เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เป็นอย่างนี้ หรือเป็นอย่างนี้
Advertisements

ยุทธศาสตร์การค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ของกระทรวงพาณิชย์
Lesson learned 3 มีนาคม 2556.
Being Excellent the whole Value Chain
Valuing Employees & Partners ให้ความสำคัญพนักงาน คู่ค้า
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด นราธิวาส 1.
เข้าสู่ วิชา การงานอาชีพ จัดทำโดย ด. ญ. สุชัญญา เขียวสมอ ม.1/14 เลขที่ 38 ด. ญ. พรรณวษา ยาวะระ ม.1/14 เลขที่ 32 นำเสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ โรงเรียนวินิตศึกษา.
1 การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษนครพนม.
สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม 1 โดย ดร.สมนึก คีรีโต ผู้อำนวยการ สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิศวกรรมศาสตร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ กลไกการขับเคลื่อนแผนพัฒนากำลังคนรายจังหวัด
เกี่ยวกับ บริษัท อินโนเวทีฟ บิสซิเนส จำกัด
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
Management system at Dell
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับการพัฒนา
การบริหารงานพัสดุภายใต้ พ. ร. บ
แผนพัฒนาจังหวัด 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ฉบับทบทวน
การพัฒนาระบบ e-GP ในระยะที่ 3
: หลักการธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ส่วนประสมการตลาด ( Marketing Mix )
การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ เพื่อเข้าสู่ Industry 4.0
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ประเทศไทย 4.0 Thailand 4.0 อุตสาหกรรม 4.0
บทที่ 7 ราคา Price.
Market System Promotion & Development Devision
การเตรียมความพร้อมของSMEsไทยสู่...
สถานการณ์การผลิตและการตลาด พืชตระกูลถั่ว
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
E. I. SQUARE. All rights reserved
ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซ (Electronic Commerce Payment System)
กลุ่มประสิทธิภาพกลุ่มที่ 1 (เขตตรวจราชการที่ 1, 2 และ 4)
หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ
การพัฒนาระบบ e-GP ในระยะที่ 3
Value Chain and Supply Chain ห่วงโซ่คุณค่า และห่วงโซ่อุปทาน
ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์
การเพิ่มขีดสมรรถนะของ สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (OSM)
แผนการตลาด Marketing Plan.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Information Technology in Agriculture ทพ491 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการเกษตร อาจารย์อภิพงศ์
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การเบิก-จ่ายเงินอย่างมืออาชีพ
การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable development)
การเปลี่ยนแปลงบริษัทและควบรวมกิจการ
การเตรียมการเพื่อรองรับการตรวจประเมินผล ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของกระทรวงมหาดไทย (ตัวชี้วัดศูนย์ดำรงธรรม) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ นายรณกฤต อุดมสุขโกศล.
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
การพัฒนาประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
บทที่1 ความรู้ทั่วไปสำหรับ การจัดการโซ่อุปทาน
กรอบแนวทางในการจัดทำงบประมาณ แผนยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ
กระบวนการวางแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดทำคำของบประมาณ
เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การวางแผนพัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
วิชา วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
Logistics : a Key for Thailand’s Food Hub การสัมมนา “Food Challenges Toward AEC” (Bitec Bangna) โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาองค์การนายจ้างผู้ประกอบการค้าและอุตสาหกรรมไทย.
กระบวนการคิด การปรับตัว และ การเตรียมความพร้อมจากการเปิดเสรีทางการค้า
(Rice Analysis) จังหวัดอุทัยธานี การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว
รูปแบบการดำเนินธุรกิจสำหรับ อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 14 ระบบสารสนเทศ กับการเปลี่ยนแปลงองค์การ
เปรียบเทียบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
เสนอขอรับทุนท้าทายไทยและโครงการวิจัยตอบสนองนโยบาย
งาน Trade Association’s President Club (TAP)
บทที่ 6 การจัดการสินค้าคงคลัง
ประเด็นการขับเคลื่อนองค์การไปสู่ระบบราชการ 4.0
วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน College of Logistics and Supply Chain
สิ่งสนับสนุน (ห้องต่าง ๆ เครื่องมืออุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก)
กลยุทธ์ธุรกิจ.
Traditional SMEs Smart SMEs + Start up High – Skill Labors
ชีวิตใหม่ของฝ่ายจัดซื้อ
การจัดการเครือข่ายสังคมออนไลน์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย วันที่ 27 กรกฎาคม 2558

ข้อมูลทั่วไป จังหวัดหนองคาย

วิสัยทัศน์ “เมืองน่าอยู่ ประตูสู่อาเซียน” - พ.ท. 3,026 ตร.กม. (1.9 ล้านไร่) - อำเภอ 9 อำเภอ - ตำบล 62 ตำบล - ทม. 2 แห่ง - ทต. 16 แห่ง - อบต. 49 แห่ง - 678 หมู่บ้าน - ประชากร 513,990 คน วิสัยทัศน์ “เมืองน่าอยู่ ประตูสู่อาเซียน” จุดยืนทางยุทธศาสตร์(Positioning) (1) ส่งเสริมการท่องเที่ยว (2) การค้าชายแดน (3) ส่งเสริมเกษตรยั่งยืน

วิสัยทัศน์ “เมืองน่าอยู่ ประตูสู่อาเซียน” - GPP 36,550 ลบ. - 58 ของประเทศ - 14 ของภาค - 3 ของกลุ่ม (อุดรธานี เลย หนองคาย หนองบัวลำภู และบึงกาฬ) - 80,266 บาท/ปี/คน - 48 ของประเทศ - 3 ของภาค - 1 ของกลุ่ม วิสัยทัศน์ “เมืองน่าอยู่ ประตูสู่อาเซียน” จุดยืนทางยุทธศาสตร์(Positioning) (1) ส่งเสริมการท่องเที่ยว (2) การค้าชายแดน (3) ส่งเสริมเกษตรยั่งยืน

ความมั่นคงชายแดนจังหวัดหนองคาย N ความมั่นคงชายแดนจังหวัดหนองคาย 4 1 แ ม่ น้ำ โขง 3 2 2 1 จุดผ่านแดนถาวร ด่านสะพานมิตรภาพไทย-ลาว ๒. ด่านท่าเรือหายโศก จุดผ่อนปรน 1. จุดผ่อนปรนอำเภอสังคม 2. จุดผ่อนปรนอำเภอศรีเชียงใหม่ 3. จุดผ่อนปรนอำเภอโพนพิสัย 4. จุดผ่อนปรนอำเภอรัตนวาปี ๖ อำเภอ ๒๖ ตำบล ๑๒๔ หมู่บ้าน ๒๔ ชุมชน

พื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย 1. อ.เมืองหนองคาย จำนวน 12 ตำบล พื้นที่รวม 258,989 ไร่ 2. อ.สระใคร จำนวน 1 ตำบล พื้นที่รวม 37,053 ไร่ 3. อ.โพนพิสัย จำนวน 3 ตำบล พื้นที่รวม 152,122 ไร่ 4. อ.ท่าบ่อ จำนวน 3 ตำบล พื้นที่รวม 49,537 ไร่ 5. อ.ศรีเชียงใหม่ จำนวน 3 ตำบล พื้นที่รวม 61,913 ไร่ รวมพื้นที่ 5 อำเภอ 22 ตำบล พื้นที่รวม 559,614 ไร่

การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ จังหวัดหนองคาย

โครงสร้างพื้นฐานทางการค้าและการลงทุน Generic Value Chain การค้า การส่งออกและการลงทุน โครงสร้างพื้นฐานทางการค้าและการลงทุน การพัฒนาระบบ บริหารจัดการ พัฒนาความพร้อมและ สร้างขีดความสามารถ ของผู้ประกอบการ การบริหาร จัดการสินค้า (Logistics) พัฒนาด้าน การตลาดและ ช่องทางการ จัดจำหน่าย พัฒนาฐานข้อมูลการผลิตและการบริโภค พัฒนาฐานข้อมูลตลาดและปริมาณการส่งออก (Trade & Market Intelligence) เงินลงทุนและการเข้าถึงแหล่งเงินทุน อัตราการแลกเปลี่ยนเงิน การทำประกันภัย กฎระเบียบข้อบังคับการส่งออก การพัฒนาระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) การพัฒนาระบบการ สรรหาและสั่งซื้อสินค้าจากผู้ผลิต (Sourcing System) การใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญา การใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีจากข้อตกลงต่างๆ การพัฒนาขีดความสามารถของผู้ประกอบการ การเพิ่มศักยภาพในการดำเนินธุรกิจ การยกระดับความพร้อมด้านเทคโนโลยี (Technology Readiness) การส่งเสริม พัฒนาการรวมกลุ่มผู้ประกอบการค้า สร้างและขยายเครือข่ายการค้า การลงทุนทั้งในและต่างประเทศ การจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้า การพัฒนาประสิทธิภาพและลดต้นทุนการขนส่งและกระจายสินค้า อัตราการสูญเสียระหว่างขนส่ง การลดต้นทุนในการบริหารจัดการและเก็บรักษาสินค้าคงคลัง การจัดการงานด้านศุลกากร (ส่งออก/นำเข้า) การพัฒนาช่องทางการจัดจำหน่าย การจัดกิจกรรมส่งเสริม การขาย การโฆษณาและประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ

มูลค่าพืชเศรษฐกิจที่สำคัญจังหวัดหนองคายปี 2557 ชนิด ผลผลิตรวม (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) 1 ข้าวเหนียวนาปี 111,283 1,368.78 2 ข้าวเจ้านาปี 59,640 852.85 3 ยางพารา 33,311 639.57 4 ข้าวเหนียวนาปรัง 40,481 328.84 5 สับประรด 37,343 302.48 6 พริก 11,898 297.45 7 ยาสูบ 1,582 174.02 8 มันสำปะหลัง 51,428 118.28 9 อ้อยโรงงาน 90,049 80.14 10 ข้าวเจ้านาปรัง 7,548 68.69 11 ข้าวโพดหวาน 8,204 65.63 12 กล้วยน้ำว้า 5,339 42.71 ที่มา: สำนักงานเกษตรจังหวัดหนองคาย

มูลค่าพืชเศรษฐกิจที่สำคัญจังหวัดหนองคายปี 2557 (ต่อ) ชนิด ผลผลิตรวม (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) 13 มะเขือเทศ 13,059 36.57 14 ปาล์มน้ำมัน 9,238 35.10 15 กล้วยหอม(เปรี้ยว) 3,866 19.33 16 พุทรา 812 16.23 17 ลำไย 761 15.23 18 มะม่วง 759 15.18 19 เงาะ 598 8.97 20 กล้วยหอมทอง 93 1.67 21 มะเขือเปราะ 614 7.37 22 ถั่วฝักยาว 1,038 62.26 23 กะหล่ำปลี 324 2.59 24 กะเพรา 8 0.17

มูลค่าสัตว์น้ำเศรษฐกิจที่สำคัญจังหวัดหนองคาย ปี 2557 ชนิด ผลผลิตรวม มูลค่า (ล้านบาท) 1 การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ 206.65 ล้านตัว 51.67 2 การอนุบาลลูกพันธุ์สัตว์น้ำ 191.81 ล้านตัว 57.54 3 การเลี้ยงสัตว์น้ำในบ่อดิน 5,931.61 ตัน 510.10 4 การเลี้ยงปลานิลในกระชังแม่น้ำโขง 12,764.83 ตัน 1,001.44 รวม 1,620.75 ที่มา : สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดหนองคาย

จำนวนโรงงานแบ่งตามจำพวกโรงงานตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 จำพวกที่ จำนวนโรงงาน (โรง) จำนวนเงินลงทุน (ล้านบาท) จำนวนคนงาน (คน) ชาย หญิง 1 321 30.1 418 31 2 121 194.2 501 257 3 232 4,439.2 2,760 1,626 รวม 674 4,663.7 3,679 1,914 ที่มา : สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดหนองคาย ข้อมูล ณ วันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๕๘

พื้นที่การทำการเกษตรและครัวเรือนที่ได้รับประโยชน์ พ.ศ. 2557 อำเภอ พื้นที่ทำการเกษตร รวม(ไร่) ครัวเรือนที่ได้รับประโยชน์ รวมครัวเรือน ในเขต นอกเขต ชลประทาน 1. เมืองหนองคาย 65,594 228,025 293,619 2,851 10,183 13,034 2. โพนพิสัย 54,045 216,845 270,890 3,054 12,282 15,336 3. ท่าบ่อ 69,640 51,499 121,139 4,668 9,697 14,365 4. ศรีเชียงใหม่ 30,325 6,955 37,280 1,978 517 2,495 5. สังคม 4,750 160,212 164,962 120 5,376 5,496 6. รัตนวาปี 34,889 69,738 104,627 1,754 5,999 7,753 7. เฝ้าไร่ 1,400 93,422 94,822 85 4,065 4,150 8. โพธิ์ตาก 18,727 17,672 36,399 1,209 1,922 3,131 9. สระใคร 52,849 - 2,731 รวม 279,370 897,217 1,176,587 15,719 52,772 68,491 ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดหนองคายข้อมูล ณ วันที่ 17 มีนาคม 2557

ประเภทธุรกิจที่สำคัญ พ.ศ. 2557 จำนวน (ราย) คิดเป็น ร้อยละ 1 ธุรกิจขายส่งและขายปลีก 549 40 2 ธุรกิจก่อสร้าง 276 19 3 ธุรกิจการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า 106 8 4 ธุรกิจการผลิต 91 7 5 ธุรกิจไฟฟ้า ก๊าซไอน้ำ และระบบปรับอากาศ 77 6 ธุรกิจข้อมูลข่าวสารและการสื่อสาร 72 กิจกรรมการบริหารและบริการสนับสนุน 60 ธุรกิจเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ 35 9 ธุรกิจกิจกรรมวิชาชีพวิทยาศาสตร์และกิจกรรมทางวิชาการ 30 10 ธุรกิจที่พักแรมและบริการด้านอาหาร 27 11 ธุรกิจอื่นๆ 67 ที่มา : สำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัดหนองคาย

Value Chain การค้าชายแดน

สถิติการค้าชายแดน ปี 2552 - 2557 2553 2554 2555 2556 2557 อัตรา การ ขยายตั ว %56/5 5 อัตรา การ ขยาย ตัว %57/5 6   ประเภ ท การค้า รวม 33,254.0 6 38,780.33 46,493.4 1 65,373.24 59,088.01 61,682.78 -9.61 4.39 ส่งออก 30,939.7 1 35,995.65 44,102.5 1 61,479.37 56,098.42 58,096.30 -8.75 3.56 นำเข้า 2,314.35 2,784.68 2,390.90 3,893.87 2,989.59 3,586.48 -23.22 19.97 ดุลการ ค้า 28,625.3 6 33,210.97 41,711.6 1 57,585.50 53,108.83 54,509.82 -7.77 2.64 ที่มา: ด่านศุลกากรจังหวัดหนองคาย

สถิติการค้าชายแดน ปี 2552 - 2557 ล้านบาท ที่มา: ด่านศุลกากรจังหวัดหนองคาย

การส่งออกสินค้าด่านจังหวัดหนองคาย ในปี 2557 ลำดับ รายการ มูลค่า (บาท) 1 น้ำมันปิโตรเลียม 15,094,686,583.33 2 รถยนต์นั่งที่มีกระบะ พร้อมเครื่องปรับอากาศเครื่องยนต์ดีเซลเครื่องยนต์ดีเซลไม่เกิน 3,000 ซีซี. 5,769,681,553.92 3 รถยนต์นั่งกึ่งบรรทุก พร้อมเครื่องปรับอากาศขับเคลื่อน สี่ล้อ 4,566,358,586.21 4 โทรศัพท์มือถือ, เครื่องโทรสาร 1,324,887,434.55 5 ของปรุงแต่งที่ใช้ในการเลี้ยงสัตว์ 1,082,589,625.51 6 เครื่องดื่มรวมถึงน้ำอัดลมที่มีน้ำตาลหรือสารทำให้หวาน อื่นๆ (ไม่มีแอลกอฮอล์) 985,943,068.69 7 ของอื่นๆ ทำด้วยพลาสติก 879,701,280.54 8 เหล็กเส้นกลม,เหล็กเส้นข้ออ้อย 810,381,181.10 9 รถจักรยานยนต์และอะไหล่ 371,633,992.91 10 ลูกเหล็ก 351,172,454.81 ที่มา: ด่านศุลกากรจังหวัดหนองคาย

จำนวนนักท่องเที่ยวและรายได้ ปี 2555-2556 รายการ 2555 2556 จำนวนนักท่องเที่ยว 2,103,000 2,349,340 รายได้ (ล้านบาท) 3,505.47 4,126.79 ที่มา : ข้อมูลจากกรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ณ วันที่ 9 ธันวาคม 2557

จำนวนนักท่องเที่ยวและรายได้ ปี 2555-2556 พันคน ล้านบาท ที่มา : ข้อมูลจากกรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

โครงการที่นำเสนอ โครงการพัฒนาธุรกิจเกี่ยวกับการท่องเที่ยว โครงการจัดทำฐานข้อมูลเกี่ยวกับ โลจิสติกส์

ปัญหา/อุปสรรคที่อาจเกิดขึ้น (1) บุคลากรภาครัฐและประชาชนขาดความรู้และทักษะด้าน ภาษาอังกฤษและภาษาในประเทศกลุ่ม อาเซียน ซึ่งจะมี ผลกระทบต่อการค้าการลงทุนและการบริกา (2) การสร้างมูลค่าของสินค้าเกษตรกรรม ยังไม่มีความชัดเจน เนื่องจากเกษตรกรขาดการรวมตัวที่เข้มแข็ง หน่อยงานภาครัฐและ เอกชนยังขาดการสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง (3) ปัญหาความยาวของอาณาเขตพื้นที่ชายแดนตามลำน้ำโขงส่งผล ต่อสินค้าหนีภาษี การค้ามนุษย์ การค้ายาเสพติด การลักลอบค้า สัตว์ป่า ตลอดจนแรงงานต่างด้าวและปัญหาการลักลอบขนส่งสินค้า ผิดกฎหมาย และยาเสพติดและลักลอบเข้าเมืองของคนต่างด้าว (4) ขาดแคลนแรงงานในพื้นที่สำหรับแรงงานประเภทอุตสาหกรรม อาหาร และขาดแคลนแรงงานภาคการเกษตร 5) การลักลอบตัดไม้ ทำลายป่า ป่าไม้เสื่อมโทรม การจัดการขยะ ไม่ถูกวิธี ไม่มีระบบบำบัดน้ำเสียชุมชนเมือง

สรุป จากศักยภาพทางจังหวัดหนองคายที่มีทั้งการเป็นเส้นทางคมนาคม เชื่อมต่อระหว่างประเทศ ไทย กับ สปป.ลาว มีการค้า ชายแดนที่มีมูลค่าสูงเป็นต้นทุน บ้านเมืองมีความสงบเรียบร้อย ประชาชนมีวิถีชีวิตความเป็นอยู่ที่เรียบง่าย อยู่ในสังคม และ วัฒนธรรมที่ดี เมื่อมีปัจจัยภายนอกเข้ามาเกื้อกูลทั้งการเปิด ประชาคมอาเซียน ความร่วมมือของประเทศในเขตอยู่อนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง (GMS) ความร่วมมือในการพัฒนาเศรษฐกิจและรถไฟความเร็วสูงระหว่าง สาธารณรัฐประชาชนจีน กับ สปป.ลาว การพัฒนาการขนส่ง ตามแนวแกน เหนือ - ใต้ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 ) ทั้งหมดจะส่งผลให้การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษหนองคายมี ความสมบูรณ์ หนองคายจะกลายเป็นเขตเศรษฐกิจสำคัญที่สุดใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อย่างไรก็ตามต้องไม่ลืมว่าในการ พัฒนานั้นแม้จะนำมาซึ่งโอกาสอันเป็นผลดีต่อภาคเศรษฐกิจ แต่ ในทางกลับกันก็นำมาซึ่งผลกระทบทางด้านสังคม และ สิ่งแวดล้อมซึ่งจำเป็นต้องพิจารณาควบคู่ไปกับการพัฒนาด้วย เช่นกัน

ภาพจำลองเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษบึงธาตุหลวง สปป.ลาว

ขอบคุณครับ