รายวิชา คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายวิชา คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ หน่วยที่ 5
Advertisements

โปรแกรมขึ้นทะเบียนเกษตรกร ผู้ปลูกข้าวนาปี ปี 2557/58
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ
การเปรียบเทียบความคงทนในบทเรียนระหว่าง วิธีการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองกับวิธีการแบบบรรยาย นุชดา ลาทอง.
การจัดทำเว็บไซต์สำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Joomla!
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
การดำเนินงานด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ และ คอมพิวเตอร์ ปีงบประมาณ 2551 กองบำรุงพันธุ์สัตว์
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
IS คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ c อ. ดร. นฤมล รักษาสุข 1 รายวิชา คอมพิวเตอร์เพื่อการ เรียนรู้ หน่วยที่ 5 “ แนวคิดและหลักการ ออกแบบ บทเรียนช่วยสอนบนเว็บ.
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
E-learning การเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Learning) เป็นการศึกษา เรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต (Internet) หรืออินทราเน็ต (Intranet)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
นางนุชจรินทร์ แก้ววงวาล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ในรายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ ด้วยวิธี เพื่อนช่วยเพื่อน ผู้วิจัย นาง นุสรา ปิยะศาสตร์ ตำแหน่ง ครูผู้สอน วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา.

วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ป.5
ประยุกต์ใช้ในงานด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้สำหรับการเรียนการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยสื่อ อุปกรณ์ที่ทันสมัย ห้องเรียนสมัยใหม่
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
วิทยาเขตมีบริการอะไรให้บ้าง การบริการ บัญชีผู้ใช้และรหัสผ่าน สำหรับใช้งาน Internet สามารถ ติดต่อขอ บัญชีผู้ใช้และรหัสผ่าน (Password) ด้วย ตนเอง บัตรประจำตัวพนักงาน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
Pre-test 3R x 7C 1. 2 Resources2Learn ระบบจัดการ ทรัพยากร สื่อการศึกษา วิชา การออกแบบ แม่พิมพ์
โครงการศูนย์ดิจิทัลชุมชน สำนักงาน กศน. จังหวัดขอนแก่น.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
กำธร สุทธิรัตน์
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ คำสั่ง
ระบบการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Learning Management System : LMS
การผลิตบทเรียนช่วยสอน (C.A.I.)
อาจารย์ณัฐภัทร แก้วรัตนภัทร์ วท.ม.,วท.บ.เกียรตินิยมอันดับ1
Integrated Information Technology
บทที่ 6 การพัฒนาระบบการสอนบนเครือข่าย
Instruction design แผนจัดการเรียนรู้ Active Learning
คู่มือ การจัดทำและนำส่งการรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้าของกรรมการ ผู้บริหาร ผู้สอบบัญชี ผู้ทำแผน และผู้บริหารแผน ขั้นตอนที่
วันที่ 15 – 16 มิถุนายน 2558 ณ สำนักคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
เปิดบ้าน ชื่อโรงเรียน วันที่.
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
บทที่ 9 การใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ในการสร้างโลกเสมือนเพื่อการเรียนรู้ “Opensimulator” อาจารย์เทพยพงษ์ เศษคึมบง สาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา.
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
อาจารย์ณัฐภัทร แก้วรัตนภัทร์ วท.ม.,วท.บ.เกียรตินิยมอันดับ1
SMS News Distribute Service
นางสาวปัณยตา หมื่นศรี
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
EB7 หน่วยงานของท่านมีช่องทางให้. ประชาชน. เข้าถึงข้อมูลของหน่วยงาน
การออกแบบและนำเสนอบทเรียน
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation : OA)
การออกแบบสื่อการเรียนรู้
ADDIE model หลักการออกแบบของ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายวิชา 204420 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ 3. ขั้นการออกแบบ 3.5 การกำหนดโมดูลพื้นฐานของบทเรียน 3.6 การจัดทำบทดำเนินเรื่อง 3.7 แนวคิดและหลักการออกแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์

3.5 การกำหนดโมดูลพื้นฐานของบทเรียน 3.5.1 โมดูลผู้เรียน (Student Module) 3.5.2 โมดูลผู้สอน (Teacher Module) 3.5.3 โมดูลเนื้อหา (Content Module) 3.5.4 โมดูลการสื่อสาร (Communication Module) 3.5.5 โมดูลการประเมินผล (Evaluation Module)

3.5.1 โมดูลผู้เรียน (Student Module) สำหรับการบันทึกข้อมูลของผู้เรียน ประกอบด้วย 1) ข้อมูลส่วนตัว ได้แก่ ชื่อ นามสกุล ภาพถ่าย รหัสผ่าน Email เป็นต้น 2) ข้อมูลการศึกษาและทำกิจกรรมผ่าน บทเรียน ได้แก่ บันทึกการเข้า ใช้บทเรียน การทำกิจกรรม การบ้าน คะแนนและเกรดที่ได้รับ

3.5.2 โมดูลผู้สอน (Teacher Module) สำหรับผู้สอนจัดการระบบ ได้แก่ การ แก้ไขหน้าบทเรียน การเพิ่มแหล่งข้อมูล หรือกิจกรรม การกำหนดเงื่อนไขของ กิจกรรม การจัดการสมาชิก การ ติดตามดูพฤติกรรมและผลการเรียนของ ผู้เรียน เป็นต้น

3.5.3 โมดูลเนื้อหา (Content Module) เป็นส่วนที่นำเสนอเนื้อหาของบทเรียนตาม หน่วยการเรียนรู้ที่กำหนด ควรแจ้งวัตถุประสงค์การเรียนรู้ก่อนเข้าสู่ เนื้อหาแต่ละหน่วย เนื้อหาที่นำเสนอควรกระชับและเข้าใจง่าย ควรสร้างความน่าสนใจโดยใช้ สี ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง บรรยาย เป็นต้น ประกอบการนำเสนอเนื้อหาที่เป็นข้อความ ควรกระตุ้นความรู้เดิมโดยให้ผู้เรียนทำ แบบทดสอบก่อนเรียน

3.5.4 โมดูลการสื่อสาร (Communication Module) เป็นส่วนที่กำหนดช่องทางการสื่อสาร ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอนหรือระหว่าง ผู้เรียนกันเอง โดยผ่าน กระดานสนทนา Email หรือ สื่อสังคมออนไลน์ เป็นต้น

3.5.5 โมดูลการประเมินผล (Evalution Module) เป็นส่วนที่เก็บแบบทดสอบโดยผู้สอน สามารถกำหนดเงื่อนไขการเข้าทำ แบบทดสอบ (ก่อน ระหว่าง และหลัง เรียน) ช่วงเวลาในการทำแบบทดสอบ การเฉลยและให้คะแนน ในการทำแบบทดสอบหรือแบบฝึกหัด ระหว่างเรียนควรให้ข้อมูลตอบกลับ (Feedback) แก่ผู้เรียนในทันที โดยเฉลย ว่าคำตอบถูกหรือผิด พร้อมทั้งแสดง ข้อความให้กำลังใจ

3.6 การจัดทำบทดำเนินเรื่อง (Storyboarding) เป็นการกำหนดองค์ประกอบบทเรียนใน แต่ละหน้าประกอบด้วย 1) ส่วนระบบบริหารจัดการเรียนการสอน ได้แก่ การเข้าสู่ระบบ การจัดการระบบ (การ แก้ไขข้อมูลส่วนตัว การเปลี่ยนรหัสผ่าน ฯ การรายงานผลการทำกิจกรรม) การ ปฏิสัมพันธ์ 2) ส่วนเนื้อหา ได้แก่ การกำหนดขนาดของ หน้าจอ ตำแหน่งการวางชื่อหน่วย หัวข้อ ใหญ่ หัวข้อย่อย รายละเอียดเนื้อหา ภาพนิ่ง และ/หรือภาพเคลื่อนไหว

ชื่อบทเรียน Task: Information Literacy Sub-task: Sub-sub-task เข้าสู่ระบบ ชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน สมัครสมาชิก ลืมรหัสผ่าน ชื่อบทเรียน เข้าสู่ระบบ ติดต่อผู้ดูแลระบบ คู่มือการใช้งาน ผู้ออกแบบ วันที่

ติดต่อผู้สอน (E-mail) Task: Information Literacy Sub-task: Sub-sub-task การจัดการระบบ My Profile Setting แก้ไขข้อมูลส่วนตัว เปลี่ยนรหัสผ่าน รายงานผลกิจกรรม บันทึกการเข้าเรียน รายงาน ระดับคะแนนตัวอักษร (Grade) ยินดีต้อนรับเข้าสู่ บทเรียนส่งเสริมการรู้สารสนเทศ สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช หน่วยที่ 1 การกำหนดความต้องการสารสนเทศ หน่วยที่ 2 การเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการ หน่วยที่ 3 การประเมินสารสนเทศ หน่วยที่ 4 การใช้สารสนเทศ หน่วยที่ 5 การอ้างอิง ติดต่อผู้สอน (E-mail) คู่มือการใช้งาน ผู้ออกแบบ วันที่

ติดต่อผู้สอน (E-mail) Task: Information Literacy Sub-task: Sub-sub-task การจัดการระบบ My profile setting แก้ไขข้อมูลส่วนตัว เปลี่ยนรหัสผ่าน รายงานผลกิจกรรม บันทึกการเข้าเรียน รายงาน Grade Home หน่วยที่ 1 การกำหนดความต้องการสารสนเทศ แบบทดสอบก่อนเรียน บทที่ 1.1 บทที่ 1.2 บทที่ 1.3 บทที่ 1.4 ติดต่อผู้สอน (E-mail) คู่มือการใช้งาน แบบทดสอบหลังเรียน ผู้ออกแบบ วันที่

ติดต่อผู้สอน (E-mail) Task: Information Literacy Sub-task: Sub-sub-task การจัดการระบบ My profile setting แก้ไขข้อมูลส่วนตัว เปลี่ยนรหัสผ่าน รายงานผลกิจกรรม บันทึกการเข้าเรียน รายงาน ระดับคะแนนตัวอักษร (Grade) แถบควบคุมหน้าจอ ชื่อบทเรียน หน้าที่ หัวข้อ ภาพประกอบ ข้อความ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ติดต่อผู้สอน (E-mail) คู่มือการใช้งาน ผู้ออกแบบ วันที่

บทเรียนส่งเสริมการรู้สารสนเทศ Task: Facebook Sub-task: Sub-sub-task Profile Group E-Learning IL บทเรียนส่งเสริมการรู้สารสนเทศ สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คำถามทบทวนความรู้หน่วยที่... ภาพประกอบ ผู้ออกแบบ วันที่

คำถาม xxxxxxxxxxxx ? a. b. c. d. Task: Information Literacy Sub-task: หน้าหลัก / กลุ่มที่ ... / หน่วยที่ / แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ ... Task: Information Literacy Sub-task: Sub-sub-task Quiz Navigation เหลือเวลา ..... ส่งคำตอบ ข้อที่ คะแนน Flag Question คำถาม xxxxxxxxxxxx ? a. b. c. d. จำนวนข้อสอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 x x x x x x x x x x x ผู้ออกแบบ วันที่

3.7 แนวคิดและหลักการออกแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ 3.7.1 ลักษณะสำคัญของ Web-based Instruction “What is unique about WBI is not its rich mix of media features such as text, graphics, sound, animation, and video, nor its linkages to information resources around the world, but the pedagogical dimensions that WBI can be designed to deliver.” (Reeves, 1997)

คุณลักษณะเฉพาะของบทเรียนช่วยสอนบนเว็ป (Web-based Instruction-WBI) มิได้อยู่ที่การนำเสนอคุณลักษณะต่างๆ ของสื่อเป็นจำนวนมาก เช่น ข้อความ ภาพกราฟิก เสียง ภาพเคลื่อนไหวและภาพทัศน์ หรือแม้แต่การเชื่อมโยงไปยังแหล่งสารสนเทศต่างๆ ทั่วโลก หากแต่เป็นมิติทางการสอนที่บทเรียนช่วยสอนบนเว็ปได้รับการออกแบบให้สามารถส่งไปยังผู้เรียนได้

3.7.2 กฎพื้นฐานการออกแบบหน้าจอบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ - Choose a style and stick to it. - Avoid too much text. - Only use graphics for a purpose. - Don’t have lots of hyperlinks scattered through the text. - Use meaningful headings and subheadings. - Complex graphics will take time to load so put a simple text explanation. - Avoiding using too many fonts (no more than two). - Edit text thoroughly.