัติก่อคดีอาญารุนแรง (SMI-V 4) 517 5.20 มีปัจจัยเสี่ยงมากกว่า 1 ด้านขึ้นไป 755 7.60 รวม 9,934 100 *ข้อมูลจากสำนักบริหารระบบบริการสุขภาพจิต ณ เดือน ต.ค ถึง กันยายน 2560

11 หน่วยบริการของพื้นที่
กรอบแนวคิดโครงการพัฒนาระบบดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง (Serious Mental Illness with High Risk to Violence : SMI-V) - A : มีการคัดกรอง ประเมินระดับความรุนแรงและเฝ้าระวังผู้ป่วย กลุ่มเสี่ยง SMI-V ในโรงพยาบาล C : ผู้ป่วย SMI-V ทุกรายได้รับการดูแลตั้งแต่ก่อน ระหว่างและหลังบริการจากโรงพยาบาล - Q : มีแนวทางการดูแลผู้ป่วย SMI-V ที่มีคุณภาพ และเป็น มาตรฐาน S : ผู้ป่วยได้รับการรักษาและดูแล ต่อเนื่อง จนอาการสงบ ไม่กลับเป็นซ้ำ ไม่มีพฤติกรรม รุนแรง ไม่ก่อคดี ผลลัพธ์ ผู้ป่วยได้รับการติดตามในชุมชน จนหายทุเลา ไม่กลับเป็นซ้ำ ไม่ก่อคดี/ความรุนแรง หน่วยบริการของพื้นที่ โรงพยาบาลจิตเวช

12 กรอบแนวคิด กรอบ โรงพยาบาลตติยภูมิ โรงพยาบาลชุมชน -CARE PLANNER
-referral for complicated services -SMI-V care -coaching โรงพยาบาลชุมชน -CARE PLANNER -NOTIFICATION CENTER ความมั่นคง สวัสดิการ รพ.สต./อส ม. -CARE MANAGE R -HOME VISIT - SURVEILL ANCE ชุมชน กลุ่ม ช่วยเหลือ โรงเรียน อปท. ผู้นำ ศาสนา อาสาสมัคร สาธารณสุข ผู้นำชุมชน ภาคเอกชน โรงพยาบาลตติยภูมิ Coaching/Csg REFERAL REFERAL BACK FOR MAINTENANCE CARE CONJOINT COMMUNITY CARE

13 ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับของการมีระบบดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง (Serious Mental Illness with High Risk to Violence : SMI-V) - A : การได้รับการประเมินและคัดกรองลงทะเบียน SMI-V C : ผู้ป่วย SMI-V ทุกรายได้รับโปรแกรมดูแลภาวะ SMI-V ระหว่างและหลังบริการจากโรงพยาบาลจิตเวช - Q : มีแนวทางการดูแลผู้ป่วย SMI-V ที่มีคุณภาพมาตรฐาน S : ผู้ป่วย SMI-V ที่ได้รับการรักษาดูแลต่อเนื่อง มีความปลอดภัย อาการทางจิตทุเลา ปราศจากพฤติกรรมรุนแรง ไม่กลับเป็นซ้ำ ไม่ก่อคดี

14 เป้าหมายของการดูแล SMI
ผู้ป่วยได้รับการดูแลต่อเนื่อง ผู้ป่วยหายทุเลา (Remission) ผู้ป่วยไม่กำเริบซ้ำ (Relapse) ผู้ป่วยไม่ก่อความรุนแรงทั้งต่อตนเอง และผู้อื่น ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดี

15 รูปแบบการบริการสำคัญเพื่อจัดการปัญหาของ SMI
SCREENING การค้นหาและจัดทำทะเบียน INTERVENTION กิจกรรมดูแลแก้ไขภาวะ violence ใน รพ ระบบการดูแลต่อเนื่องและเฝ้าระวัง case management FOLLOW UP การติดตามผู้ป่วยที่มีอาการทางจิตทุเลา และไม่มีความเสี่ยงต่อความรุนแรง การใช้ case management การเฝ้าระวังป้องกันภาวะ violence ที่บ้าน/ชุมชน และ การจัดการเบื้องต้นในชุมชน REFERAL การส่งต่อจากชุมชน สู่เครือข่าย

16 กรอบแนวคิดของการป้องกันการฆ่าตัวตาย
มาตรการ การวัด ผลลัพธ์ ผลลัพธ์สุดท้าย กลุ่มปกติ กลุ่มวัยสำคัญ การให้ความรู้สังคม นโยบายจำกัดการเข้าถึงวิธีการฆ่าตัวตาย นโยบายจัดการปัจจัยเสี่ยง (แอลกอฮอล์ โรคเรื้อรัง โรคจิตเวช) นโยบายด้านสุขภาพจิต จำนวนนโยบาย กฏหมายที่มีประเด็นการฆ่าตัวตายที่เกี่ยวข้อง Laws and policy อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จลดลง ร้อยละของการพยายามทำร้ายตนเองลดลง กลุ่มเสี่ยง การสังเกต warning sign เพิ่มช่องทางการเข้าถึงบริการ ได้แก่ hotline จำนวนสื่อรณรงค์ จำนวน hotline กลุ่มป่วย (suicide behavior) เพิ่มการเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ Specific and early intervention การติดตามต่อเนื่องในชุมชน Service plan ระบบบริการคุณภาพ ระบบการเข้าถึงการรักษา ระบบการติดตามเฝ้าระวังต่อเนื่อง หน่วยบริการที่มีการให้บริการ อัตราการเข้าถึงบริการ อัตรากำเริบซ้ำของโรคจิตเวช อัตราการกลับทำร้ายตนเองซ้ำ

17 2 1 Health Outcome อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ ไม่เกิน 6.3 ต่อแสนประชากร
SERVICE PLAN สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 คณะที่ 2 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ตัวชี้วัด อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ Health Outcome 2 1 อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ ไม่เกิน 6.3 ต่อแสนประชากร ร้อยละของจำนวนผู้ฆ่าตัวตายสำเร็จลดลงจากเดิม ร้อยละ 2

18 แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
คณะที่ 2 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ตัวชี้วัด อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ Service Outcome 1 ร้อยละของผู้พยายามฆ่าตัวตายไม่กลับมาทำร้ายตัวเองซ้ำในระยะเวลา 1 ปี (ร้อยละ 90) 4 2 ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต (≥ ร้อยละ 55) 1 3 ร้อยละของผู้ป่วยโรคติดสุราเข้าถึงบริการสุขภาพจิตเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา (ร้อยละ 1) 3 4 ร้อยละของผู้ป่วยโรคสมาธิสั้นเข้าถึงบริการสุขภาพจิต (ร้อยละ 9) 2

19 ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น
1 ระบบบริการจิตเวชเร่งด่วน (acute care) ในโรงพยาบาลระดับ A-M2 ทุกแห่ง 2 บริการจิตเวชที่มีมาตรฐาน 3 พัฒนาการเข้าถึงบริการในโรคจิตเวชสำคัญที่เป็นปัจจัยเสี่ยง ต่อการฆ่าตัวตาย ได้แก่ โรคติดสุรา โรคซึมเศร้า โรคจิต โรคสมาธิสั้น 4 การติดตามดูแลผู้ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงและพยายามฆ่าตัวตายไม่ให้ ฆ่าตัวตายซ้ำตามแนวทางมาตรฐาน 5 บูรณาการระบบการป้องกันการฆ่าตัวตายที่เชื่อมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ให้รู้ถึงสัญญาณเตือนของการฆ่าตัวตายและการช่วยเหลือเบื้องต้นผู้ที่เสี่ยงและผู้ที่พยายามฆ่าตัวตาย

20 Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน
ร้อยละ 80 ของหน่วยบริการระดับ A-M2 ที่มีระบบบริการ จิตเวชเร่งด่วน ตามบริบทและสอดคล้องกับแนวทาง ของการจัดบริการ acute care ร้อยละ 20 ของหน่วยบริการระดับ A-M1 ที่มีบริการจิตเวช ที่มีมาตรฐานในระดับ 1 ร้อยละ 50 ของหน่วยบริการในเขตสุขภาพที่มีบริการติดตามดูแลต่อเนื่องผู้พยายามฆ่าตัวตายและมีการบันทึกข้อมูลใน 43 แฟ้ม ร้อยละ 60 ของอำเภอที่มี DHB มีการบูรณาการกิจกรรม สร้างความตระหนักของประชาชนทั่วไปและญาติ แกนนำชุมชน ในเรื่องสัญญาณเตือนของการฆ่าตัวตาย และการช่วยเหลือเบื้องต้น 9 เดือน 12 เดือน - ร้อยละ 70 ของจังหวัดในเขตสุขภาพที่มีอัตราการเข้าถึงผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่ผ่านค่าเป้าหมาย (โรคซึมเศร้า ≥ ร้อยละ 55) - ร้อยละของผู้ป่วยโรคติดสุราเข้าถึงบริการสุขภาพจิตเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา (ร้อยละ 1) - ร้อยละ 9 ของผู้ป่วยโรคสมาธิสั้นเข้าถึงบริการสุขภาพจิต ร้อยละ 90 ของผู้พยายามฆ่าตัวตายไม่กลับมาทำร้ายตัวเองซ้ำ ในระยะเวลา 1 ปี - ร้อยละ 2 ของจำนวนผู้ฆ่าตัวตายสำเร็จลดลงจากเดิม - ร้อยละ 90 ของหน่วยบริการระดับ A-M2 ที่มีระบบบริการ จิตเวชเร่งด่วนตามบริบทและสอดคล้องกับแนวทาง การจัดบริการ acute care - ร้อยละ 30 ของหน่วยบริการระดับ A-M1 ที่มีบริการจิตเวชที่มีมาตรฐานในระดับ 1 - ร้อยละ 80 ของหน่วยบริการมีบริการติดตามดูแลต่อเนื่องผู้พยายามฆ่าตัวตายและบันทึกข้อมูลใน 43 แฟ้ม

21 GAP การพัฒนาระบบข้อมูลของกระทรวงเพื่อการดูแลต่อเนื่องในผู้ป่วยโรคจิตเวช

22 มาตรการหลักปี 2561 การพัฒนาระบบข้อมูลผู้พยายามฆ่าตัวตายควบคู่กับวางระบบการดูแลต่อเนื่อง การพัฒนาศักยภาพการเก็บข้อมูลให้กับบุคลากร การรายงานเชิงนโยบายเสนอผู้บริหาร การวางระบบ screening intervention follow-up ผู้ป่วยจิตเวชกลุ่มเสี่ยงที่ทำร้ายตนเอง การพัฒนาคุณภาพระบบบริการและส่งต่อผู้ป่วยจิตเวช

23 Thank you for your attention


ดาวน์โหลด ppt นายแพทย์บุรินทร์ สุรอรุณสัมฤทธิ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google