การจัดจำหน่ายวัสดุ
ความหมายของการจัดจำหน่ายวัสดุ เป็นคำที่ใช้อยู่ในวงการผู้ผลิต การเคลื่อนย้ายวัตถุดิบจากแหล่งต่าง ๆ มาสู่โรงงาน เป็นคำที่ใช้อยู่ในวงการผู้ประกอบการค้า การเคลื่อนย้ายสินค้าจากโรงงานไปสู่ผู้บริโภค
กิจกรรมด้านการจัดจำหน่าย การขนส่ง การเคลื่อนย้ายวัสดุ การคลังสินค้า การจัดการสินค้าคงเหลือ การจัดการวัสดุอุปกรณ์ การเก็บรักษา การเลือกทำเลที่ตั้งคลังสินค้า การบรรจุภัณฑ์ การดำเนินคำสั่งซื้อ การให้บริการลูกค้า
การจัดจำหน่ายวัสดุ มีความหมายถึงการขนส่ง และการเคลื่อนย้ายวัสดุ มีความหมายถึงการขนส่ง และการเคลื่อนย้ายวัสดุ วัตถุดิบ จากแหล่งผู้ขายถึงกิจการผู้ผลิต วัตถุดิบ ภายในกิจการผู้ผลิต เพื่อใช้ในการผลิตและการดำเนินงาน สินค้าสำเร็จรูป จากกิจการผู้ผลิตไปยังผู้บริโภค
ผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดจำหน่ายวัสดุ ความสัมพันธ์ในแนวดิ่ง ความสัมพันธ์ไปข้างหลัง คือ กิจการกับผู้ขายวัตถุดิบ ความสัมพันธ์ไปข้างหน้า คือ กิจการกับผู้บริโภค ความสัมพันธ์ในแนวนอน กิจการกับคู่แข่งขันโดยตรง กิจการกับวัสดุทดแทน
Value Net ผู้บริโภค คู่แข่งขัน กิจการ วัสดุทดแทน ผู้ขายวัตถุดิบ
ความสำคัญของการจัดจำหน่ายวัสดุ อรรถประโยชน์ด้านรูปร่าง อรรถประโยชน์ด้านสถานที่ อรรถประโยชน์ด้านเวลา อรรถประโยชน์ด้านการเป็นเจ้าของ
ข้อพิจารณาสำหรับการจัดจำหน่ายวัสดุ ค่าใช้จ่ายในการจัดจำหน่ายเพิ่มสูงขึ้น การแข่งขันในการประกอบการที่เพิ่มขึ้น เทคโนโลยีเกี่ยวกับการจัดจำหน่ายที่พัฒนาขึ้น ประสิทธิภาพของการจัดจำหน่ายมีผลกระทบโดยตรงต่อรายได้ของกิจการ
ขอบเขตของการจัดจำหน่ายวัสดุ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด การจัดซื้อวัตถุดิบ การขายสินค้าและบริการ แหล่งผู้ขาย ลูกค้าหรือผู้บริโภค การคาดคะเนยอดขาย การวางแผนการผลิต ขนส่ง ตรวจรับวัตถุดิบ ควบคุมวัตถุดิบ คลัง เบิกวัตถุดิบไปผลิต etc แปรสภาพเป็นสินค้า ขนส่ง เคลื่อนย้ายสินค้า สินค้าคงคลัง ขนส่งไปยังผู้บริโภค etc
ภารกิจของการจัดจำหน่ายวัสดุ การคาดคะเนยอดขาย การวางแผนการจัดจำหน่าย การวางแผนการผลิต การจัดหาวัตถุดิบ การขนส่งวัตถุดิบเข้าโรงงาน การรับวัตถุดิบ
ภารกิจของการจัดจำหน่ายวัสดุ การควบคุมสินค้าคงเหลือ การดำเนินการสั่งซื้อ การคลังวัสดุในโรงงาน การขนส่ง คลังสินค้าภาคสนาม การบริการลูกค้า
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดจำหน่ายวัสดุ การประเมินผลงานการจัดจำหน่ายวัสดุ นำผลการจัดจำหน่ายที่ทำได้จริงมาเปรียบเทียบกับเกณฑ์หรือมาตรฐานที่ได้กำหนดไว้ การประเมินผลการจัดจำหน่ายมี 2 ระดับ คือ การประเมินผลการจัดจำหน่ายในระดับหน่วยงาน การประเมินผลการจัดจำหน่ายในระดับบุคคล
การประเมินผลการจัดจำหน่ายวัสดุในระดับหน่วยงาน การประเมินผลเชิงปริมาณ การประเมินผลเชิงคุณภาพ
การประเมินผลการจัดจำหน่ายวัสดุในระดับบุคคล การวิเคราะห์งาน การพิจารณาหน้าที่ตามความรับผิดชอบ กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานเชิงปริมาณหรือคุณภาพ
ประโยชน์ของการประเมินผลการจัดจำหน่าย ช่วยปรับปรุงประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้านการจัดจำหน่าย ช่วยกระตุ้นการปฏิบัติงานให้ดีขึ้น ช่วยในการควบคุมการจัดการด้านจัดจำหน่ายวัสดุ
ประสิทธิภาพ คือ เกณฑ์ที่ใช้วัดผลสำเร็จของงาน คือ เกณฑ์ที่ใช้วัดผลสำเร็จของงาน ประสิทธิภาพ = ผลผลิตที่ได้ ปัจจัยนำเข้า
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพ สภาวะแวดล้อมของการจัดจำหน่ายวัสดุ โครงสร้างของช่องทางการจัดจำหน่ายวัสดุ นโยบายการจัดจำหน่ายวัสดุ
งานที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนย้ายวัสดุ การรับ การจัดเก็บรักษา การขนส่งเข้าแผนกการผลิต การส่งของ การจัดการบรรทุกของ
วัตถุประสงค์ของการเคลื่อนย้ายวัสดุ เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการเคลื่อนย้ายวัสดุ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานด้านต่างๆ เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมของสถานที่ทำงาน ปรับปรุงระบบการจัดจำหน่าย
การจัดประเภทของวัสดุที่ทำการเคลื่อนย้าย วัสดุที่มีการบรรจุเป็นหน่วย วัสดุประเภทเทกอง วัสดุจำพวกชิ้นส่วน
การเคลื่อนย้ายวัสดุซ้ำสอง คือ การเคลื่อนย้ายวัสดุหลายครั้งเกินความจำเป็น สาเหตุที่ต้องมีการขนส่งวัสดุซ้ำสอง ขาดระบบการจัดการที่ดีในคลังวัสดุ ขาดการสื่อสารระหว่างแผนกหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ใช้อุปกรณ์เคลื่อนย้ายที่ไม่เหมาะสมกับงาน ขาดแคลนเนื้อที่การเก็บรักษาวัสดุ
อุปกรณ์ในการเคลื่อนย้ายวัสดุ ปัจจัยที่ต้องพิจารณาในการเลือกใช้อุปกรณ์การเคลื่อนย้ายวัสดุ ตำแหน่งที่ตั้งของคลังพัสดุ การเคลื่อนย้ายวัสดุด้วยมือ วิธีการบรรจุภัณฑ์ การเคลื่อนย้ายที่ประหยัด
อุปกรณ์ในการเคลื่อนย้ายวัสดุ ปัจจัยที่ต้องพิจารณาในการเลือกใช้อุปกรณ์การเคลื่อนย้ายวัสดุ การเลือกใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสม การวางผังคลังพัสดุ การฝึกอบรมพนักงานที่เกี่ยวข้อง
ประเภทของอุปกรณ์เคลื่อนย้ายพัสดุ อุปกรณ์ที่มีกำลังขับเคลื่อนในตัว ข้อดี สามารถยกของหนักที่เกินความสามารถคนได้ สามารถใช้งานได้ทุกสภาพแวดล้อม ได้รับการออกแบบที่เผชิญกับอันตราย สามารถยกวัสดุให้ขึ้นสู่ระดับสูง
ประเภทของอุปกรณ์เคลื่อนย้ายพัสดุ อุปกรณ์ที่มีกำลังขับเคลื่อนในตัว ข้อเสีย ราคาแพง ค่าใช้จ่ายสูง ถ้าอุปกรณ์เสียจะทำให้งานหยุดชะงัก
ประเภทของอุปกรณ์เคลื่อนย้ายพัสดุ อุปกรณ์ที่ไม่มีกำลังขับเคลื่อนในตัว ข้อดี สามารถจัดหาได้ในราคาถูก ใช้ได้ในบริเวณที่มีเนื้อที่จำกัด เหมาะสมกับโรงงานขนาดเล็ก ค่าซ่อมแซมและบำรุงรักษาต่ำ
ประเภทของอุปกรณ์เคลื่อนย้ายพัสดุ อุปกรณ์ที่ไม่มีกำลังขับเคลื่อนในตัว ข้อเสีย ไม่เหมาะสมกับโรงงานขนาดใหญ่ ความปลอดภัยมีน้อย ไม่เหมาะสมกับบรรจุภัณฑ์สมัยใหม่ ไม่สามารถใช้กับวัสดุบนชั้นสูงๆ ได้
อุบัติเหตุที่เกิดจากการเคลื่อนย้ายวัสดุและการป้องกัน ปัจจัยที่ก่อให้เกิดอุบัติเหตุ เกิดจากบุคคลขาดการศึกษา เกิดจากอุปกรณ์ที่ใช้มีความชำรุดบกพร่อง เกิดจากสภาพของวัสดุที่เคลื่อนย้าย เกิดจากปฏิบัติไม่ถูกวิธี เกิดจากสภาพแวดล้อมของโรงงานไม่ดี
ผลที่เกิดจากอุบัติเหตุ ทำให้วัสดุเกิดการชำรุดเสียหาย ทำให้กระบวนการผลิตหยุดชะงัก ขวัญของคนงานต่ำลง สูญเสียเวลา เสียค่าใช้จ่าย
แนวทางในการป้องกันอุบัติเหตุ วิเคราะห์หาสาเหตุและแนวทางป้องกัน สร้างความสนใจให้กับพนักงานในการป้องกัน มีการสอนงานเพื่อความปลอดภัย ปรับปรุงสภาพแวดล้อมภายในโรงงาน
การขนส่ง คือ กิจกรรมในการขนย้ายวัสดุ สิ่งของ สิ่งมีชีวิตหรือตัวบุคคลจากสถานที่แห่งหนึ่งไปยังสถานที่อีกแห่งหนึ่ง โดยมีการใช้พาหนะ หรืออุปกรณ์ในการเคลื่อนย้าย Inbound Transportation Outbound Transportation
ความสำคัญของการขนส่ง ทำให้เกิดการเพิ่มมูลค่า (Value added) สำหรับการค้าระหว่างประเทศ สำคัญต่อเศรษฐกิจระดับประเทศ ส่งผลต่อต้นทุนและการบริการของกิจการ
หน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการขนส่ง บริการการขนส่งสาธารณะ หน่วยขนส่งของตนเอง วิธีผสม
หน้าที่ของผู้จัดการขนส่ง เลือกรูปแบบการบริการขนส่ง เลือกเส้นทาง คำนวณหาอัตราค่าขนส่ง กำหนดวิธีการ ขนาดและปริมาณของวัสดุ ดำเนินการเกี่ยวกับเอกสารการขนส่ง เป็นต้น
ประเภทของการขนส่ง การขนส่งทางรถไฟ ประเภทห่อวัตถุ ประเภทเหมาคัน
การขนส่งทางรถไฟ ผลดี ประหยัดสำหรับการขนส่งทางไกล ปลอดภัย มีปริมาณและประเภทของรถให้เลือกหลายแบบ มีตารางการเดินรถที่แน่นอน
การขนส่งทางรถไฟ ผลเสีย บริการค่อนข้างช้า ต้องใช้การขนส่งชนิดอื่นเข้าช่วย บรรจุภัณฑ์ต้องเข้มแข็ง สินค้าอาจถูกลักขโมยได้
การขนส่งทางรถยนต์บรรทุก ผลดี ให้บริการได้กว้างขวาง มีหลายประเภท ค่าระวางสำหรับการขนส่งระยะสั้นจะต่ำ ราคาของรถบรรทุกไม่แพงมากนัก สามารถเรียกใช้บริการได้ง่าย
การขนส่งทางรถยนต์บรรทุก ผลเสีย ไม่เหมาะสมสำหรับการขนส่งระยะไกล ปริมาณบรรทุกแต่ละเที่ยวได้น้อย ต้องขนลงทันทีเมื่อของมาถึง
การขนส่งทางเรือ ผลดี ค่าระวางถูกที่สุด สามารถใช้ขนส่งรวมกับประเภทอื่นได้ ขนถ่ายได้ง่าย
การขนส่งทางเรือ ผลเสีย การขนส่งล่าช้า ระยะทางขนส่งสั้น จะต้องใช้เครื่องมือขนถ่ายชนิดพิเศษ
การขนส่งทางเครื่องบิน ผลดี รวดเร็ว สามารถไปในที่ที่การขนส่งประเภทอื่นเข้าไม่ถึง เหมาะกับของที่เสียหายง่าย ประหยัดค่าใช้จ่ายในการหีบห่อและค่าประกัน
การขนส่งทางเครื่องบิน ผลเสีย ค่าระวางสูง ให้บริการได้จำกัด ต้องใช้การขนส่งประเภทอื่นเข้าช่วย อาจต้องเกิดการล่าช้าอย่างคาดไม่ถึง มีข้อจำกัดด้านการขนส่ง
การขนส่งทางท่อ ผลดี ค่าขนส่งถูก สินค้ามีความปลอดภัยสูง ไม่ต้องบรรจุหีบห่อ ขนส่งได้ 24 ชั่วโมง
การขนส่งทางท่อ ผลเสีย ใช้ได้กับการขนส่งบางชนิดเท่านั้น ต้องมีการขนส่งประเภทอื่นเข้าช่วย ขาดความยืดหยุ่น
วิธีการขนส่งแบบผสมโดยใช้ตู้สินค้า แบบ Piggy Back แบบ Fishy Back แบบ Birdy Back
การเลือกใช้การขนส่งที่เหมาะสมที่สุด เกณฑ์ในการตัดสินใจเลือกประเภทการขนส่ง คือ ความรวดเร็ว ความสมบูรณ์ของบริการ ความไว้ใจได้ในเรื่องของเวลา
การเลือกใช้การขนส่งที่เหมาะสมที่สุด เกณฑ์ในการตัดสินใจเลือกประเภทการขนส่ง คือ ความสามารถในการให้บริการขนส่ง ความสม่ำเสมอในบริการ ค่าระวาง ประเภทของยานพาหนะ
ค่าระวาง คือ ค่าของบริการที่ผู้ใช้บริการขนส่งจะต้องจ่ายให้แก่ผู้ขนส่ง คือ ค่าของบริการที่ผู้ใช้บริการขนส่งจะต้องจ่ายให้แก่ผู้ขนส่ง ในแง่ของผู้ใช้บริการ คือ ต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายของผู้ใช้บริการ ในแง่ของผู้ขนส่ง คือ ต้นทุนของผู้ประกอบการรวมกับกำไรที่ต้องการ
การกำหนดค่าระวาง จะต้องคำนึงถึงปัจจัย ดังต่อไปนี้ มูลค่าของสินค้า จะต้องคำนึงถึงปัจจัย ดังต่อไปนี้ มูลค่าของสินค้า ต้นทุนของการประกอบการขนส่ง สภาพของการแข่งขัน ระเบียบข้อบังคับของรัฐบาล ปัจจัยอื่นๆ
ชนิดของค่าระวาง ค่าระวางตามระยะทาง ค่าธรรมเนียมที่เรียกเก็บเพิ่ม
ความเสียหายที่เกิดจากการขนส่ง ผู้ประกอบการต้องรับผิดชอบในกรณี ดังต่อไปนี้ การลำเลียงขนส่งไม่เหมาะสม เกิดจากการลักขโมย เกิดจากความล่าช้า