โครงการปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร ปี 2559

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

โปรแกรมขึ้นทะเบียนเกษตรกร ผู้ปลูกข้าวนาปี ปี 2557/58
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
( นางเอื้อมพร วงศ์สวัสดิ์กุล ) ผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ.
นางเอื้อมพร วงศ์ สวัสดิ์กุล ผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยี สารสนเทศ.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการ กรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สระบุรี ( กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม โครงการตามนโยบายรัฐบาล.
กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศการพัฒนาปศุสัตว์
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิภาพ 1.
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
วิธีการใ ช้ โปรแกรมคำนวณคะแนน กลุ่มเกษตรกรดีเด่น กองพัฒนาสหกรณ์ด้าน การเงินและร้านค้า กรมส่งเสริม สหกรณ์
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
สรุปกิจกรรมการบริหารจัดการวัคซีน ไข้หวัดใหญ่ ปี 2559 รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
งบประมาณและความช่วยเหลือ
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
การเยี่ยมตรวจคุณภาพบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
รายงานผลการปฏิบัติงาน เดือนมกราคม 2559
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
ระบบบริการประชาชน กรมทางหลวงชนบท
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
SMS News Distribute Service
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเกษตร
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
การขึ้นทะเบียนและ ปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร ปี 2561
4.2.3แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้กำหนดให้โครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) เป็นโครงการสำคัญ (Flagship Project) ของกระทรวงฯ เพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในแต่ละพื้นที่โดยชู
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร ปี 2559 โครงการปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร ปี 2559 โดย นางพรรณาภา ปรัชญาศิริ ผู้อำนวยการกลุ่มทะเบียนเกษตรกร ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมส่งเสริมการเกษตร

บันทึกข้อมูลเข้าระบบ ทะเบียนเกษตรกร ขอขึ้นทะเบียนใหม่พร้อมแนบหลักฐานเอกสารสิทธิ์ เกษตรกรแจ้งยืนยัน ปรับปรุงข้อมูล 1.การขึ้นทะเบียน รายใหม่/แปลงใหม่ รายเดิม บันทึกข้อมูลเข้าระบบ พืชอื่นๆ เฉพาะพืชเศรษฐกิจสำคัญ ตรวจสอบพื้นที่จริง ติดประกาศรายชื่อ/ข้อมูล ปรับลด/เพิกถอนสิทธิ์และดำเนินคดีตามกฎหมาย คัดค้าน ไม่คัดค้าน ไม่ถูก ถูกต้อง 3.การนำไปใช้ประโยชน์ 2.พิมพ์สมุดทะเบียนเกษตรกร ข้อมูลในสมุดทะเบียนเกษตรกรจะใช้แสดงความเป็นตัวตนของเกษตรกรเท่านั้น  กรณีการขอใช้สิทธิการเข้าร่วมโครงการรัฐ จะต้องมีระบบการตรวจสอบข้อมูลและรับรองสิทธิ์การเข้าร่วมโครงการ  กำหนดให้มีคณะกรรมการตรวจสอบรับรองสิทธิ์ของเกษตรกร ซึ่งประกอบด้วยหน่วยงานต่างๆที่ไม่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานที่รับขึ้นทะเบียนเกษตรกร เพื่อความโปร่งใสของการทำงาน ข้อมูลพื้นฐาน ภาพถ่าย เลขประจำตัวประชาชน  ที่อยู่ เลขรหัสประจำบ้าน QR Code ลักษณะการประกอบอาชีพ สมาชิกในครัวเรือน (เลขประจำตัวประชาชน เพศ วันเดือน ปี เกิด การเป็นสมาชิกองค์กร) การผลิตการเกษตร  เนื้อที่ปลูก/เลี้ยง ชนิดพันธุ์  วันที่ปลูก/เลี้ยง วันเก็บเกี่ยว การถือครองที่ดิน เอกสารสิทธิ์ พื้นที่ พิกัดที่ตั้ง การถือครอง ตรวจเยี่ยม ให้ความรู้ สอบถามประเมินการใช้เทคโนโลยี MRCF

การเปลี่ยนแปลง เดิม ปัจจุบัน ยกเลิกทะเบียนข้อมูล ทพศ (พืชเศรษฐกิจสำคัญ ได้แก่ ข้าว มันสำปะหลัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์) รวมข้อมูลเดิมเข้าสู่ฐานทะเบียนเกษตรกร (ทบก) 2. ยกเลิก การพิมพ์รายชื่อเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ออกไปยืนยัน เปลี่ยนเป็น พิมพ์รายชื่อข้อมูลรายครัวเรือน นำไปปรับปรุงทุกพืช/กิจกรรม 3 ยกเลิก การพิมพ์ใบรับรอง ใช้สมุดทะเบียนเกษตรกร 4 บันทึก ชื่อ สกุล เลขประตำประชาขน และที่อยู่ ตามทะเบียนบ้าน ใช้บัตรประชาชน เสียบเข้าเครื่องอ่านบัตร ดึงข้อมูลมาจากสำนักทะเบียนราษฎร กระทรวงมหาดไทย เพิ่มที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้

เดิม ปัจจุบัน 5. บันทึกข้อมูล สมาชิกในครัวเรือน เลขประจำตัวประชาชน วัน เดือน ปีเกิด ไม่ต้องบันทึก ระบบดึงข้อมูลมาจากทะเบียนราษฏร์ 6.จัดเก็บข้อมูลพิกัดแปลงปลูก (ทราบที่ตั้ง ) จัดเก็บข้อมูลแปลงปลูก ในรูป shape file ( ทราบที่ตั้ง และขนาดเนื้อที่) 7 ตรวจสอบพื้นที่จริงโดยการเดินสำรวจ ใช้เครื่อง GPS วัด เพิ่มโปรแกรมตรวจสอบพื้นที่จากภาพถ่ายดาวเทียม ได้แก่ GISagro และ TAMIS 8 หน่วยรับขึ้นทะเบียน คือ สำนักงานเกษตรอำเภอ (882 แห่ง) เพิ่มหน่วยรับขึ้นทะเบียน ระดับตำบล มี อกม.เป็นผู้ช่วย 9พิมพ์ผลการขึ้นทะเบียน ทางสมุดทะเบียนเกษตรกร เพิ่ม ระบบ รายงานสารสนเทศ สำหรับผู้บริหาร พร้อมรายงานในรูปแบบแผนที่ 10 ข้อมูลข้าว แบ่งเป็น 2 รอบ นาปี/นาปรัง รอบการผลิต 12 เดือน เริ่มต้นเดือนพฤษภาคม ให้เกษตรกรแจ้งเพิ่มข้อมูลปลูกทุกครั้งที่มีการปลูกใหม่ในที่แปลงนั้น

เดิม ปัจจุบัน 11 มี แอปพลิเคชั่น เป็น M book 3 เรื่อง คือ การขึ้น/ปรับปรุงทะเบียนเกษตรกรปี 2559 การใช้ TAMIS การใช้ GISagro 12 เพิ่มเติมข้อมูล รายได้ หนี้สิน การใช้เครื่องจักรกลเกษตร และ ข้อมูลแหล่งน้ำ 13 เพิ่มเติมการเลี้ยงแมลงเศรษฐกิจ 14 เพิ่มเติม สภาพการทำการเกษตร (อินทรีย์ ยั่งยืน ฯลฯ) 15 เชื่อมโยงข้อมูลทะเบียนผู้เลี้ยงสัตว์ และทะเบียนผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ จัดพิมพ์ลงสมุดทะเบียนเกษตรกร

รายละเอียดเป้าหมาย/งบประมาณ รายการ จัดสรรให้ รายละเอียดเป้าหมาย/งบประมาณ 1 เตรียมการ/ประมวลผล/สรุปข้อมูล/ติดตามนิเทศ 1.1 ติดตามนิเทศ สสก. 50,000 – 70,000 บาท 1.2 อบรมจัดเก็บข้อมูล และวาดแปลงโดยระบบ GISagro และ TAMIS 1.2.1 สสก. จัดอบรมให้ สนง.กษอ. รวม 882 คน 2 วัน วันละ 1,300 บาท 1.2.2 สนง.กษอ. จัดอบรมให้ อกม. จัดเก็บข้อมูล วาดแปลง สนง.กษจ./สนง.กษอ. เป้าหมาย อกม. อกม. 1 คน จะรองรับครัวเรือน 500 ครัวเรือน หากใช้เวลาดำเนินงาน 50 วัน จะต้องจัดเก็บข้อมูลวันละ 10 ครัวเรือน/วัน/คน จัดสรรงบอบรม อกม รายละ 100 บาท

รายละเอียดเป้าหมาย/งบประมาณ รายการ จัดสรรให้ รายละเอียดเป้าหมาย/งบประมาณ 2 ปรับปรุงข้อมูล 2.1 เป้าหมายครัวเรือน   รวม 6,512,908 ครัวเรือน (ณ วันที่ 1 พ.ค. 59) 2.2 จัดพิมพ์แบบฟอร์ม สนง.กษจ./สนง.กษอ. ครัวเรือนละ 2 บาท 2.3 ดำเนินการปรับปรุงข้อมูล ครัวเรือนละ 5 บาท (เบิกจ่าย ก่อน 30 สิงหาคม 2559) 3 ตรวจสอบพื้นที่ วาดแปลง  3.1 เป้าหมายครัวเรือน ร้อยละ 10 ของครัวเรือนทั้งหมด คิดเป็น 650,000 ครัวเรือน 3.2 ดำเนินการตรวจสอบพื้นที่ วาดแปลง รายละ 10 บาท (แปลงใหม่ , แปลงไม่มีเอกสารสิทธิ์ , แปลงเช่า)

การนำไปใช้ประโยชน์อื่นๆ ผู้ใช้ข้อมูล ฐานข้อมูลเกษตรกร การปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร ข้อมูลในSmart Card 5 แสนฟาร์ม 6.5 ล้านครัวเรือน โปรแกรม GISAGRO เชื่อมโยงฐานข้อมูล โครงการช่วยเหลือของรัฐบาล 2.4 ล้านครัวเรือน ฐานข้อมูลสำรองในระบบCloud หน่วยงานอื่นๆ ฐานข้อมูลการบริหารจัดการด้านการเกษตร 1.2 ล้านครัวเรือน สถานการณ์การปลูกพืช Zoning สมุดทะเบียนเกษตรกร การวางแผนการผลิตพืชในเขตชลประทาน ข้อมูลพื้นฐาน ภาพถ่าย เลขประจำตัวประชาชน  ที่อยู่ เลขรหัสประจำบ้าน QR Code ลักษณะการประกอบอาชีพ รายได้ในภาคฯ สมาชิกในครัวเรือน (การเป็นสมาชิกองค์กร รายได้ หนี้สินนอกภาค) การใช้เครื่องจักรกล การถือครองที่ดิน เอกสารสิทธิ์ พื้นที่ พิกัดที่ตั้ง การถือครอง การผลิตการเกษตร  เนื้อที่ปลูก/เลี้ยง ชนิดพันธุ์  วันที่ปลูก/เลี้ยง วันเก็บเกี่ยว การใช้แหล่งน้ำ การนำไปใช้ประโยชน์อื่นๆ ข้อมูลสารสนเทศการเพาะปลูก การถือครองที่ดิน ช่วงเวลาเก็บเกี่ยวผลผลิต การได้รับประโยชน์โครงการของรัฐ การเกิดภัยพิบัติ การประกันภัยพืชผล บอกความเป็นตัวตน