กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้กำหนดให้โครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) เป็นโครงการสำคัญ (Flagship Project) ของกระทรวงฯ เพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในแต่ละพื้นที่โดยชู

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
เป็นการนำความรู้ด้าน Microsoft Excel ที่มีความพิเศษตรงที่สามารถ กำหนดสูตรการคำนวณในแต่ละเซลล์ ของ Sheet งานนั้นๆได้ โดยอาศัย ความแม่นยำในการคีย์ข้อมูลเข้าไป.
ณ วันที่ 30 มิถุนายน ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำปาง สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำปาง.
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน ปี ๒๕๕๔
นโยบายการดำเนินงานของ ส.ป.ก.
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดกระบี่ รายงาน แผน / ผลการ ปฏิบัติงาน ประจำเดือนเมษายน 2555 กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการ กรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สระบุรี ( กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม โครงการตามนโยบายรัฐบาล.
ณ 31 พฤษภาคม
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
การติดตามประเมินผล และรายงาน.
ติดตามงานผลการปฏิบัติงาน กิจกรรมหลักส่งเสริมและพัฒนา องค์กรและเกษตรกร ปีงบประมาณ พ. ศ กลุ่มงาน / กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดราชบุรี
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
กิจกรร ม 1 กิจกรร ม 3 กิจกรร ม 2 ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมแผนผลร้อยละ 1. สหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจ.
สกลนครโมเดล.
องค์ความรู้ เรื่องการปรับปรุงบำรุงดิน
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
โดย ศรีสุดา เตชะสาน ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมพืชน้ำมัน และพืชตระกูลถั่ว สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้า เกษตร.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร สำนักงานเกษตรจังหวัดน่าน
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
แผนพัฒนาการเกษตรของสำนักงานเกษตรอำเภอบางปะหัน ปี 2560
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
วัตถุประสงค์ กรอบแนวคิดการส่งเสริมการท่องเที่ยว ชุมชนคุณธรรมฯ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวปลอดภัยและการบริหารจัดการเชิงคุณภาพ
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเกษตร
แผนพัฒนาการเกษตรของสำนักงานเกษตร อำเภอพระนครศรีอยุธยา ปี 2560
นโยบายของรัฐด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมุดปกขาว BCG in Action การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศไทย เพื่อเศรษฐกิจชีวภาพ.
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
โครงการ “9,999 ตามรอยเท้าพ่อ”
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
การขึ้นทะเบียนและ ปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร ปี 2561
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
การเปลี่ยนแปลง สู่การเกษตรยุคใหม่ที่ยั่งยืน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้กำหนดให้โครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) เป็นโครงการสำคัญ (Flagship Project) ของกระทรวงฯ เพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในแต่ละพื้นที่โดยชู 3 หัวใจสำคัญสู่การเป็นเมืองเกษตรสีเขียว คือ พัฒนาพื้นที่ พัฒนาสินค้า และพัฒนาคน

จังหวัดเป้าหมายผลักดันโครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) ประกอบด้วย 6 จังหวัดคือ 1. เชียงใหม่ 2. ศรีสะเกษ 3. จันทบุรี 4. หนองคาย 5. ราชบุรี 6. พัทลุง เพื่อผลักดันให้เป็นเมืองเกษตรสีเขียว และพัฒนาเป็นเมืองท่องเที่ยวเชิงเกษตร

สาระสำคัญ ร่วมกันกำหนดพื้นที่ที่จะพัฒนาให้เป็นพื้นที่เกษตรสีเขียว ประสานความร่วมมือจากทุกภาคส่วนให้มีกระบวนการผลิตสินค้าเกษตรที่ดีเหมาะสม (good Agricultural Practice) ปลอดภัยจากสารเคมีตกค้างในสินค้าเกษตร ใช้เทคโนโลยีสะอาดในการผลิตสู่เศรษฐกิจการเกษตรสีเขียว (Green and Cool Agricultural Economy)

หัวใจสำคัญของการพัฒนาเมืองเกษตรสีเขียว พัฒนาพื้นที่ให้เป็นพื้นที่ปลอดภัย ปราศจากมลพิษรบกวน มีการจัดการของเสียอย่างเป็นระบบ 1 พัฒนาตัวสินค้าให้เป็นสินค้าที่มีคุณภาพได้มาตรฐานด้านความปลอดภัย ไม่มีสารพิษตกค้าง มีการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ในกระบวนการผลิต 2 พัฒนาคน ให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการ ขายสินค้าที่มีคุณภาพสามารถทำการผลิต และอาศัยอยู่ในพื้นที่ ได้อย่างยั่งยืน 3

นโยบายกรมพัฒนาที่ดิน โครงการ 6 เมืองเกษตรสีเขียวต้นแบบ กรมพัฒนาที่ดินมีความพร้อมในเรื่องของข้อมูลและกิจกรรม ที่รองรับต่างๆ ได้แก่ 1 ฐานข้อมูลดิน งานปรับปรุงบำรุงดิน งานส่งเสริมการใช้สารอินทรีย์ ลดใช้สารเคมี เขตพัฒนาที่ดิน การปลูกไม้ยืนต้นโตเร็ว การรณรงค์ ไถกลบตอซังพืช การดำเนินงานในช่วงแรกเป็นการจัดทำข้อมูลพื้นฐานของทั้ง 6 จังหวัด ได้แก่ ข้อมูลแผนที่ชุดดิน ข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดิน 2 หาข้อมูลพื้นฐานการใช้สารเคมีของแต่ละจังหวัด

นโยบายกรมพัฒนาที่ดิน โครงการ 6 เมืองเกษตรสีเขียวต้นแบบ 3 พิจารณาเขตพัฒนาที่ดินที่แต่ละจังหวัดทำไว้แล้ว กลุ่มเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่ที่มีความเข้มแข็ง มีรูปแบบ/ต้นแบบ/ภูมิปัญญาของเกษตรกรที่ทำไว้แล้ว จะต่อยอดโดยส่งเสริมให้ชุมชนมีการนำวัสดุทางการเกษตรที่เหลือจากกระบวนการผลิตมาเป็นพลังงานชีวมวล (Biomass) และการลดของเสียในกระบวนการผลิตให้เป็นศูนย์ (Zero Waste) จะกักเก็บคาร์บอน (carbon sequestration) โดยใช้กิจกรรมอะไร หากปลูกไม้ยืนต้นโตเร็ว จะกักเก็บคาร์บอนได้เท่าไหร่

นโยบายกรมพัฒนาที่ดิน โครงการ 6 เมืองเกษตรสีเขียวต้นแบบ 4 ต้องเก็บตัวเลขเพื่อเป็นตัวชี้วัดเมืองเกษตรสีเขียว 5 จะส่งเสริมและพัฒนาหมอดินอาสาให้เป็นเกษตรกรตัวอย่างเป็น eco-farmer ของจังหวัด

การดำเนินงานของกรมพัฒนาที่ดิน โครงการ 6 เมืองเกษตรสีเขียวต้นแบบ 1 ถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรม  อบรมเกษตรและถ่ายทอดนวัตกรรม 2 ส่งเสริมการปรับปรุงบำรุงดิน  ส่งเสริมการจัดทำน้ำหมักชีวภาพ/ปุ๋ยหมัก  ส่งเสริมการใช้ปุ๋ยพืชสด  ส่งเสริมการใช้ปูนเพื่อการเกษตร  รณรงค์ไถกลบตอซังพืช

การดำเนินงานของกรมพัฒนาที่ดิน โครงการ 6 เมืองเกษตรสีเขียวต้นแบบ 3 ตรวจวิเคราะห์ดิน  เก็บตัวอย่างดิน และสุ่มตรวจวิเคราะห์ดิน (pH, N, P, K และ OM) 4 สำรวจการใช้สารเคมีในพื้นที่  สำรวจทั้งก่อนและหลังดำเนินงาน

เป้าหมายการดำเนินงาน 5 โครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) ปีงบประมาณ 2558 ในพื้นที่ 6 จังหวัด จังหวัด เป้าหมาย(ราย) เป้าหมาย(ไร่) จันทบุรี 1,000 10,000 ศรีสะเกษ 2,500 25,000 หนองคาย 2,000 20,000 เชียงใหม่ ราชบุรี พัทลุง รวม 100,000

การดำเนินงานของกรมพัฒนาที่ดิน โครงการ 6 เมืองเกษตรสีเขียวต้นแบบ การกำหนดตัวชี้วัด  ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (Organic Matter - OM) ในพื้นที่เมืองเกษตรสีเขียวเพิ่มขึ้น - ก่อนดำเนินการ - สุ่มเก็บตัวอย่างดินแยกตามชุดดินในแปลงเกษตรกร จากนั้นนำไปวิเคราะห์ที่ห้อง lab ส่วนกลาง - หลังดำเนินการเก็บตัวอย่างจุดเดิม หลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิตแล้ว เป้าหมาย - ปริมาณอินทรียวัตถุเพิ่มขึ้น 0.22% (จากงานวิจัยของ ม.เกษตร หากใส่ปัจจัยการปรับปรุงบำรุงดินแล้ว ปริมาณอินทรียวัตถุจะเพิ่มขึ้น 0.2%)