งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

E. I. SQUARE. All rights reserved

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "E. I. SQUARE. All rights reserved"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Copyright @ 2014 E. I. SQUARE. All rights reserved
E.I.SQUARE. All rights reserved. Please contact

2 Beer Game เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยของ ศาสตราจารย์ Jay W. Forrester ในเรื่อง Industrial Dynamics (พลวัตอุตสาหกรรม) พัฒนาต่อโดย Sloan School of Management แห่งสถาบัน MIT (System Dynamics Group) ในต้นทศวรรษ 1960 เล่นเพื่อแนะนำหลักการสำคัญที่ว่า “Structure Produces Behavior” หรือ “โครงสร้างมีอิทธิพลต่อพฤติกรรม” ปัจจุบัน นำมาใช้สำหรับการเรียนรู้เรื่อง “การจัดการโซ่อุปทาน” โดยนำมาเล่นในการฝึกอบรมทั้งระดับผู้บริหารและนักศึกษาทั่วโลก

3 Production-Distribution Game
ในแต่ละ Chain หรือโซ่อุปทาน จะมี 4 ตำแหน่ง: ผู้ผลิต ผู้กระจายสินค้า ผู้ค้าส่ง ผู้ค้าปลีก เบียร์จะแทนด้วยเหรียญ 1 ลัง 5 ลัง 10 ลัง

4 Production-Distribution Game
การสั่งซื้อเบียร์ สั่งผ่านใบคำสั่งซื้อ ด้านหน้า ด้านหลัง ผู้ผลิต ใบคำสั่งซื้อ สีเขียว ผู้กระจายสินค้า ใบคำสั่งซื้อ สีม่วง ผู้ค้าส่ง ใบคำสั่งซื้อ สีฟ้า ผู้ค้าปลีก ใบคำสั่งซื้อ สีเหลือง

5 ตรวจเช็คอุปกรณ์เกม เบียร์ 12 ลัง (เหรียญสีแดง 12 เหรียญ) ในคลัง
เบียร์ 12 ลัง (เหรียญสีแดง 12 เหรียญ) ในคลัง ผู้ผลิต ผู้กระจายสินค้า ผู้ค้าส่ง ผู้ค้าปลีก

6 ตรวจเช็คอุปกรณ์เกม ผู้ผลิต ผู้กระจายสินค้า ผู้ค้าส่ง ผู้ค้าปลีก

7 Information VS Physical Flows
การไหลของข้อมูล ผู้ผลิต ผู้กระจายสินค้า ผู้ค้าส่ง ผู้ค้าปลีก การไหลของผลิตภัณฑ์

8 ให้มีต้นทุน/สินค้าคงคลังที่ต่ำที่สุด
เป้าหมาย จัดการตำแหน่งของคุณ ให้มีต้นทุน/สินค้าคงคลังที่ต่ำที่สุด ในขณะที่ สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้

9 มีคำสั่งซื้อและการจัดส่ง ทุกคนต้องเล่นไปทีละสัปดาห์ๆ พร้อมๆ กัน
กฎที่สำคัญ มีคำสั่งซื้อและการจัดส่ง ทุกๆ สัปดาห์ ทุกคนต้องเล่นไปทีละสัปดาห์ๆ พร้อมๆ กัน ไม่เล่นเร็ว หรือช้าเกินไป

10 กฎระเบียบ ห้ามสื่อสาร ระหว่างตำแหน่ง!!!

11 ทุกๆ ตำแหน่งห้ามเผยข้อมูล
กติกา ทุกๆ ตำแหน่งห้ามเผยข้อมูล ให้ผู้เล่นตำแหน่งอื่นทราบ!!!

12 วิธีคิดต้นทุน ต้นทุนสินค้าคงคลัง (Inventory Cost) 1 บาท/ลัง/สัปดาห์
คิดจากสินค้าที่อยู่ในคลังเท่านั้น ต้นทุนค่าค้างส่ง (Cost of Backlog) 2 บาท/ลัง/สัปดาห์ เป็นค้างส่งที่ต้องสะสมจากสัปดาห์ก่อนหน้าด้วย ต้นทุนอื่นๆ ถือว่าเท่ากันทุก Chain

13 ถ้ามีสินค้าค้างส่ง จะไม่มีสินค้าคงคลัง
สำคัญ! เมื่อมีคำสั่งค้างส่ง ต้องส่งเติมให้เต็ม เมื่อมีสินค้าพอส่ง หากส่งไม่ได้จะถูกสะสมไปเรื่อยๆ ถ้ามีสินค้าค้างส่ง จะไม่มีสินค้าคงคลัง เมื่อจบเกมแล้ว จะรวม ต้นทุนสินค้าคงคลังทุกสัปดาห์ ต้นทุนค่าค้างส่งทุกสัปดาห์

14 การคำนวณสินค้าค้างส่ง
เป็นยอดที่ต้องสะสมจากสัปดาห์ก่อนด้วย วิธีคำนวณ สินค้าค้างส่งสะสมสัปดาห์ก่อน + คำสั่งซื้อจากลูกค้าสัปดาห์นี้ = สินค้าที่ต้องส่ง - สินค้าคงคลังที่ส่งได้ในสัปดาห์นี้ = สินค้าค้างส่งสะสม

15 เทศกาลเบียร์ เทศกาลเข้าพรรษา สัปดาห์ที่ 12 – 17
จากการเก็บสถิติ ความต้องการจะเพิ่มเป็น 2 เท่าเมื่อเทียบกับช่วงปกติ เทศกาลเข้าพรรษา สัปดาห์ที่ 30 – 35 จากสถิติ ความต้องการจะลดลงครึ่งหนึ่งเมื่อเทียบกับช่วงปกติ

16 ขั้นตอนการเล่น รับสินค้า รับคำสั่งซื้อ จัดส่งสินค้า สั่งซื้อ

17 ขั้นตอนการเล่น รับสินค้า รับคำสั่งซื้อ จัดส่งสินค้า สั่งซื้อ

18 ขั้นตอนการเล่น รับสินค้า รับคำสั่งซื้อ จัดส่งสินค้า สั่งซื้อ
ผู้ค้าปลีก

19 ขั้นตอนการเล่น รับสินค้า รับคำสั่งซื้อ จัดส่งสินค้า สั่งซื้อ
ผู้ค้าปลีก

20 ขั้นตอนการเล่น รับสินค้า รับคำสั่งซื้อ จัดส่งสินค้า สั่งซื้อ
ผู้ค้าปลีก

21 ขั้นตอนการเล่น รับสินค้า รับคำสั่งซื้อ จัดส่งสินค้า สั่งซื้อ
ผู้ค้าปลีก

22 ขั้นตอนการเล่น รับสินค้า รับคำสั่งซื้อ จัดส่งสินค้า สั่งซื้อ
ผู้ค้าปลีก

23 ขั้นตอนการเล่น รับสินค้า รับคำสั่งซื้อ จัดส่งสินค้า สั่งซื้อ
ผู้ค้าปลีก

24 เขียนตำแหน่งและชื่อทีมของคุณลงใน
ตั้งชื่อทีม! เขียนตำแหน่งและชื่อทีมของคุณลงใน ใบบันทึกข้อมูล

25 ใบบันทึกข้อมูล

26 ใบบันทึกข้อมูล

27 ตัวอย่างการเล่นเบียร์เกม

28 พร้อมเล่น ? …

29 Week # 1

30 Week # 2

31 Week # 3

32 Week # 4

33 Week # 5

34 ทราบไหมว่า LEAD TIME เท่าไร? ใช้เวลากี่สัปดาห์ จึงจะได้รับสินค้า ?

35 5 ได้รับใน week..... สั่งซื้อสินค้าใน week 1
ยกเว้น ผู้ผลิต ที่ได้รับในสัปดาห์ที่ 4 ดังนั้น Lead Time = 4 สัปดาห์ (ผู้ผลิต = 3 สัปดาห์)

36 Week # 6

37 Week # 7

38 Week # 8 อีก 4 สัปดาห์ถึงเทศกาลเบียร์

39 Week # 9 อีก 3 สัปดาห์ถึงเทศกาลเบียร์

40 Week # 10 อีก 2 สัปดาห์ถึงเทศกาลเบียร์

41 Week # 11 อีก 1 สัปดาห์ถึงเทศกาลเบียร์

42 Week # 12 เทศกาลเบียร์

43 Week # 13 เทศกาลเบียร์

44 Week # 14 เทศกาลเบียร์

45 Week # 15 เทศกาลเบียร์

46 Week # 16 เทศกาลเบียร์

47 Week # 17 เทศกาลเบียร์

48 Week # 18

49 Week # 19

50 Week # 20

51 เกิดอะไรขึ้น?

52 ผลของเกมในสัปดาห์ที่ 1-20 โดยทั่วไป: Boom and Bust
คำสั่งซื้อผู้กระจายสินค้า คำสั่งซื้อผู้ค้าปลีก ปริมาณคำสั่งซื้อ คำสั่งซื้อ ผู้บริโภค แผนการผลิต What is shown here is how divergent these various forecasts are in relation to real demand. Why?? Because they are developed independently from each other and are dated, and unconnected to each other and the daily fluctuations in the market เวลา Source: Tom Mc Guffry, Electronic Commerce and Value Chain Management, 1998

53 สิ่งที่ผู้บริหารได้ ปริมาณคำสั่งซื้อ คำสั่งซื้อ ผู้บริโภค แผนการผลิต What is shown here is how divergent these various forecasts are in relation to real demand. Why?? Because they are developed independently from each other and are dated, and unconnected to each other and the daily fluctuations in the market เวลา Source: Tom Mc Guffry, Electronic Commerce and Value Chain Management, 1998

54 สิ่งที่ผู้บริหารต้องการ…
ปริมาณคำสั่งซื้อ คำสั่งซื้อ ผู้บริโภค แผนการผลิต What is shown here is how divergent these various forecasting are in relation to real demand. Why?? Because they are developed independently from each other and are dated, and unconnected to each other and the daily fluctuations in the market เวลา Source: Tom Mc Guffry, Electronic Commerce and Value Chain Management, 1998

55 กติกาเกมใหม่

56 นโยบายจากประธานบริษัท
จากที่มีสินค้าคงคลังและต้นทุนที่เกี่ยวข้องสูงขึ้น จึงมีนโยบายใหม่จากประธาน เพื่อจัดการกับสินค้าคงคลังส่วนเกิน ให้อยู่ในระดับที่จำเป็นในการดำเนินธุรกิจ และจะแต่งตั้ง ผู้จัดการ Supply Chain ในการจัดการโซ่อุปทานทั้งหมด ผู้ค้าปลีก ผู้ค้าส่ง ผู้จัดจำหน่าย และผู้ผลิต ที่อยู่ใน chain ควรร่วมมือกัน โดยแบ่งปันข้อมูลความต้องการและกำลังการผลิตในการสนองความต้องการของทุกๆ คนให้แก่ผู้จัดการ Supply Chain และผู้จัดการจะควบคุม Chain ทั้งหมดอย่างเหมาะสม

57 กติการใหม่ เป้าหมายเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคได้ โดยจัดการทั้งโซ่อุปทาน ทุกตำแหน่งคือทีมเดียวกัน ต้นทุนคิดจากทั้งโซ่อุปทาน ปรึกษาหารือ ส่งข้อมูลให้กันได้ หงายคำสั่งซื้อได้ สิ่งเดียวที่ยังไม่เปลี่ยนคือ “ไม่ทราบ” คำสั่งซื้อของผู้บริโภคล่วงหน้า Supply Chain Manager เป็นผู้ตัดสินใจขั้นสุดท้าย

58 ปรับอุปกรณ์ใหม่...เพื่อเล่นในกติกาใหม่
Supply Chain Manager ร่วมพิจารณากับผู้เล่นทุกตำแหน่ง เพื่อปรับยอดให้เหมาะสม: พิจารณาสินค้าคงคลัง สินค้าคงคลังที่อยู่ระหว่างการจัดส่ง พิจารณายอดคำสั่งซื้อที่สั่งซื้อไปแล้วและยังไม่ได้รับสินค้า สินค้าค้างส่งของสัปดาห์ที่ 20 ข้อมูลสัปดาห์ที่ 1-20 ไม่นำมาคิด ให้เริ่มใหม่ที่สัปดาห์ที่ 21

59 Week # 20

60 Week # 21

61 Week # 22

62 Week # 23

63 Week # 24

64 Week # 25

65 Week # 26 อีก 4 สัปดาห์ถึงเข้าพรรษา

66 Week # 27 อีก 3 สัปดาห์ถึงเข้าพรรษา

67 Week # 28 อีก 2 สัปดาห์ถึงเข้าพรรษา

68 Week # 29 อีก 1 สัปดาห์ถึงเข้าพรรษา

69 Week # 30 เข้าพรรษา

70 Week # 31 เข้าพรรษา

71 Week # 32 เข้าพรรษา

72 Week # 33 เข้าพรรษา

73 Week # 34 เข้าพรรษา

74 Week # 35 เข้าพรรษา

75 Week # 36

76 Week # 37

77 Week # 38

78 Week # 39

79 Week # 40

80 ใบบันทึกข้อมูล X 2 B X 2 B I I รวมต้นทุน 21-40 รวมต้นทุน 1-20

81 สรุป คำนวณต้นทุนรวมของทั้ง Chain พล็อตกราฟคำสั่งซื้อ
ของ ผู้ผลิต + ผู้กระจายสินค้า + ผู้ค้าส่ง + ผู้ค้าปลีก สัปดาห์ที่ และสัปดาห์ที่ 21-40 พล็อตกราฟคำสั่งซื้อ ของ ผู้ผลิต, ผู้กระจายสินค้า, ผู้ค้าส่ง, ผู้ค้าปลีก พล็อตกราฟสินค้าคงคลัง/สินค้าค้างส่ง ผู้ผลิต ใช้ปากกา สีเขียว ผู้กระจายสินค้า ใช้ปากกา สีม่วง ผู้ค้าส่ง ใช้ปากกา สีฟ้า ผู้ค้าปลีก ใช้ปากกา สีเหลือง

82 คำสั่งซื้อ ปริมาณ ผู้ค้าปลีก ผู้ค้าส่ง ผู้กระจายสินค้า ผู้ผลิต สัปดาห์

83 คำสั่งซื้อ ปริมาณ ผู้ค้าปลีก ผู้ค้าส่ง ผู้กระจายสินค้า ผู้ผลิต สัปดาห์

84 Bullwhip Effect - ปรากฏการณ์แส้ม้า
เหตุการณ์ที่...อุปสงค์ที่ระดับต้นน้ำ (ระดับการผลิต) ของโซ่อุปทานมักมีความแปรผันสูงกว่าอุปสงค์ที่ระดับปลายน้ำ (ระดับค้าปลีก) เนื่องจากการสั่งซื้อเป็นชุด ความผิดพลาดของการพยากรณ์ การกำหนดราคาเพื่อส่งเสริมการขาย และพฤติกรรมการเล่นเกมของลูกค้า

85 องค์ประกอบที่ทำให้เกิด Bullwhip Effect
การทำงานเป็นชุด (Batching) ผู้บริโภคซื้อทีละหน่วย แต่ผู้ค้าปลีกสั่งเป็นชุด (Batch) และผู้ค้าส่งสั่งเป็นชุดที่ใหญ่กว่า ผลลัพธ์ก็คือ อุปสงค์ของลูกค้าที่ค่อนข้างจะคงที่กลับถูกแปลงให้กลายเป็นอุปสงค์ที่แปรปรวนมากในระดับผู้ผลิต การพยากรณ์ (Forecasting) การพยากรณ์อุปสงค์ขยายความแปรผันให้เพิ่มมากขึ้นอีก สาเหตุก็คือแต่ละบริษัทจะรับมือกับอุปสงค์ต่างกันและเพิ่ม “กันชน” (Buffer) เพื่อป้องกัน ผู้ผลิตซึ่งอยู่ต้นน้ำมากที่สุด ก็จะเห็นยอดที่องค์กรต้นน้ำพยากรณ์และปรับแต่งมาแล้ว

86 องค์ประกอบที่ทำให้เกิด Bullwhip Effect
การกำหนดราคา (Pricing Scheme) การกำหนดราคาเพื่อส่งเสริมการขาย อาจทำให้อุปสงค์พุ่งขึ้นสูงได้ เมื่อใดราคาต่ำ ได้ ลูกค้ามัก “ซื้อล่วงหน้า” โดยการซื้อมากกว่าที่จำเป็น ส่งผลทำให้อุปสงค์แปรผันมากขึ้น พฤติกรรมการเล่นเกม เมื่อผลิตภัณฑ์ขาด ผู้จัดส่งวัตถุดิบจะจัดสรรให้กับลูกค้าเป็นสัดส่วนตามปริมาณที่สั่งซื้อ ลูกค้าจึงสั่งมากเกินจริงเพื่อเพิ่มสัดส่วนผลิตภัณฑ์ที่จะได้รับ และเมื่อได้รับผลิตภัณฑ์ครบ ลูกค้าก็จะยกเลิกคำสั่งซื้อส่วนเกิน ผลก็คือการแกว่งตัวของอุปสงค์ถูกขยายให้แปรผันมากขึ้น

87 วิธีการบรรเทาผลจาก Bullwhip Effect
ลดแรงจูงใจในการทำงานเป็นชุด นโยบายส่งเสริมการเติมสินค้าคงคลังในปริมาณน้อยๆ จึงลดผลกระทบในส่วนนี้ ลดต้นทุนในการออกคำสั่งซื้อเพื่อเติม ใช้ประโยชน์จาก EDI รวมคำสั่งซื้อเพื่อให้เต็มรถบรรทุก การใช้บริการผู้ให้บริการลอจิสติกส์ (Logistics Service Provider) สามารถช่วยได้ ปรับปรุงการพยากรณ์ นโยบายที่ปรับปรุงความสามารถรับรู้และเห็นข้อมูล หรือความโปร่งใส (Visibility) จะช่วยลดความแปรผันของอุปสงค์ แบ่งปันข้อมูลอุปสงค์ ให้ผู้ค้าจัดการสินค้าคงคลัง (Vendor-managed Inventory : VMI) ลดเวลานำ (Lead Time)

88 วิธีการบรรเทาผลจาก Bullwhip Effect
ทำให้ราคามีเสถียรภาพมากขึ้น นโยบายที่ช่วยให้ราคามีเสถียรภาพมากขึ้นจึงช่วยลดความแปรผันของอุปสงค์ ราคาถูกทุกวัน ขจัดแรงจูงใจในพฤติกรรมการเล่นเกม นโยบายที่ขจัดแรงจูงใจของพฤติกรรมแบบนี้จึงช่วยลดความแปรผันของอุปสงค์ จัดสรรสินค้าในช่วงขาดแคลนตามการขายในอดีต จำกัดการยกเลิกคำสั่ง

89 บทเรียนที่ได้จาก Beer Game
Structure Influences Behavior : โครงสร้างมีอิทธิพลต่อพฤติกรรม ไม่ว่าจะเป็นใคร หากอยู่ในโครงสร้างเดียวกัน มีแนวโน้มที่จะทำผลผลัพธ์ได้คล้ายกัน แต่ที่จริงแล้ว “ระบบ” ต่างหากที่ก่อให้เกิดวิกฤตเหล่านั้น Structure in Human Systems is Subtles : โครงสร้างในระบบมนุษย์ละเอียดอ่อน พวกเราต้องมองให้เห็น “โครงสร้าง” ที่เป็นพื้นฐานที่ทำให้แต่ละคนกระทำสิ่งต่างๆ ที่ก่อให้เกิดสภาวะที่เหตุการณ์เหล่านั้นเกิด ต้องมองให้เกินไปกว่า “ความเป็นส่วนบุคคล” และ “เหตุการณ์” (Events) Leverage Often Comes from New Ways of Thinking : ทางแก้ไขที่พลิกผันมักมาจากการคิดในรูปแบบใหม่ๆ เสมอ ดัดแปลงจากหนังสือ The Fifth Discipline

90 บทเรียนที่ได้จาก Beer Game
ผู้เล่นส่วนใหญ่ “การจัดการตำแหน่งของตนให้ดี” โดยละทิ้งส่วนที่เหลือของระบบไป สิ่งที่ต้องเปลี่ยนไปคือ ผู้เล่นต้องมองว่าตำแหน่งของตนมีปฏิสัมพันธ์กับระบบที่ใหญ่กว่าอย่างไร มีมุมมองที่กว้างขึ้น ไม่สั่งซื้อเพียงเพราะว่าไม่มีสินค้า เพราะการสั่งซื้อของคุณอาจทำให้เกิดวงจรเสื่อมถอย (Vicious Cycle) เพื่อให้คุณประสบความสำเร็จ ผู้อื่นต้องประสบความสำเร็จเช่นกัน โครงสร้างก่อให้เกิดพฤติกรรม และการแก้ไขโครงสร้างที่เป็นรากฐานก็สามารถทำให้เกิดรูปแบบของพฤติกรรมที่แตกต่างไปได้ โครงสร้างในระบบมนุษย์รวมถึง “นโยบายการดำเนินงาน” ของผู้มีอำนาจตัดสินใจในระบบ การออกแบบการตัดสินใจของพวกเรากันเองใหม่จะเป็นการออกแบบโครงสร้างระบบด้วย ดัดแปลงจากหนังสือ The Fifth Discipline

91 หุ้นส่วนพันธมิตร ประเด็นสำคัญของการเป็นหุ้นส่วนพันธมิตร (เป็น Partnership ซึ่งมากกว่า Alliance) ความไว้วางใจและความซื่อสัตย์ต่อกันระหว่างแต่ละฝ่าย แต่ละฝ่ายจำเป็นจะต้องมีเปลี่ยนแปลงวิธีการดำเนินธุรกิจของตนในบางเรื่อง

92 หุ้นส่วนพันธมิตร ทำงานร่วมกัน (Collaboration) ระหว่างหุ้นส่วนพันธมิตรในการ Collaboration เป็นมากกว่า Cooperation, Coordination แบ่งปันผลประโยชน์และต้นทุนที่จะเกิดขึ้นจากการจัดการโซ่อุปทาน ให้มีประสิทธิภาพขึ้น Win – Win – Win ชนะทั้ง 3 ฝ่าย องค์กรของคุณ ผู้จัดส่งวัตถุดิบ และลูกค้า

93 ผู้จัดการโซ่อุปทาน (Supply Chain Manager)
วาทยากรหรือผู้ควบคุมวงดุริยางค์ (Supply Chain Manager) การควบคุมและให้สัญญาณ (Information) เครื่องดนตรีและนักดนตรี คือ กระบวนการการสร้างเสียงเพลง (Value Added Process) ซึ่งคือ สินค้าที่ลูกค้าต้องการฟัง

94 QUESTION E.I.SQUARE. All rights reserved. Please contact E.I.SQUARE. All rights reserved. Please contact


ดาวน์โหลด ppt E. I. SQUARE. All rights reserved

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google