บทที่ 10 การบริหารความเสี่ยงทางการเงิน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

“กลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ”
Your Investment Partner
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
การค้าระหว่างประเทศ.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
บทที่5 การควบคุมการผลิตและต้นทุนการผลิต
การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานขาย
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
พันธกรณีการเจรจาต่อภายใต้ความตกลง TAFTA TNZCEP และ JTEPA:
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
บทที่ 1 ความหมายและแนวคิดของการวิจัยการตลาด
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
ชุมชนปลอดภัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
Material requirements planning (MRP) systems
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
การเงินธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1104
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
โดย อาจารย์เสาวณีย์ พุ่มท้วม
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ความเสี่ยงเรื่องการตลาด
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
แผนการตลาดสำหรับ [ชื่อผลิตภัณฑ์]
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
วิชา การบริหารทางการตลาด (MKT 3202)
การเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1103
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
โครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
Supply Chain Management
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
การบริหารความเสี่ยง (Enterprise Risk Management)
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 10 การบริหารความเสี่ยงทางการเงิน

ความเสี่ยงทางการเงิน 1.ความเสี่ยงตลาด (market risk) เป็นความเสี่ยงของการที่จะเสีย โดยราคาหรือการเปลี่ยนแปลงของราคา ซึ่งเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยในตลาดโลกหรืออื่น ๆ 2. ความเสี่ยงด้านเครดิต (credit risk) เป็นความเสี่ยงที่จะสูญเสีย อันเนื่องมาจากการไม่กระทำตามสัญญาของคู่สัญญาอีกฝั่ง ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งการเต็มใจและไม่เต็มใจที่จะไม่ทำ เช่น การผิดนัดชำระหนี้ 3. ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติการ (operational risk) เป็นความเสี่ยงที่เกิดขึ้นได้อยู่ตลอดเวลา อันเนื่องมาจากการปฏิบัติการที่ผิดพลาดหรือไม่เหมาะสมที่มาจากทั้งคนหรือองค์กร หรือจากเหตุการณ์ภายนอก เช่น การทำสัญญาทางการเงินที่ผิดพลาด

แหล่งที่มาของความเสี่ยงทางการเงิน 1.ความเสี่ยงทางการเงินที่เพิ่มขึ้นจากสถานะของกิจการที่กระทบจากราคาตลาด ได้แก่ อัตราดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยน และราคาโภคภัณฑ์ที่เป็นวัตถุดิบสำคัญ 2.ความเสี่ยงทางการเงินที่เพิ่มขึ้นจากการกระทำของกิจการอื่นๆ ธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานอื่น เช่น ผู้ขาย ลูกค้า คู่ค้าในธุรกรรมด้านอนุพันธ์ทางการเงิน เป็นต้น 3.ความเสี่ยงทางการเงินที่เป็นผลจากการกระทำภายในองค์กร ความล้มเหลวของการบริหารจัดการองค์กร โดยเฉพาะส่วนที่เกิดจากบุคลากร กระบวนการ และระบบงาน

ขั้นตอนของการบริหารความเสี่ยงทางการเงิน ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ขั้นที่1 การกำหนดวัตถุประสงค์ หรือเป้าหมาย ผู้บริหารจะต้องเริ่มต้นการดำเนินงานด้วยการวางแผนบริหารจัดการด้วยการกำหนดวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายขององค์กรเป็นลำดับแรก ประกอบด้วย นโยบาย กระบวนการวิธีปฏิบัติ กฎข้อบังคับ กลยุทธ์

ขั้นที่2 การสำรวจความเสี่ยง การกำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบของกิจกรรมสำรวจความเสี่ยงจะทำให้เห็นถึงการให้ความสำคัญต่องานบริหารความเสี่ยงของผู้บริหารมีความชัดเจนและเป็นรูปธรรมมากขึ้น ขั้นที่3 การค้นหาและการระบุความเสี่ยง การค้นหาและการระบุความเสี่ยงออกมาจากข้อมูลที่รวบรวมมาอาจมีหลากหลาย ซึ่งควรพิจารณาลำดับความสำคัญของประเภทข้อมูลในเบื้องต้นก่อน เพราะข้อมูลบางประเภทมีความสำคัญน้อยอาจมีส่วนเกี่ยวข้องในบางเรื่องเท่านั้น

ขั้นที่4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง เป็นกระบวนการวิเคราะห์ความเสี่ยงที่เชื่อมโยงระหว่างการระบุความเสี่ยงกับการประเมินความเสี่ยง เทคนิคการวิเคราะห์ความเสี่ยงสามารถกระทำได้อย่างกว้างขวางแล้วแต่ประเภทของความเสี่ยงและชนิดเครื่องมือที่จะพิจารณานำมาใช้ในการวิเคราะห์นั้น ขั้นที่5 การประเมินและการจัดลำดับความเสี่ยง เป็นขั้นตอนที่สำคัญและซับซ้อนเกี่ยวโยงกับกิจกรรมการค้นหาและระบุความเสี่ยงกับกิจกรรมการวิเคราะห์ความเสี่ยง คือ การนำผลลัพธ์มาทำการประเมินและจัดลำดับเพื่อทำให้ทราบถึงขนาดของความรุนแรง

อนุพันธ์การบริหารความเสี่ยงทางการเงิน การบริหารความเสี่ยงทางการเงิน คือ การใช้ตราสารอนุพันธ์ทางการเงิน เนื่องจากมูลค่าของสัญญาอนุพันธ์จะกำหนดจากราคาของสินทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง ไม่ได้กำหนดจากตัวของมันเอง โดยตราสารอนุพันธ์ทางการเงินจะสามารถใช้ป้องกันความเสี่ยงของอัตราดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยน ราคาโภคภัณฑ์ และราคาหุ้นสามัญเป็นต้น

1.ลักษณะสำคัญของตราสารอนุพันธ์ 1.1 ตราสารอนุพันธ์ เป็นการตกลงทำธุรกรรมซื้อขายกันล่วงหน้าระหว่างคู่สัญญา 2 ฝ่าย ได้แก่ ผู้ซื้อล่วงหน้า และผู้ขายล่วงหน้า 1.2 มูลค่าของตราสารอนุพันธ์ขึ้นอยู่กับสินทรัพย์ที่ถูกนำมาใช้อ้างอิงในการซื้อขายนั้น 1.3 ตราสารอนุพันธ์ มีการกำหนดระยะเวลาไว้แน่นอนในกาปฏิบัติตามภาระผูกพันหรือใช้สิทธิของคู่สัญญา 1.4 ตราสารอนุพันธ์ มีการกำหนดพันธะผูกพันหรือใช้สิทธิแก่คู่สัญญาในการซื้อหรือขายสินทรัพย์อ้างอิง

2.ประเภทตราสารอนุพันธ์ 2.1 สัญญาซื้อขายล่วงหน้า หมายถึง ข้อตกลงหรือสัญญาซื้อขายสินทรัพย์อ้างอิงที่จัดทำขึ้น ณ เวลาปัจจุบันระหว่างผู้ซื้อล่วงหน้าและผู้ขายล่วงหน้า แต่จะมีการส่งมอบ และชำระเงินจริงในอนาคต

2.1.1 สัญญาฟอร์เวิร์ด (Forward Contract) เป็นสัญญาข้อตกลงระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายในการที่จะรับและส่งมอบสินทรัพย์อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น เงินตราต่างประเทศ ในราคาที่ระบุไว้ ( Exercise Price ) ณ วันสิ้นสุดระยะเวลาที่กำหนด (Settlement Date of Delivery Date) ส่วนมากสัญญาฟอร์เวิร์ดนิยมใช้กับการป้องกันความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน

2.1.2 สัญญาฟิวเจอร์ (Futures Contract) เป็นสัญญาข้อตกลงในการซื้อหรือขายสินทรัพย์อ้างอิงในราคาที่กำหนด และมีการส่งมอบกันในอนาคต เป็นสัญญามีมาตรฐาน มีองค์กรรองรับเป็นตลาดที่เป็นทางการ ซึ่งต่างจากสัญญาฟอร์เวิร์ดที่ทำการซื้อขายแบบนอกตลาด โดยส่วนใหญ่จะเป็นสินค้าทางเกษตร สินค้าโภคภัณฑ์ และสินทรัพย์ทางการ

2.2 ตราสารสิทธิ คือ ตราสารที่มีการซื้อขายกันเป็นเครื่องมือทางการเงินในตลาด OTC ( Over the Counter ) ซึ่งเป็นการซื้อขายแบบไม่เป็นทางการ ต่อมาจึงได้มีการพัฒนาตลาดซื้อขายตราสารสิทธิและก่อให้เกิดสัญญาที่มีมาตรฐานและเพิ่มสภาพคล่องให้กับตลาดมากขึ้น

2.3 สัญญาแลกเปลี่ยน คือ สัญญาระหว่างคู่สัญญา 2 ฝ่าย ในการแลกเปลี่ยนกระแสเงินสดระหว่างกันเพื่อให้เหมาะสมกับการดำเนินธุรกิจ โดยก่อให้เกิดภาระผูกพันที่คู่สัญญาจะต้องปฏิบัติตามในการส่งมอบกระแสเงินสดระหว่างกัน ตามงวดที่กำหนดตลอดอายุของสัญญา สัญญาแลกเปลี่ยนนี้อาจเป็นสินทรัพย์หรือหนี้สินก็ได้ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท

1.สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย คือ การทำสัญญาที่บุคคล 2 ฝ่ายตกลงจะแลกภาระดอกเบี้ยของกันและกันภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ ทั้งนี้เป็นสัญญาแลกเปลี่ยนเฉพาะส่วนที่เป็นอัตราดอกเบี้ยเท่านั้น ซึ่งอาจจะเป็นดอกเบี้ยจ่ายหรือดอกเบี้ยรับก็ได้ โดยที่เงินต้นไม่เปลี่ยนแปลง 2. สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราแลกเปลี่ยน คือ สัญญาที่คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายตกลงแลกเปลี่ยน กระแสเงินสดระหว่างกัน ทั้งส่วนที่เกิดจากดอกเบี้ยและเงินต้น จากสกุลเงินหนึ่งเป็นอีกสกุลเงินหนึ่ง

นางสาว ณัชรีพร ชัยวิเชียร 58127318010 สมาชิกในกลุ่ม นางสาว ณัชรีพร ชัยวิเชียร 58127318010 นางสาว มณฑิรา ศรีสังข์ 58127318047 นางสาววิมพ์วิภา ระวังนาม 58127318072 นางสาวนุชจรินทร์ แก้วกัน 58127318081