การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
Advertisements

ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
องค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มภาษาไทย ภาษาไทยเป็นสมบัติของชาติ ที่ควรค่าแก่การเรียนรู้ ความสำคัญ.
โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 15 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย เขต 3
มาตรฐานครูสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย
กระบวนการของการอธิบาย
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
Collaborative problem solving
“ การพัฒนาระบบการวัดและ ประเมินผล เพื่อ พัฒนาคุณภาพการศึกษา ” การอบรมเชิงปฏิบัติการ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
แนวทาง การวัดและประเมินผล “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
ความพึงพอใจต่อการบริหาร จัดการโครงการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงด้วยวิธีการ เรียนรู้แบบศึกษาดูงาน บริหารธุรกิจสาขาการจัดการ / การตลาด ภาคเรียนที่ 2/2556.
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐาน และตัวชี้วัด การพัฒนาครูและศึกษานิเทศก์ด้านการสร้าง เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย ตามแนวการทดสอบนานาชาติ (PISA)
การเลือกใช้เกมหรือ กิจกรรม ในการฝึกอบรม. การฝึกอบรม การเปลี่ยนแปลงพัฒนาคนใน ด้าน ความรู้ (Knowledge) ความเข้าใจ (Understand) ทักษะ (Skill) ทัศนคติ (Attitude)
โรงเรียน มาตรฐานสากล หมายถึง โรงเรียนที่พัฒนา หลักสูตรและจัดการเรียน การสอนอย่างมีคุณภาพ เทียบเคียงมาตรฐานสากล รวมทั้งมีการบริหารจัดการ ด้วยระบบคุณภาพ.
การจัดกิจกรรมตามแนวทาง การพัฒนาและประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. แจกโรงเรียนทั่วประเทศ ปี ๒๕๕๔ เป็นแนวทางพัฒนาและประเมินความสามารถ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ผลการประเมินระดับชาติและ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การเรียนรู้เชิงรุก Active Learning ดร.ไพจิตร สดวกการ.
การออกแบบการวัดและประเมินผลในชั้นเรียน
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญ ของการสร้างเครื่องมือประเมินภาคปฏิบัติ
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
หมวดศึกษาทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ผู้สอน : อ.สำราญ ผลดี
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๒ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต Dr. Bualak Petchngam.
Aj.Dr. Bualak Naksongkaew
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
การออกแบบ แผนการสอน (มคอ.3) แบบ COPYRIGHT BY CHITTAKHUP.
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การวิเคราะห์ มาตรฐานและตัวชี้วัด เพื่อ กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การสอนควบคู่กับการเรียน
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญ ของการสร้างเครื่องมือประเมินภาคปฏิบัติ
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
ISC1102 พื้นฐานทางระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.

ในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน องค์ประกอบสำคัญ ในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน

การจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน การประเมินอิงมาตรฐานการเรียนรู้ O (objective) มาตรฐานการเรียนรู้ สอดคล้อง สอดคล้อง L (Learning) การจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน E (Evaluation) การประเมินอิงมาตรฐานการเรียนรู้ สอดคล้อง

มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร กลุ่มสาระการเรียนรู้ ตัวชี้วัด1 ตัวชี้วัด2 หลักสูตร กลุ่มสาระการเรียนรู้ มาตรฐาน1 ตัวชี้วัด3 ตัวชี้วัด4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ มาตรฐาน2 มาตรฐาน3

มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร ตัวชี้วัด1 ความรู้ (knowledge: K) หรือ พุทธิพิสัย (Cognitive Domain) ตัวชี้วัด2 ทักษะกระบวนการ (process skill: P) หรือทักษะพิสัย (Psychomotor D.) หลักสูตร มาตรฐาน1 ตัวชี้วัด3 ตัวชี้วัด4 คุณลักษณะ (Attribute: A) หรือ จิตพิสัย (Affective Domain) มาตรฐาน2 มาตรฐาน3

ตัวชี้วัด เปรียบเทียบและเรียงลำดับเศษส่วนและทศนิยมไม่เกินสามตำแหน่ง ตัวชี้วัด เปรียบเทียบและเรียงลำดับเศษส่วนและทศนิยมไม่เกินสามตำแหน่ง คำสำคัญ (key word) หรือ พฤติกรรมที่ต้องการแสดง สถานการณ์ หรือ บริบทเนื้อหา

มฐ. ท 1.1ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน Process & Skill Knowledge Attribute อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน จับใจความสำคัญจากเรื่องที่อ่าน ระบุเหตุและผล และข้อเท็จจริงกับข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน .............. มีมารยาทในการอ่าน

ทดลองและอธิบาย น้ำ แสง เป็นปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของพืช มาตรฐาน ว ๑. ๑ เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทำงานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในการดำรงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต ทดลองและอธิบาย น้ำ แสง เป็นปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของพืช Process & Skill Knowledge วิทย์ ป.2

Knowledge Process & Skill Attribute มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล Knowledge Process & Skill ระบุและเล่นการละเล่นพื้นบ้าน เชื่อมโยงสิ่งที่พบเห็นในการละเล่นพื้นบ้านกับสิ่งที่พบเห็นในการดำรงชีวิตของคนไทย ระบุสิ่งที่ชื่นชอบและภาคภูมิใจในการละเล่นพื้นบ้าน Attribute นาฏศิลป์ ป.2

การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดเพื่อการออกแบบการเรียนรู้

ของมาตรฐานและตัวชี้วัด การจัด การเรียนรู้ ในแต่ละ หน่วยการเรียนรู้ ลักษณะพฤติกรรม ของมาตรฐานและตัวชี้วัด - ความรู้ - ทักษะกระบวนการ - คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สอดคล้อง

กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ความรู้หรือความสามารถ ทางสมอง (Knowledge) ทักษะกระบวนการ (Process Skill) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attribute) กิจกรรมบรรยาย สาธิต การศึกษาค้นคว้า ใบงาน กิจกรรมฝึกประสบการณ์ที่เน้นประสบการณ์จริง กิจกรรมฝึกภาคปฏิบัติ

มาตรฐานและตัวชี้วัดกับการจัดการเรียนรู้ ตามหลักสูตรฯ หน่วยที่ 1 K P A หน่วยที่ 2 หน่วยที่... หน่วยที่ 3 จุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม ฝึกปฏิบัติ พัฒนาจาก ประสบการณ์จริง บรรยาย สาธิต

การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดเพื่อการวัดและประเมินผล ในชั้นเรียน

การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร (เพื่อออกแบบวิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้) มฐ. ท 1.1ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ความรู้ (Knowledge) ทักษะกระบวนการ (Process Skill) คุณลักษณะ พึงประสงค์ (Attribute) อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน / จับใจความสำคัญจากเรื่องที่อ่าน มีมารยาทในการอ่าน แบบทดสอบ แบบประเมินภาคปฏิบัติ) แบบสังเกตพฤติกรรม

วิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียน (แบบทดสอบ) ความรู้หรือความสามารถ ทางสมอง (Knowledge) องค์ความรู้ตามตัวชี้วัด ถาม ทักษะกระบวนการ (Process Skill) ขั้นตอน/วิธีการ/หลักการ/กระบวนการตามตัวชี้วัด ถาม พฤติกรรมที่แสดงออก ตามตัวชี้วัด คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attribute) ถาม

การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร (เพื่อกำหนดช่วงเวลาในการวัดและประเมินผล) มฐ. ท 1.1ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ความรู้ (Knowledge) ทักษะกระบวนการ (Process Skill) คุณลักษณะ พึงประสงค์ (Attribute) อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน / จับใจความสำคัญจากเรื่องที่อ่าน มีมารยาทในการอ่าน ประเมินระหว่างภาค/ กลางภาค/ปลายภาค/ปลายปี ประเมินระหว่างเรียน ประเมินตลอดภาคเรียน/ปี

รูปแบบข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ - แบบเลือกตอบ - แบบเขียนตอบ

เลือกรูปแบบข้อสอบที่เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด ตัวชี้วัดที่เป็น Knowledge เลือกตอบ เขียนตอบ แบบจำกัดคำตอบหรือตอบสั้น แบบขยายคำตอบหรือตอบอย่างอิสระ คำตอบเดียว หลายคำตอบ เชิงซ้อน กลุ่มคำตอบสัมพันธ์ วิเคราะห์ระดับของพฤติกรรม

ระดับพฤติกรรมทางสติปัญญาของบลูม(ปรับปรุงใหม่) Bloom Taxonomy’s Revised การจำ การเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การประเมินค่า การ สร้างสรรค์ ดั้งเดิม รู้จำ เข้าใจ นำไปใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า

(Higher order Thinking) การคิดขั้นสูง (Higher order Thinking) BLOOM (ปรับปรุงใหม่) การจำ การเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การประเมินค่า การ สร้างสรรค์ การคิดขั้นพื้นฐาน (Lower order Thinking)

ผู้เรียนสามารถจำ บอกซ้ำได้และบอกความรู้ที่ได้เรียนรู้แล้วได้ การจำ (Remembering) ผู้เรียนสามารถจำ บอกซ้ำได้และบอกความรู้ที่ได้เรียนรู้แล้วได้

การเข้าใจ (Understanding) ผู้เรียนอธิบายความหมายของสารสนเทศ โดยการแปลความ ตีความหมาย และขยายความ สิ่งที่เคยเรียน

การประยุกต์ใช้ (Applying) นักเรียนใช้ความรู้และประสบการณ์จากที่เคยเรียนมาก่อนไปใช้ในการ ลงมือปฏิบัติหรือแก้ไขปัญหา การจัดการ การคำนวณ การคาดคะเนเหตุการณ์

การวิเคราะห์ (Analysing) ผู้เรียนย่อยความรู้หรือข้อมูลสารสนเทศออกเป็นส่วนย่อย ๆ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลสารสนเทศนั้นอย่างลึกซึ้ง

การประเมินค่า (evaluating) ผู้เรียนสามารถตรวจสอบ อภิปรายตัดสินใจ วิพากษ์วิจารณ์ คัดเลือก หรือประเมินค่าอย่างสมเหตุสมผลและน่าเชื่อถือ

การสร้างสรรค์ (Creating) ผู้เรียนสามารถออกแบบ (Design) วางแผน ผลิต ประดิษฐ์ พยากรณ์ ทำนาย สร้างสูตร จินตนาการสิ่งใหม่ๆ โดยใช้ประสบการณ์เดิมเป็นฐานคิด

ข้อสอบเขียนตอบ BLOOM (ปรับปรุงใหม่) การจำ การเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การประเมินค่า การ สร้างสรรค์ ข้อสอบเลือกตอบ