การแถลงข่าวการค้าระหว่างประเทศของไทย เดือนมกราคม 2559 การแถลงข่าวการค้าระหว่างประเทศของไทย เดือนมกราคม 2559 วันพฤหัสบดีที่ 25 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 10.30 น. ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 6 กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
IMF ปรับลดคาดการณ์เศรษฐกิจโลกเหลือ 3.4 IMF World Economic Outlook Update/January 2016 -1.0 -0.4 3.4 -0.2 1.0 0.0 6.3 0.0 1.7 +0.1 2.6 -0.2 7.5 0.0 Oli Price -3.5 -2.5 -17.6 -15.2 ภาพรวมเศรษฐกิจโลกและตลาดคู่ค้าหลักของไทยในปัจจุบันฟื้นตัวช้ากว่าที่คาดการณ์ไว้ มีผลให้กำลังซื้อในตลาดโลกลดลง โดยเฉพาะสหภาพยุโรป จีน ญี่ปุ่นและอาเซียน ด้วยเหตุนี้ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) จึงมีการทบทวนตัวเลขคาดการณ์ทางเศรษฐกิจโลก โดยปรับลดลงจากที่คาดไว้ว่าเศรษฐกิจโลกจะขยายตัวที่ร้อยละ 3.8 เป็นขยายตัวที่ร้อยละ 3.5 ในรายงานคาดการณ์เดือนมกราคม 2558 โดย IMF ปรับลดคาดการณ์อัตราขยายตัวของกลุ่มประเทศยูโรโซน จีน ญี่ปุ่น อินเดีย อาเซียน ขณะที่มีเพียงสหรัฐอเมริกาที่มีแนวโน้มฟื้นตัวอย่างชัดเจน คาดการณ์ Real GDP 2015 Growth(%YoY) โดย IMF มกราคม 59 IMF ปรับคาดการณ์จากรายงานเดือนตุลาคม 58 4.8 -0.1 Ministry of Commerce 2
ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกหดตัวสูงต่อเนื่อง ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกปี 2558 อยู่ที่ 51.23 ดอลลาร์ต่อบาร์เรลลดลงร้อยละ -47.0 จากปี 2557 ขณะที่มกราคม 2559 อยู่ที่ 27.25 ดอลลาร์ต่อบาร์เรลลดลงร้อยละ -41.2 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อน มูลค่าส่งออกและนำเข้า(ล้านเหรียญ) ราคาน้ำมันดิบ (USD/บาร์เรล) 46.34 27.25 ราคาน้ำมันเฉลี่ยของปี 2557 (2014) เท่ากับ 96.66 USD ต่อบาร์เรล ราคาน้ำมันเฉลี่ยของปี 2558 (2015) เท่ากับ 51.23 USD ต่อบาร์เรล 948 381 Ministry of Commerce
ราคาสินค้าเกษตรสำคัญ ปี 2006-2015 (USD/Ton) ที่มา มูลค่าการค้าโลกหารด้วยปริมาณ โดย : สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า (สนค.) ที่มา : ราคาสินค้าเกษตรไทย (คน. สศก. กกร.) ราคาสินค้าเกษตรโลก (คำนวณจาก GTA)
ค่าเงินบาท แม้ว่าค่าเงินบาทตลอดปี 2558 จะมีทิศทางอ่อนค่าแต่ยังแข็งค่าเมื่อเทียบกับคู่ค้า ขณะที่มกราคม 59 เริ่มกลับมาแข็งค่าแต่เป็นในทิศทางเดียวกันกับค่าเงินของประเทศคู่ค้า เปรียบเทียบค่าเงินบาทกับสกุลต่างๆ ปี 2558 และมกราคม ปี 2559 เทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ค่าเงินบาทเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ค่าเงินบาทในเดือนกรกฎาคม 2558 เฉลี่ยอยู่ที่ 32.5 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯแข็งค่าขึ้นเล็กน้อยจากเดือนก่อนหน้า ที่ร้อยละ 0.4 ขณะที่แนวโน้มเดือนกรกฎาคม ค่าเงินบาทมีแนวโน้มอ่อนค่า หลังจากกลังจากคณะกรรมการนโยบายการเงินมีมติลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ลงร้อยละ 0.25 จากระดับร้อยละ 1.75 เป็นร้อยละ 1.50 ในการประชุมครั้งที่ 3/2558 เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2558 ส่งผลให้ค่าเงินบาทอ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐอย่างต่อเนื่องโดย ณ วันที่ 22 กรกฎาคม 2558 ค่าเงินบาทเดือนกรกฎาคมมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 33.5 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับ เดือนกรกฎาคมที่ร้อยละ 3.0 ซึ่งคาดว่าจะส่งผลช่วยหนุนให้การส่งออกปรับตัวในทิศทางดีขึ้นในระยะต่อไป ส่งผลให้ค่าเงินบาทเมื่อเทียบกับสกุลเงินต่างๆมีแนวโน้มอ่อนค่าลงในเดือนกรกฎาคม 2558 ค่าเงินบาทเทียบกับดอลลาร์สหรัฐเดือนกรกฎาคม 2558อ่อนค่าร้อยละ 3.0 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อน ขณะที่ช่วง7 เดือนม.ค.-ก.ค.2558 ค่าเงินบาทอ่อนค่าร้อยละ 0.1เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ค่าเงินบาทเทียบกับค่าเงินยูโรโซน เยน และริงกิต เดือนกรกฎาคม 2558 มีแนวโน้มแข็งค่าที่ร้อยละ -15.6 , -12.6 และ -7.5 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อนตามลำดับ แข็งค่าน้อยลง โดยช่วง7 เดือนม.ค.-ก.ค.2558 ค่าเงินบาทแข็งค่าร้อยละ -18.6 , -12.6 และ -9.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ตามลำดับ ค่าเงินบาทเทียบกับค่าเงินยูโรโซน หยวน และด่องเดือนกรกฎาคม 2558 มีแนวโน้มกลับมาอ่อนค่าที่ร้อยละ 3.5 และ 2.1 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อนตามลำดับ ขณะที่ช่วง7 เดือนม.ค.-ก.ค.2558 ค่าเงินบาทแข็งค่าร้อยละ -1.5 และ -3.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ตามลำดับ ผลกระทบจากการอ่อนค่าของเงินบาทต่อการนำเข้าและการส่งออกของไทย ด้านบวก กระตุ้นให้การส่งออกเติบโตขึ้น โดยเฉพาะการส่งออกสินค้าที่ผลิตในประเทศและใช้วัตถุดิบภายในประเทศ (เช่น สินค้าเกษตร (ยางพารา ข้าว มันสำปะหลัง น้ำตาล)) รายได้จากการส่งออกเพิ่มขึ้น กระตุ้นการท่องเที่ยวในประเทศ กระตุ้นให้นักลงทุนไทยไปลงทุนในต่างประเทศมากขึ้น ด้านลบ ผู้ประกอบการที่นำเข้าสินค้าจากต่างประเทศ (สินค้าอุปโภคบริโภค เครื่องจักร เหล็ก วัตถุดิบ พลังงาน เคมีภัณฑ์) ต้องนำเข้าสินค้าที่มีราคาแพงขึ้น และส่งผลให้ต้นทุนการผลิตสูงขึ้นด้วย ผู้ประกอบการธุรกิจที่ต้องกู้ยืมเงินตราต่างประเทศ ต้องชำระหนี้เป็นจำนวนที่สูงขึ้น กลุ่มอุตสาหกรรมที่มีอัตรากำไรขั้นต้นต่ำ (เช่น กลุ่มพลังงาน) อาจผลักภาระไปให้ผู้บริโภค โดยการขึ้นราคาสินค้า อย่างไรก็ตาม ในขณะนี้ ผลกระทบโดยรวมจากการอ่อนค่าของเงินบาทต่อการนำเข้าและการส่งออกของไทยยังไม่ชัดเจน โดยสินค้าที่ใช้วัตถุดิบในประเทศน้อย จะได้รับผลกระทบจากการนำเข้าวัตถุดิบในราคาที่แพงขึ้น ในขณะสินค้าที่ผลิตในประเทศและใช้วัตถุดิบในประเทศจะได้รับประโยชน์จากการอ่อนค่าของเงินบาทมากกว่า นอกจากนี้ ค่าเงินบาทยังมีความผันผวนสูง ผู้ประกอบการจึงอาจพิจารณาทำประกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนไว้ด้วย 24 ก.พ.58 หมายเหตุ : อัตราขยายตัว (%YoY) (-)เงินบาทแข็งค่า (+)เงินบาทอ่อนค่า ที่มา ธนาคารแห่งประเทศไทย 5 Ministry of Commerce
สถานการณ์นำเข้ารวมของประเทศต่างๆ ยังคงหดตัวลดลงอยู่ในระดับต่ำ การนำเข้าของประเทศคู่ค้าสำคัญทุกประเทศ (สหรัฐฯ ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น จีน สหภาพยุโรป (27) คิดเป็นร้อยละ 62 ของมูลค่าการนำเข้าโลก) ยังคงหดตัวลดลงอยู่ในระดับต่ำ ที่มา: World Trade Atlas Ministry of Commerce
สถานการณ์นำเข้ารวมของประเทศต่างๆ ม.ค. – ธ.ค. 2558 ประเทศคู่ค้าทุกประเทศยังคงหดตัว (อัตราการขยายตัว : %YoY) หมายเหตุ: *ข้อมูล 11 เดือน **ข้อมูล 9 เดือน ที่มา: Global Trade Atlas โดยการคำนวณของสำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า Ministry of Commerce
เศรษฐกิจโลกมีแนวโน้มพึ่งพาการนำเข้าลดลง ตั้งแต่ปี 2555 อัตราขยายตัวการนำเข้าโลกมีทิศทางขยายตัวต่ำกว่า GDP โลก สะท้อนว่าโลกมีการพึ่งพาการนำเข้าลดลง เปรียบเทียบอัตราขยายตัวมูลค่าการค้าโลกและ GPD ของโลก กับการส่งออกไทย (หน่วย : %YoY) ภาพรวมเศรษฐกิจโลกและตลาดคู่ค้าหลักของไทยในปัจจุบันฟื้นตัวช้ากว่าที่คาดการณ์ไว้ มีผลให้กำลังซื้อในตลาดโลกลดลง โดยเฉพาะสหภาพยุโรป จีน ญี่ปุ่นและอาเซียน ด้วยเหตุนี้ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) จึงมีการทบทวนตัวเลขคาดการณ์ทางเศรษฐกิจโลก โดยปรับลดลงจากที่คาดไว้ว่าเศรษฐกิจโลกจะขยายตัวที่ร้อยละ 3.8 เป็นขยายตัวที่ร้อยละ 3.5 ในรายงานคาดการณ์เดือนมกราคม 2558 โดย IMF ปรับลดคาดการณ์อัตราขยายตัวของกลุ่มประเทศยูโรโซน จีน ญี่ปุ่น อินเดีย อาเซียน ขณะที่มีเพียงสหรัฐอเมริกาที่มีแนวโน้มฟื้นตัวอย่างชัดเจน Trade (แกนขวา) ที่มา : IMF World Economic Outlook (WEO) Update/January 2016 Ministry of Commerce 8
สถานการณ์ส่งออกของประเทศคู่ค้า ไทยมีทิศทางสถานการณ์ส่งออกที่ดีกว่าหลายประเทศ ที่มีระดับของโครงสร้างการส่งออกใกล้เคียงกัน อัตราขยายตัวมูลค่าส่งออก แบบเฉลี่ยเคลื่อนที่ 3 เดือน (หน่วย : %YoY) -7.7 -9.4 -10.9 -14.4 -15.6 -19.0 ที่มา: World Trade Atlas Ministry of Commerce
สถานการณ์ส่งออกของประเทศต่างๆ ม.ค. – ธ.ค. 2558 ประเทศคู่แข่งทุกประเทศมีทิศทางหดตัว (อัตราการขยายตัว : %YoY) ที่มา: Global Trade Atlas โดยการคำนวณของสำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า ตัวเลขใน ( ) คืออันดับการส่งออกของประเทศนั้นในโลกของทั้งปี 2557 หมายเหตุ: *ข้อมูล 11 เดือน **ข้อมูล 9 เดือน Ministry of Commerce
Market Share ของไทยในตลาดคู่ค้าสำคัญมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น(%Share ) ตลาดหลัก (ญี่ปุ่น) (สหรัฐอเมริกา) (EU (27)) (จีน) ที่มา: World Trade Atlas Ministry of Commerce
Market Share ของไทยในตลาดคู่ค้าสำคัญมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ตลาดรอง (ฮ่องกง) (มาเลเซีย) (สิงคโปร์) (เกาหลีใต้) (ไต้หวัน) (อินเดีย) ที่มา: World Trade Atlas Ministry of Commerce
ภาพรวมการค้าระหว่างประเทศของไทย ในรูปสกุลเงินบาท (ล้านบาท) มกราคม 2559 มูลค่า Growth (%) มูลค่าการค้า 1,124,807 -1.89 การส่งออก 563,423 0.04 การนำเข้า 561,383 -3.75 ดุลการค้า 2,040 ภาพรวมการค้าระหว่างประเทศของไทยกับโลก เดือนมกราคม 2558 ล้านบาท 1. มูลค่าส่งออกรวม 548,460 ล้านบาท หดตัวร้อยละ -0.50 (YoY) 2. มูลค่านำเข้ารวม 572,284 ล้านบาท หดตัวร้อยละ -5.66 (YoY) 3. ดุลการค้ารวม ไทย ขาดดุล -23,823 ล้านบาท ระยะ 1 เดือน (ม.ค.-ม.ค. 2558) 1. มูลค่าส่งออกรวม 2,280,954 ล้านบาท หดตัวร้อยละ -3.52(YoY) 2. มูลค่านำเข้ารวม 2,278,488 ล้านบาท หดตัวร้อยละ -6.01(YoY) 3. ดุลการค้ารวมของไทย มีมูลค่ารวมทั้งสิ้น เกินดุล 2,466 ล้านบาท 13 ที่มา: กรมศุลกากร คำนวณโดยสำนักพาณิชย์ดิจิตอลและสารสนเทศ กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
รายได้จากการส่งออกของไทย ในรูปเงินบาท กลับมาขยายตัวที่ร้อยละ 0.04 14 Ministry of Commerce
ภาพรวมการค้าระหว่างประเทศของไทย ในรูปสกุลดอลลาร์ (ล้านเหรียญฯ) มกราคม 2559 มูลค่า Growth (%) มูลค่าการค้า 31,185 -10.66 การส่งออก 15,711 -8.91 การนำเข้า 15,474 -12.37 ดุลการค้า 238 ภาพรวมการค้าระหว่างประเทศของไทยกับโลก เดือนมกราคม 2558 ล้านเหรียญสหรัฐ 1. มูลค่าส่งออกรวม 16,900 ล้านเหรียญสหรัฐ หดตัวร้อยละ -1.70 (YoY) 2. มูลค่านำเข้ารวม 17,423 ล้านเหรียญสหรัฐ หดตัวร้อยละ -6.84 (YoY) 3. ดุลการค้ารวม ไทยขาดดุล -523 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ระยะ 1 เดือน (ม.ค.-ม.ค. 2558) 1. มูลค่าส่งออกรวม 70,265 ล้านเหรียญสหรัฐ หดตัวร้อยละ -3.99 (YoY) 2. มูลค่านำเข้ารวม 69,359 ล้านเหรียญสหรัฐ หดตัวร้อยละ -6.53 (YoY) 3. ดุลการค้ารวมของไทย มีมูลค่ารวมทั้งสิ้น เกินดุล 906 ล้านเหรียญสหรัฐฯ 15 ที่มา: กรมศุลกากร คำนวณโดยสำนักพาณิชย์ดิจิตอลและสารสนเทศ กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
อัตราขยายตัวของมูลค่าการส่งออกของไทย ในรูปสกุลเงินดอลลาร์ เดือนมกราคม 2559 หดตัวที่ร้อยละ -8.91 16 Ministry of Commerce
ภาพรวมการค้าระหว่างประเทศของไทย ภาพรวมการค้าระหว่างประเทศของไทย มูลค่าส่งออกมกราคม 2559 หักน้ำมันและทองคำหดตัวที่ร้อยละ -5.4 กลุ่มสินค้าส่งออก มกราคม 59 มูลค่า ล้านเหรียญ Growth (%YoY) %Share มูลค่าส่งออกรวม 15,711 -8.91 100 สินค้าเกี่ยวเนื่องน้ำมัน 1,429 -25.2 9.1 ทองคำ 236 -51.2 1.5 หักน้ำมันและทองคำ 14,045 -5.4 89.4 สถานการณ์ราคาน้ำมันดิบหดตัว ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกหดตัวสูง ทำให้ราคาส่งออกกลุ่มสินค้าเกี่ยวเนื่องกับน้ำมันชะลอตัวตาม ได้แก่ น้ำมันสำเร็จรูป เคมีภัณฑ์ และเม็ดพลาสติก เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่มีโครงสร้างการใช้วัตถุดิบซึ่งมาจากอุตสาหกรรมการกลั่นปิโตรเลียมค่อนข้างสูง ส่งผลใหมูลค่าส่งออกกลุ่มดังกล่าวหดตัวสูงต่อเนื่อง สินค้าที่เกี่ยวเนื่องน้ำมัน เดือนมกราคม 2558 สินค้าที่เกี่ยวเนื่องกับน้ำมันหดตัวสูง ได้แก่ น้ำมันสำเร็จรูป -16.8% เคมีภัณฑ์ -22.2% และเม็ดพลาสติก -18.3% มีมูลค่าการส่งออกรวม 1,917 ล้านเหรียญฯหดตัวร้อยละ -19.0% ระยะ 1 เดือน ม.ค.-ม.ค.2558 หดตัวร้อยละ -20.7 คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 10.7 ของมูลค่าการส่งออกรวม ทองคำ เดือนมกราคม 2558 การส่งออกทองคำขยายตัวสูง สาเหตุจากระดับราคาทองคำปรับตัวสูงขึ้นจากเดือนมีนาคม 2558 อยู่ที่ 1,200 ดอลลาร์สหรัฐต่อออนซ์ ส่งผลให้ผู้ส่งออกเร่งการการส่งออกเพื่อทำกำไร ขณะที่การนำเข้าทองคำชะลอตัว การส่งออกทองคำมีมูลค่า 252 ล้านเหรียญฯ ขยายตัวร้อยละ 132.5 ขณะที่ในระยะ 1 เดือน ม.ค.-ม.ค.2558 หดตัวร้อยละ -18.0 คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 1.5 ของมูลค่าการส่งออกรวม มูลค่าส่งออกรวมหักน้ำมันและทองคำ มูลค่าการส่งออกเดือนมกราคม2558 ไม่รวมสินค้าส่งออกที่เกี่ยวเนื่องน้ำมัน (น้ำมันสำเร็จรูป เคมีภัณฑ์ และเม็ดพลาสติก) และทองคำ มีมูลค่าการส่งออกอยู่ที่ 14,731ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวที่ร้อยละ 0.1 (YoY) ขณะที่ระยะ 1 เดือน ม.ค.-ม.ค.2558 หดตัวที่ร้อยละ -1.2 โดยมีสัดส่วนร้อยละ 87.8 ของมูลค่าการส่งออกรวม 17 ที่มา: กรมศุลกากร คำนวณโดยสำนักพาณิชย์ดิจิตอลและสารสนเทศ กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
อัตราขยายตัวของมูลค่าการส่งออกของไทยหักน้ำมันและทองคำ เดือนมกราคม 2559 หดตัวที่ร้อยละ -5.4 18 Ministry of Commerce
สินค้าส่งออก 10 อันดับแรก อัตราขยายตัวของมูลค่าส่งออก %YoY (12.3%) 2 (9.1%) 3 (3.7%) 4 (3.5%) 5 (3.4%) 6 (3.0%) 7 (3.0%) 8 (2.8%) 9 (2.8%) 10 (2.6%) รายการสินค้า(สัดส่วนต่อมูลค่าส่งออก) 19 Ministry of Commerce
สินค้าเกษตร และอุตสาหกรรมเกษตร มกราคมหดตัวร้อยละ -4.1 หดตัวในอัตราที่ลดลงกว่าปี 2558 สินค้าหดตัว %YoY สินค้าขยายตัว %YoY (2.0%) (2.8%) (1.2%) (1.5%) (1.5%) (1.0%) (1.0%) (0.7%) รายการสินค้า(สัดส่วนต่อมูลค่าส่งออก) 20 Ministry of Commerce
สินค้าส่งออกสำคัญหลายรายการมูลค่าหดตัวสูงกว่าปริมาณ สะท้อนว่าหดตัวจากปัจจัยด้านราคาเป็นสำคัญ ขณะที่ปริมาณส่งออกยังขยายตัว 21 Ministry of Commerce
สินค้าอุตสาหกรรม มกราคมหดตัวร้อยละ -8.5 ตามสินค้าเกี่ยวเนื่องกับน้ำมันและทองคำที่หดตัวสูงขึ้น สินค้าหดตัว (%YoY) สินค้าขยายตัว (%YoY) (3.9%) (8.2%) (3.2%) (3.0%) รายการสินค้า(สัดส่วนต่อมูลค่าส่งออก) 22 Ministry of Commerce
การส่งออกรายกลุ่มตลาด ตลาด CLMV ยังมีทิศทางเติบโตต่อเนื่อง ขณะที่ตลาดหลักสำคัญยังคงชะลอ ตลาดส่งออก (%YoY) มกราคม 2559 ปี 2558 (%YoY) (%AoA) %Share ตลาดหลัก (Matured Market) -7.1 -4.0 29.8 ญี่ปุ่น -10.1 -7.7 9.4 สหรัฐอเมริกา -8.5 0.7 11.2 สหภาพยุโรป(15) -2.4 -5.7 9.3 ตลาดศักยภาพสูง (Dynamic Market) -9.4 -6.7 49.5 อาเซียน(9) -8.8 -7.2 25.7 อาเซียนเดิม (5) -14.9 -15.1 15.3 อินโดจีน(4): CLMV 1.2 7.7 10.4 จีน -6.1 -5.4 11.1 เอเชียใต้ (8) -3.6 3.6 ตลาดศักยภาพระดับรอง (Emerging Market) -6.5 -7.3 19.0 ทวีปออสเตรเลีย (25) 13.6 5.3 ตะวันออกกลาง (15) -12.1 -10.0 4.8 ตลาดส่งออก (ล้านเหรียญสหรัฐฯ) สินค้าส่งออกสำคัญ(%YoY) สาเหตุ ญี่ปุ่น (-3.0%) มูลค่า 1,603 1.รถยนต์ และส่วนประกอบ (+4.6) 2.ไก่แปรรูป(+12.6) 3.เครื่องจักรกล(+6.0) 4.คอมพิวเตอร์ (-20.0) 5.โทรทัศน์(+5.4) 6.เม็ดพลาสติก(-45.1) เศรษฐกิจญี่ปุ่นฟี้นตัวช้ากว่าที่คาดการณ์ประกอบค่าเงินบาทมีทิศทางแข็งค้างเมื่อเทียบกับสกุลเงินเยน สหรัฐอเมริกา (+8.4%) มูลค่า 1,937 1.เครื่องคอมพิวเตอร์ฯ(+38.3) 2. โทรทัศน์(+44.1) 3.ผลิตภัณฑ์ยาง(+7.1) 4. อัญมณีและเครื่องประดับ (-22.7) 5เครื่องนุ่งห่ม(-6.2). 6. อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป (-20.5) สภาวการณ์จ้างงานมีทิศทางที่ดีขึ้น ส่งผลให้การบริโภคสินค้าคงทน และการลงทุนภาคเอกชน เพิ่มขึ้น สหภาพยุโรป-15 (-3.5%) มูลค่า 1,532 1.เครื่องคอมพิวเตอร์(-0.4) 2. อัญมณีและเครื่องประดับ(+20.5) 3. รถยนต์ และส่วนประกอบ(+98.2) 4. ไก่แปรรูป (-7.1) 5.แผงวงจรไฟฟ้า(+4.6) เศรษฐกิจสหภาพยุโรปฟี้นตัวช้ากว่าที่คาดการณ์ประกอบค่าเงินบาทมีทิศทางแข็งค้างเมื่อเทียบกับสกุลเงินยูโรโซน หลังจากที่ EU ใช้นโยบายการเงินเพื่อกระต้นเศรษฐกิจ อาเซียน-9 (-6.1%) มูลค่า 4,255 1. รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ (+3.5) 2.น้ำมันสำเร็จรูป (-29.2) 3.เคมีภัณฑ์(+13.9) 4. เครื่องจักรกล (-8.9) 5.เครื่องคอมพิวเตอร์ (+3.3) 6. เหล็ก (-17.2) สิงคโปร์(+2.3) มาเลเซีย(-24.6) อินโดนิเซีย(-10.7) ฟิลิปปินส์(-0.1) บรูไน(-27.3) กัมพูชา(+0.7) ลาว(-0.8) พม่า(-5.2) เวียดนาม(+12.8) จีน (+1.1%) มูลค่า 1,869 1. เม็ดพลาสติก(-16.6) 2. ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง(+76.0) 3. เคมีภัณฑ์ (-35.5) 4. ผลิตภัณฑ์ยาง(+32.9) 5.เครื่องคอมพิวเตอร์ (-20.5) 6. ยางพารา(-33.4) กลับมาขยายตัวในรอบ 1 เดือน (ก.ค.57) โดยสินค้าเกษตรสำคัญอย่าง ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง น้ำตาลขยายตัวสูง 23 Ministry of Commerce
โครงสร้างการนำเข้า นำเข้ารวม -12.4 -11.0 100 เชื้อเพลิง -40.7 -37.0 สินค้านำเข้า มกราคม 2559 ปี 2558 (%YoY) (%AoA) %Share นำเข้ารวม -12.4 -11.0 100 เชื้อเพลิง -40.7 -37.0 15.0 ทุน 0.9 -4.8 28.6 วัตถุดิบ/กึ่งสำเร็จรูป -15.3 -6.3 38.9 อุปโภค/บริโภค -4.6 0.6 11.4 ยานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง -1.5 5.7 6.1 24 Ministry of Commerce
ภาพรวมการค้าชายแดน การค้าชายแดน มกราคม 2559 มูลค่ารวม 86,193 1.05 หน่วย : ล้านบาท การค้าชายแดน มกราคม 2559 มูลค่า มูลค่ารวม 86,193 1.05 การส่งออก 49,389 3.51 การนำเข้า 36,804 -2.07 ดุลการค้า 12,584 % 59/58 ค้าชายแดน % หมายถึงอัตราการเปลี่ยนแปลง Ministry of Commerce
ภาพรวมการค้าผ่านแดน ค้าผ่านแดน การค้าผ่านแดน มกราคม 2559 มูลค่ารวม หน่วย : ล้านบาท การค้าผ่านแดน มกราคม 2559 มูลค่า มูลค่ารวม 15,273 12.85 การส่งออก 7,203 19.13 การนำเข้า 8,070 7.78 ดุลการค้า -867 % 58/57 ค้าผ่านแดน % หมายถึงอัตราการเปลี่ยนแปลง Ministry of Commerce
มูลค่ารวมการค้าชายแดนและการค้าผ่านแดน หน่วย : ล้านบาท การค้าชายแดนและ การค้าผ่านแดนรวม มกราคม 2559 มูลค่า Growth(%) มูลค่ารวม 101,466 2.67 การส่งออก 56,591 5.27 การนำเข้า 44,875 -0.43 ดุลการค้า 11,716 ชายแดน+ผ่านแดน Ministry of Commerce
แนวทางการขับเคลื่อนการส่งออกของกระทรวงพาณิชย์ ขยายการค้ากับ CLMV ส่งเสริมการค้าชายแดน เพื่อขยายโอกาสทางการค้า และผลักดันให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางของภูมิภาค ในการเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลก เร่งรัดขยายตลาดเชิงรุก บุกเมืองศักยภาพ กำหนดกลยุทธ์เชิงลึกลงถึงในระดับเมือง (city focus) มุ่งเน้นการเจาะตลาดใหม่ๆ การเจาะกลุ่มตลาดเฉพาะ (niche market) และช่องทางการค้าออนไลน์ ส่งเสริมการค้าบริการ (Trade in Services) เพื่อเป็นจักรกลใหม่ (New Engine) ในการขับเคลื่อนการค้า โดยได้กำหนดกลุ่มธุรกิจเป้าหมาย 6 กลุ่มธุรกิจ ได้แก่ Wellness/Entertainment/Logistics/Education/Hospitalities/Professional Services ส่งเสริมผู้ประกอบการไทยไปดำเนินธุรกิจในต่างประเทศ เพื่อขยายโอกาสทางการค้าการลงทุน และสร้างความสามารถทางการแข่งขันของธุรกิจ ผลักดันและแก้ปัญหาทางการค้าร่วมกับเอกชน คณะกรรมการพัฒนาการค้าระหว่างประเทศ (พกค.) ร่วมภาครัฐและเอกชนเพื่อส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ตลอดจนการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค ทางการค้าของไทย Ministry of Commerce
พัฒนาการภาคการค้าระหว่างประเทศของประเทศไทย มูลค่าส่งออกสินค้าและบริการของไทย (mUS$) การส่งออกสินค้าและบริการ (Index 2548=100) ส่งออกไทยโดยรวมหดตัว การค้าบริการเติบโตขึ้น ส่วนแบ่งตลาดหลักของไทย (%) อัตราส่วนของส่งออกบริการต่อส่งออกสินค้า (%) การค้าบริการคิดเป็น ¼ ของการส่งออกสินค้า ตลาด CLMV, จีน. อินเดีย มีส่วนแบ่งตลาดสูงขึ้นในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา
การค้าบริการระหว่างประเทศของประเทศต่างๆ สัดสวนการส่งออกบริการต่อการส่งออกสินค้า (%) ประเทศพัฒนาแล้วมีทิศทางของการส่งออกบริการสูง 30-60% ของการค้าส่งออกสินค้า ที่มา: วิเคราะห์โดยกระทรวงพาณิชย์ จากข้อมูล Global Trade จาก TradeMap
ที่มา: วิเคราะห์โดยกระทรวงพาณิชย์ จากข้อมูล WDI เงินลงทุนทางตรงจากต่างประเทศ (FDI) มายังอาเซียน [net inflows (BoP,US$)] FDI มาอินโดนีเซียและเวียดนามมีแนวโน้มสูงขึ้นในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ในขณะที่ FDI มาไทยมีความผันผวนและมีแนวโน้มลดน้อยลง ที่มา: วิเคราะห์โดยกระทรวงพาณิชย์ จากข้อมูล WDI
High-technology exports (% of manufactured exports) สัดส่วนส่งออกสินค้าเทคโนโลยีสูงของไทยลดลง ในขณะที่เวียดนามพุ่งสูงขึ้น ที่มา: วิเคราะห์โดยกระทรวงพาณิชย์ จากข้อมูล WDI หมายเหตุ: High-technology exports are products with high R&D intensity, such as in aerospace, computers, pharmaceuticals, scientific instruments, and electrical machinery.
การลงทุนระหว่างประเทศของประเทศไทย FDI และ ODI สะสมของไทย (mUS$) FDI และ ODI ของไทย (Index 2549=100) FDI สะสมค่อนข้างหยุดนิ่ง Outward เติบโตมากขึ้นแทน นักลงทุนหลักในประเทศไทย (%) เป้าหมายการลงทุนต่างประเทศของไทย (%)
GNP/GDP ไทยมีแนวโน้มลดลง สัดส่วน Gross National Product (GNP) ต่อ Gross Domestic Product (GDP) ในรอบ 40 ปีของการพัฒนา GNP = GDP + มูลค่าผลผลิตโดยบริษัทไทยในต่างประเทศ - มูลค่าผลผลิตโดยบริษัทต่างชาติในประเทศไทย สิงคโปร์ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ 102.5% 100.1% 98.3% ไทย มาเลเซีย ไต้หวัน 103.1% 96.5% GNP/GDP ไทยมีแนวโน้มลดลง 95.7% ที่มา: Federal Reserve Bank of St. Louis
การลงทุนของไทยในเวียดนาม ลาว และกัมพูชาสวนใหญอยูในภาคอุตสาหกรรม การคาส่งและปลีก และเหมืองแรและย่อยหิน การลงทุนของไทยในเวียดนามและลาวมี ความหลากหลายของสาขามาก สวนในพม่ามีการกระจุกตัวมากในการคาสงและปลีกถึงร้อยละ 60 รองลงมาคือเหมืองแร่และย่อยหิน อุตสาหกรรม และการเงินและธุรกิจประกันภัย
ภาคอุตสาหกรรมลดการพึ่งพารายได้จากการส่งออกลง แต่เพิ่มการพึ่งพารายได้จากการลงทุนในต่างประเทศมากขึ้น ทุกกลุ่มอุตสาหกรรมมีสัดส่วนรายได้จากส่วนงานในต่างประเทศต่อรายได้รวมสูงขึ้น
ภาคอุตสาหกรรมลดการพึ่งพารายได้จากการส่งออกลง แต่เพิ่มการพึ่งพารายได้จากการลงทุนในต่างประเทศมากขึ้น สัดส่วนรายได้จากการส่งออกต่อรายได้รวมของบริษัทจดทะเบียนในหลายอุตสาหกรรมลดลง โดยเฉพาะกลุ่มอุตสาหกรรมที่พึ่งพารายได้จากการส่งออกสูงกว่า 50% ของรายได้รวม
สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า www.tpso.moc.go.th สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า กระทรวงพาณิชย์ 38 Ministry of Commerce