งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การวางแผนพัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การวางแผนพัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การวางแผนพัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
นำเสนอ: วิชิตร์ แสงทองล้วน ธนศักดิ์ มังกโรทัย

2 เจตนารมณ์และหลักการของการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
ส่วนที่ 1 บริบทของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับการบริหารงานจังหวัดและ กลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ การจัดตั้งกลุ่มจังหวัดและการกำหนดจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด กลไกในการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ

3 บริบทของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับการบริหารงานจังหวัดและ กลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
3

4 บริบทด้านกฎหมาย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 78(2) กำหนดให้รัฐต้องดำเนินการสนับสนุนให้จังหวัดมีแผนและงบประมาณเพื่อพัฒนาจังหวัด เพื่อประโยชน์ของประชาชนในพื้นที่ มาตรา 87(1) กำหนดให้รัฐต้องดำเนินการส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วม ในการกำหนดนโยบายและวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมทั้งในระดับ ชาติและระดับท้องถิ่น มาตรา 283 วรรคแรก องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอํานาจหน้าที่ดูแลและ จัดทําบริการสาธารณะ และมีความเป็นอิสระในการกําหนดนโยบาย การบริหาร การจัดบริการสาธารณะ การบริหารงานบุคคล การเงินและการคลัง โดยต้องคํานึงถึงความสอดคล้องกับการพัฒนาของจังหวัดและประเทศเป็น ส่วนรวมด้วย 4

5 บริบทด้านกฎหมาย พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ ที่แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 มาตรา 52 วรรคสาม เพื่อประโยชน์ในการบริหารงานแบบบูรณาการในจังหวัดหรือกลุ่มจังหวัด ให้จังหวัดหรือกลุ่มจังหวัดยื่นคำขอจัดตั้งงบประมาณได้ และเป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ มาตรา 53/1 แผนพัฒนาจังหวัดต้องสอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับชาติ และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นในจังหวัด ผู้ว่าราชการจังหวัดจัดให้มีการประชุมปรึกษาหารือร่วมกันระหว่างหัวหน้าส่วนราชการในจังหวัดทั้งส่วนภูมิภาค ส่วนกลางและผู้บริหารท้องถิ่นทั้งหมดในจังหวัด รวมทั้งผู้แทนภาคประชาสังคม และผู้แทนภาคธุรกิจเอกชน แผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และการดำเนินกิจการของส่วนราชการและหน่วยงานอื่นของรัฐทั้งปวงที่กระทำในพื้นที่จังหวัดต้องสอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัด 5

6 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550
เจตนารมณ์ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 และ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 การพัฒนา Development Model ยึดพื้นที่ Area-based Approach การจัดการที่ดี Governance Model ความร่วมมือ Collaboration/ Joined-Up Government ยึดพื้นที่เป็นหลักในการพัฒนาเพื่อกระจายการ พัฒนาและลดความเหลื่อมล้ำของความ เจริญเติบโตระหว่างพื้นที่ต่างๆ ในประเทศ แบ่งเป็น 18 กลุ่มจังหวัดและ 75 จังหวัด (กลุ่ม จังหวัดเน้นยุทธศาสตร์เรี่องการสร้าง competitiveness จังหวัดเน้นยุทธศาสตร์เรื่อง พัฒนาสังคม รวมถึงการสร้างโอกาสและอาชีพ) ต้องการให้แต่ละพื้นที่มี position ในการพัฒนาที่ ชัดเจน และผ่านการเห็นชอบร่วมกันทุกฝ่าย เพื่อให้เกิดความยั่งยืนและร่วมมือร่วมใจกัน การจัดการความสัมพันธ์แนวดิ่งระหว่างส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น แบ่งหน้าที่กันทำตามแต่ละยุทธศาสตร์ (มา เจรจาและทำข้อตกลงร่วมกัน) ลดความซ้ำซ้อนของการใช้งบประมาณ แผ่นดิน หรือระดมทรัพยากรเข้ามาใช้ร่วมกัน ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ การจัดการความสัมพันธ์แนวนอนระหว่างภาครัฐและ ภาคส่วนอื่นในสังคม (ภาคเอกชน และภาคประชา สังคม) ประสานการลงทุนภาคเอกชน และเชื่อมโยง เข้ากับแผนชุมชน กำหนดให้ ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นตัว linkage ฝ่าย ต่างๆ เข้าด้วยกัน 6 6

7 หลักการสำคัญตามกฎหมาย การมีส่วนร่วม ของทุกภาคส่วน
ระหว่างนโยบายการพัฒนาประเทศ นโยบายของ รัฐบาลกับความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น ความต้องการและศักยภาพของประชาชน ความ พร้อมของภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชน และความ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ระดับ ความสอดคล้อง และเชื่อมโยง การมีส่วนร่วม ของทุกภาคส่วน ผู้ว่าราชการจังหวัดประสานและสร้าง การมีส่วนร่วม เปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนได้เข้ามาร่วม ในการกำหนดยุทธศาสตร์ การจัดทำแผน พัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดเพื่อให้เกิด ความเห็นพ้องต้องกันในยุทธศาสตร์ของ จังหวัดและกลุ่มจังหวัด และร่วมรับผิดชอบ ต่อการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ การบูรณาการ บูรณาการตั้งแต่กระบวนการวางแผน กระบวนการ กำหนดยุทธศาสตร์ การบริหารตามแผนและ ยุทธศาสตร์ รวมไปถึงการบูรณาการระหว่าง แผนงานและแผนงบประมาณ การบูรณาการระหว่างภาครัฐ ภาคท้องถิ่น และ ภาครัฐกับภาคธุรกิจเอกชน 7

8 พันธมิตร มหภาค กระแสโลกาภิวัตน์ การรวมกลุ่มภูมิภาค ภาควิชาการ
Global Reach มหภาค กระแสโลกาภิวัตน์ การรวมกลุ่มภูมิภาค ผลประโยชน์ของชาติ ภาควิชาการ การแข่งขันความร่วมมือ ภาคธุรกิจ/เอกชน วาระแห่งชาติ นโยบายรัฐบาล แผนการบริหารราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด/จังหวัด รัฐธรรมนูญ พันธมิตร ผู้ว่าราชการจังหวัด แบบบูรณาการ ชุมชน/ประชาชน การสนับสนุน ข้อเรียกร้อง/ ความต้องการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น Local Link จุลภาค 8 8 8 8

9 การจัดตั้งกลุ่มจังหวัดและการกำหนดจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของ กลุ่มจังหวัด
9

10 กลุ่มจังหวัด การจัดตั้ง
ให้ ก.น.จ. เป็นผู้พิจารณาจัดตั้งกลุ่มจังหวัดและจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด และเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ การจัดตั้งกลุ่มจังหวัดและจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัดดังกล่าวให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดของจังหวัด เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัดทำหน้าที่เป็นหัวหน้ากลุ่มจังหวัด เว้นแต่ ก.น.จ. จะกำหนดเป็นอย่างอื่น 10

11 กรอบแนวคิด การจัดกลุ่มจังหวัดในประทศไทย
1. ไม่ใช่พื้นที่ทางการปกครอง 2. เป็นพื้นที่ในการบริหารเชิงยุทธศาสตร์ เพราะตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติอย่างเกิดประโยชน์สูงสุด 3. ประสานความร่วมมือ สรรพกำลัง และทรัพยากรระหว่างจังหวัดในกลุ่มให้สอดคล้องกับปัญหาและศักยภาพ

12 แนวทาง การกำหนดจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการกลุ่มจังหวัด
ต้องเป็นจังหวัดที่มีลักษณะสอดคล้องกับลักษณะข้อใดข้อหนึ่งหรือมากกว่า 1.เป็นจังหวัดที่มีการคมนาคม ติดต่อสื่อสารและเชื่อมโยงระหว่างจังหวัดในกลุ่มได้สะดวก 2. เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ และสามารถขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. เป็นศูนย์กลางทางสังคมและวัฒนธรรม หรือเป็นศูนย์กลางทางการศึกษาที่สามารถสนับสนุนความรู้ทางวิชาการให้กับจังหวัดภายในกลุ่มจังหวัดได้ 4. เป็นศูนย์กลางของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และธุรกิจต่าง ๆ 5. เป็นจังหวัดที่มีศักยภาพและความพร้อมที่จะให้การสนับสนุนการดำเนินการในเรื่องแผนงาน งบประมาณ และทรัพยากรทางการบริหารให้กับจังหวัดอื่นในกลุ่มได้

13 วิวัฒนาการการจัดตั้งกลุ่มจังหวัด
กลุ่มจังหวัด 19 กลุ่ม ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2546 กลุ่มจังหวัด 18 กลุ่ม ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2551 กลุ่มจังหวัด 18 กลุ่ม ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่17 กุมภาพันธ์ 2552 13

14 กลุ่มจังหวัดและจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการกลุ่มจังหวัด
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2552 เห็นชอบให้มีการจัดตั้งกลุ่มจังหวัด จำนวน 18 กลุ่มจังหวัด และกำหนดจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด

15 หัวหน้ากลุ่มจังหวัด (มติ ก.น.จ. ครั้งที่ 1/2552 วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552) กำหนดให้ผู้ว่าราชการจังหวัดของจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด ทำหน้าที่เป็นหัวหน้ากลุ่มจังหวัด ตามข้อกำหนดของพระราชกฤษฎีกา เฉพาะกลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน (สงขลา สตูล ยะลา ปัตตานี นราธิวาส) ให้ผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัด ชายแดนภาคใต้ (ผอ.ศอ.บต.) ทำหน้าที่หัวหน้ากลุ่มจังหวัด กลุ่มภาคใต้ชายแดน เรื่องการจัดตั้งกลุ่มจังหวัด และจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด (ได้รับการประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 126 ตอนพิเศษ 28ง วันที่ 18 ก.พ. 52)

16 หลักการและกลไก การบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
16

17 หลักการ การบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
เป็นไปตามแผนพัฒนาจังหวัดหรือแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด สร้างโอกาสและส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมระหว่างภาครัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมในจังหวัด กระจายอำนาจการตัดสินใจลงไปสู่ระดับผู้ปฏิบัติ การส่งเสริมและสนับสนุนให้ท้องถิ่นมีความพร้อมในการรองรับการกระจายอำนาจ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 17

18 กลไกการบริหารงานจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
คณะกรรมการนโยบาย การบริหารงานจังหวัดและ กลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ ระดับชาติ ก.น.จ. นายกรัฐมนตรี ระดับกลุ่มจังหวัด ก.บ.ก. คณะกรรมการบริหารงานกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ หัวหน้ากลุ่มจังหวัด ระดับจังหวัด ก.บ.จ. จังหวัด 2 คณะกรรมการบริหารงานจังหวัด แบบบูรณาการ จังหวัด 4 ผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัด 1 จังหวัด 3 องค์ประกอบหลัก: 1-ภาครัฐ 2-ผู้บริหารท้องถิ่น 3-ภาคธุรกิจเอกชน 4-ภาคประชาสังคม 18

19 ประธาน: หัวหน้ากลุ่มจังหวัด
ก.บ.ก. องค์ประกอบ ประธาน: หัวหน้ากลุ่มจังหวัด มาตรา 12 รองประธานกรรมการ ผู้ว่าราชการจังหวัดในกลุ่มจังหวัดทุกจังหวัด กรรมการ ผู้แทนหัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัดในกลุ่มจังหวัดที่ผู้ว่าราชการ จังหวัดมอบหมายจังหวัดละไม่เกิน2 คน (มีวาระ 3 ปี) * นายก อบจ.ในกลุ่มจังหวัดทุกจังหวัด นายกเทศมนตรีในกลุ่มจังหวัด จังหวัดละ 1 คน * นายก อบต.ในกลุ่มจังหวัด จังหวัดละ 1 คน ผู้แทนภาคประชาสังคม (มีวาระ 3 ปี)* ผู้แทนภาคธุรกิจเอกชน* กรรมการและเลขานุการ ข้าราชการในสังกัดกระทรวงมหาดไทยที่ปลัดกระทรวงมหาดไทยแต่งตั้ง กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ หัวหน้าสำนักงานจังหวัดของทุกจังหวัดในกลุ่มจังหวัด 19 19

20 ก.บ.ก. ข้อเสนอการได้มา ซึ่งกรรมการใน (เป็นไปตามประกาศ ก.น.จ.)
นายกเทศมนตรี (จังหวัดละ 1 คน) นายก อบต. วิธีการได้มา ผวจ. จัดประชุมกรรมการ ก.บ.จ.เฉพาะผู้ที่เป็น ผู้แทนผู้บริหาร อปท. และให้เลือกกันเอง วิธีการได้มา ผวจ. ประชุมกรรมการ ก.บ.จ.เฉพาะผู้ที่เป็น ภาคประชาสังคม และให้เลือกกันเอง ให้ได้ หญิง 1 คน และชาย 1 คน ผู้แทนภาคประชาสังคม ( จังหวัดละ 2 คน) วิธีการได้มา * 1. ประธานหอการค้ากลุ่มจังหวัด 2. ประธานสภาอุตสาหกรรมกลุ่มจังหวัด ผู้แทนภาคธุรกิจเอกชน ( จำนวน 2 คน) * กรณีไม่มี 1) หรือ 2) ให้หัวหน้ากลุ่มจังหวัดจัดประชุมประธานหอการค้าจังหวัดหรือประธานอุตสาหกรรมจังหวัดในกลุ่มจังหวัดนั้น เพื่อให้เลือกกันเอง 20 20

21 ผู้ว่าราชการจังหวัด หัวหน้ากลุ่มจังหวัด อำนาจหน้าที่
บริหารงานจังหวัดให้สอดคล้องกับแนวนโยบาย-แผนระดับชาติและความ ต้องการของประชาชน (2) ประสานให้ภาครัฐ อปท. ภาคประชาสังคมและภาคเอกชน มีส่วน ร่วมในการวางยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด (3) บูรณาการการงบประมาณและแสวงหาความร่วมมือและการสนับสนุนจากทุกฝ่าย (4) ส่งเสริมและสนับสนุน อปท.ให้มีความเข้มแข็งในการพัฒนาท้องถิ่น (5) สนับสนุนภาคประชาสังคมให้มีความเข้มแข็ง สามารถบริหารจัดการและแก้ไข ปัญหาได้ด้วยตนเองอย่างยั่งยืน (6) เสริมสร้างการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีและการบริหารการเปลี่ยนแปลง (7) กระทำตนเป็นแบบอย่าง ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาผู้ปฏิบัติงาน หัวหน้ากลุ่มจังหวัด อำนาจหน้าที่ มีอำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับผู้ว่าราชการจังหวัด ประสาน เร่งรัด ติดตามการดำเนินงานของผู้ว่าราชการจังหวัดที่เกี่ยวข้อง กับแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด 21

22 ประเด็นที่ 3 กลไกของส่วนราชการที่จะสนับสนุนยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด (ต่อ) กลไกระหว่าง ก.น.จ. กับ กรอ. ทั้งในระดับชาติ กลุ่มจังหวัด และ จังหวัด กรอ. กรอ.กลุ่มจังหวัด กรอ.จังหวัด 22

23 ภาพความเชื่อมโยงระหว่าง ก.น.จ. กับ กรอ.
ระดับชาติ กรอ. ก.น.จ. ประธาน : นายกรัฐมนตรี กรรมการ : รนม.ทุกคน / รมต.สร.ที่กำกับดูแลภูมิภาค/รมว.คลัง/รมว.มท./ปลัด สร./ ปลัด มท./ เลขาธิการ นรม./เลขาธิการ ครม./ ผอ.สงป./เลขาธิการ สศช. นายกสมาคม อบจ.ฯ/นายกสมาคมสันนิบาตเทศบาลฯ/ นายกสมาคม อบต.ฯ ประธานกรรมการสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย / ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ผู้ทรงคุณวุฒิจาก ก.พ.ร. (3 คน) ผู้แทนภาคประชาสังคม (2 คน) กรรมการและเลขานุการ : เลขาธิการ ก.พ.ร. ประธาน : นายกรัฐมนตรี รองประธานฯ : รนม.(นายไตรรงค์ สุวรรณคีรี) กรรมการ : รมต.สร. (นายวีระชัย วีระเมธีกุล)/รมว.คลัง/รมว.ท่องเที่ยวฯ/รมว.ต่างประเทศ/รมว.เกษตรฯ/รมว.คมนาคม/รมว.ทรัพยากรฯ/รมว.พาณิชย์/รมว.แรงงาน/รมว.อุตสาหกรรม/รมว.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/ เลขาธิการ นรม./ปลัดกระทรวงการคลัง/เลขาธิการ คกก.กฤษฎีกา/ ผู้ว่าการธนาคารแห่ง ปท.ไทย ประธานกรรมการสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย /ประธานสภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย/ประธานสมาคมธนาคารไทย/ ประธานสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย/นายเกียรติ สิทธิอมร/ กรรมการและเลขานุการ : เลขาธิการ สศช. อำนาจหน้าที่ 1. กำหนดกรอบนโยบายและวางระบบการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการฯ 2. กำหนดนโยบาย หลักเกณฑ์และวิธีการในการจัดทำแผนพัฒนาฯ แผนปฏิบัติราชการฯ การจัดทำและบริหารงบประมาณของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด 3. พิจารณา กลั่นกรองและให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาฯ แผนปฏิบัติราชการประจำปีฯ และคำของงบประมาณของจังหวัด/กลุ่มจังหวัดตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณและนำเสนอต่อ ครม. 4. กำกับดูแลการดำเนินการตาม 1 และ 2 ให้เกิดผลสัมฤทธ์ 5. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน... 6. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ ครม. มอบหมาย อำนาจหน้าที่ 1. พิจารณาและเสนอแนะแนวทางและมาตรการต่อ ครม. ในการแก้ไขปัญหาอุปสรรคทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุนของภาคเอกชน รวมทั้งให้ภาคเอกชนร่วมกับภาครัฐในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจให้เจริญเติบโตและสามารถแข่งขันได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน 2. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน... 3. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ ครม. หรือ นรม.มอบหมาย 23

24 ภาพความเชื่อมโยงระหว่าง ก.บ.ก. กับ กรอ. กลุ่มจังหวัด
ระดับกลุ่มจังหวัด ภาพความเชื่อมโยงระหว่าง ก.บ.ก. กับ กรอ. กลุ่มจังหวัด กรอ. กลุ่มจังหวัด ก.บ.ก. ประธาน : หัวหน้ากลุ่มจังหวัด รองประธานฯ : ผู้ว่าราชการจังหวัดในกลุ่มจังหวัดทุกจังหวัด กรรมการ : ผู้แทนหัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัดในกลุ่ม (2 คนต่อจังหวัด) นายก อบจ.ทุกจังหวัดในกลุ่ม/นายกเทศมนตรีจังหวัดละ 1 คน/นายก อบต. จังหวัดละ 1 คน ผู้แทนภาคประชาสังคม ผู้แทนภาคธุรกิจเอกชน (จะแต่งตั้งจากประธานหอการค้ากลุ่มจังหวัด และประธานสภาอุตสาหกรรมกลุ่มจังหวัด) กรรมการและเลขานุการ : ข้าราชการสังกัด มท. กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ : หัวหน้าสำนักงานจังหวัดทุกจังหวัดในกลุ่ม ประธาน : หัวหน้ากลุ่มจังหวัด รองประธานฯ : - ผู้ว่าราชการจังหวัดในกลุ่มจังหวัดทุกจังหวัด - ประธานหอการค้ากลุ่มจังหวัด - ประธานสภาอุตสาหกรรมกลุ่มจังหวัด - ประธานเขตพื้นที่สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย กรรมการ : ผู้แทนส่วนราชการ/หน่วยงานอื่นของรัฐ/รัฐวิสาหกิจที่ตั้งสำนักงานอยู่ในกลุ่มจังหวัด (3 คน) ผู้แทนองค์กรภาคธุรกิจที่ได้รับการรับรองฯ (จว.ละ 1 คน) ผู้แทน อปท.ในกลุ่ม กรรมการและเลขานุการ : ผู้ที่หัวหน้ากลุ่มจังหวัดเห็นสมควร กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ : หัวหน้าสำนักงานจังหวัดทุกจังหวัดในกลุ่ม/เลขาธิการหอการค้าจังหวัดที่ได้รับเลือก/ เลขาธิการสภาอุตสาหกรรมกลุ่มจังหวัด อำนาจหน้าที่ 1. วางแนวทางปฎิบัติและอำนวยการให้การบริหารงานกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการเป็นไปตามหลักการ นโยบายและระบบตามที่ ก.น.จ.กำหนด 2. จัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด 3. ส่งเสริม ประสานความร่วมมือการพัฒนาระหว่างภาครัฐ ภาคประชาสังคมและภาคธุรกิจเอกชน และแก้ไขปัญหาภายในกลุ่มจังหวัดและระหว่างกลุ่มจังหวัดฯ 4. วิเคราะห์บูรณาการ และให้ความเห็นชอบรายละเอียดการปฏิบัติการตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มและคำของบประมาณของกลุ่ม ก่อนเสนอ ก.น.จ. 5. กำกับ ให้คำแนะนำ ติดตาม ประเมินผล การปฏิบัติตามแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด และแผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด และรายงาน ก.น.จ. 6. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน... 7. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ ก.น.จ. หรือ ครม. มอบหมาย อำนาจหน้าที่ 1. ประชุม หารือ ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสถานการณ์และปัญหาทางเศรษฐกิจของจังหวัด เพื่อหาแนวทางแก้ไข 2. ให้คำปรึกษา ข้อเสนอแนะแก่ ก.บ.ก. 3. ประสานส่งเสริมและขอรับการสนับสนุนการดำเนินงานแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจกับ ก.บ.ก. และ กรอ. 4. ประสานการดำเนินกิจกรรม/โครงการความร่วมมือระหว่างภาครัฐบาลและเอกชนในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของกลุ่มฯ 5. ส่งเสริม/สนับสนุนสถาบันทางเศรษฐกิจภาคเอกชนให้มีบทบาทในการส่งเสริมการผลิต การค้า การลงทุนและการจ้างงานภายในจังหวัดร่วมกับภาครัฐและท้องถิ่น 6. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์... 7.เชิญผู้เกี่ยวข้องเพื่อให้ข้อมูลและให้คำปรึกษาในเรื่องที่เกี่ยวข้อง... 8.แต่งตั้งคณะอนุกรรมการฯ...

25 ภาพความเชื่อมโยงระหว่าง ก.บ.จ. กับ กรอ. จังหวัด กรอ. จังหวัด ก.บ.จ.
ระดับจังหวัด ภาพความเชื่อมโยงระหว่าง ก.บ.จ. กับ กรอ. จังหวัด กรอ. จังหวัด ก.บ.จ. ประธาน : ผู้ว่าราชการจังหวัด รองประธานฯ : - รองผู้ว่าราชการจังหวัดที่ผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย - ประธานหอการค้าจังหวัด - ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัด ประธานสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งจังหวัด ประธานชมรมธนาคารจังหวัด กรรมการ : ผู้แทนส่วนราชการ/หน่วยงานอื่นของรัฐ/รัฐวิสาหกิจ ผู้แทน อปท. กรรมการหอการค้าจังหวัดที่ประธานหอฯ มอบหมาย/ กรรมการสภาอุตสาหกรรมจังหวัดที่ประธานสภาฯ มอบหมาย ผู้แทนองค์กรภาคธุรกิจที่ได้รับการรับรองและเสนอจาก 4 องค์กรภาคเอกชน ผู้แทนภาคประชาสังคม กรรมการและเลขานุการ : ผู้ที่ผู้ว่าราชการจังหวัดเห็นสมควร กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ : เลขาธิการหอการค้าจังหวัด/เลขาธิการสภาอุตสาหกรรมจังหวัด/เลขาธิการสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวจังหวัด/เลขาธิการชมรมธนาคารจังหวัด ประธาน : ผู้ว่าราชการจังหวัด รองประธานฯ : รองผู้ว่าราชการจังหวัดทุกคน กรรมการ : ผู้แทนหัวหน้าส่วนราชการที่มีสำนักงานอยู่ในจังหวัดไม่ว่าจะมีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาค หรือส่วนกลาง /ผู้แทนรัฐวิสาหกิจที่ดำเนินกิจการอยู่ในจังหวัด/ ผู้แทนหัวหน้าหน่วยงานอื่นของรัฐที่มีสำนักงานอยู่ในจังหวัด ผู้แทนผู้บริหาร อปท. ผู้แทนภาคประชาสังคม ผู้แทนภาคธุรกิจเอกชน (จะมาจากประธานหอการค้าจังหวัด /ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัด) กรรมการและเลขานุการ : หัวหน้าสำนักงานจังหวัด อำนาจหน้าที่ 1. วางแนวทางปฎิบัติและอำนวยการให้การบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการเป็นไปตามหลักการ นโยบายและระบบตามที่ ก.น.จ.กำหนด 2. จัดทำแผนพัฒนาจังหวัด 3. ส่งเสริม ประสานความร่วมมือการพัฒนาระหว่างภาครัฐ ภาคประชาสังคมและภาคธุรกิจเอกชน เพื่อสร้างบรรยากาศให้เอื้อำนวยต่อการลงทุนและชักชวนภาคธุรกิจเอกชนมาลงทุนในจังหวัด และให้มีการพัฒนาให้เป็นไปตามแผนพัฒนาจังหวัดอย่างยั่งยืน 4. จัดทำบันทึกความเข้าใจกับฝ่ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาที่ให้ความร่วมมือและสนับสนุนการดำเนินการตามแผนพัฒนาจังหวัด และแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด 5. วิเคราะห์ บูรณาการ และจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดและคำของบประมาณของจังหวัด ก่อนเสนอ ก.น.จ. 6. กำกับ ให้คำแนะนำ ติดตาม ประเมินผล การปฏิบัติตามแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด และแผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด และรายงาน ก.น.จ. 7. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน... 8. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ ก.น.จ. หรือ ครม. มอบหมาย อำนาจหน้าที่ 1. ประชุม หารือ ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสถานการณ์และปัญหาทางเศรษฐกิจของจังหวัด เพื่อหาแนวทางแก้ไข 2. ให้คำปรึกษา ข้อเสนอแนะแก่ ก.บ.จ. 3. ประสานส่งเสริมและขอรับการสนับสนุนการดำเนินงานแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจกับ ก.บ.จ. และ กรอ. 4. ประสานการดำเนินกิจกรรม/โครงการความร่วมมือระหว่างภาครัฐบาลและเอกชนในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของกลุ่มฯ 5. ส่งเสริม/สนับสนุนสถาบันทางเศรษฐกิจภาคเอกชนให้มีบทบาทในการส่งเสริมการผลิต การค้า การลงทุนและการจ้างงานภายในจังหวัดร่วมกับภาครัฐและท้องถิ่น 6. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์... 7.เชิญผู้เกี่ยวข้องเพื่อให้ข้อมูลและให้คำปรึกษาในเรื่องที่เกี่ยวข้อง... 8.แต่งตั้งคณะอนุกรรมการฯ...

26 กลไกของส่วนราชการที่จะสนับสนุนยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด จำแนกตามประเด็นยุทธศาสตร์
ตัวอย่าง ประเด็นยุทธศาสตร์การเกษตร ประเด็นยุทธศาสตร์การท่องเที่ยว

27 กลไกของส่วนราชการที่จะสนับสนุนยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด (ต่อ)
ตัวอย่าง ประเด็นยุทธศาสตร์ด้านทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประเด็นยุทธศาสตร์ด้านอุตสาหกรรม

28 สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด
คณะกรรมการบริหารงานกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.ก.) กลุ่มจังหวัด สป.มหาดไทย ผู้ตรวจราชการ กระทรวงมหาดไทย หัวหน้ากลุ่มจังหวัด สนับสนุน ประสานการปฏิบัติ ให้คำปรึกษาแนะนำ เร่งรัดติดตาม สำนักบริหารยุทธศาสตร์ กลุ่มจังหวัด จังหวัด ... จังหวัด ... จังหวัด ... จังหวัด ... ส่ำนักงานจังหวัด ส่วนราชการประจำจังหวัด ส่วนราชการประจำจังหวัด ส่วนราชการประจำจังหวัด ตามมติ ก.พ.ร. เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2550

29 การกำหนดภารกิจ สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด
หัวหน้ากลุ่มจังหวัด *ประธานคณะกรรมการบริหารงาน กลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.ก.) สำนักบริหาร ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด ภารกิจด้าน บริหารทั่วไป ภารกิจด้าน ยุทธศาสตร์ ภารกิจด้านติดตาม และประเมินผล งานบริหารภายในสำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด ที่เกี่ยวกับงานสารบรรณ งานบุคคล งานการเงินและพัสดุ งานด้านเลขานุการและการประชุม และการเผยแพร่ข้อมูล ประชาสัมพันธ์ การ แลกเปลี่ยนความรู้ภายในกลุ่มจังหวัด การศึกษา วิเคราะห์และเสนอแนะใน การจัดทำและพัฒนากลุ่มจังหวัด การจัดทำแผนปฎิบัติราชการประจำปีของจังหวัด การจัดทำงบประมาณ แผนงาน โครงการของกลุ่มจังหวัด ประสานและบูรณาการแผนงาน โครงการ งบประมาณ ของกลุ่มจังหวัด การพัฒนาฐานข้อมูล ของกลุ่มจังหวัดและ การจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนต่อแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด การติดตามการใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามสัญญา และ การให้ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาอุปสรรคในการดำเนินการตามแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ตามมติ ก.พ.ร. เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2550

30 ขีดสมรรถนะของผู้ปฏิบัติงาน
หัวหน้าสำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด มีความรู้ ความสามารถเกี่ยวกับการจัดทำและพัฒนายุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ มีความรู้ ความสามารถเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล การพัฒนาองค์กรและระบบการติดตามประเมินผล มีความรู้ ความสามารถในการให้ข้อคิดเห็นหรือเสนอแนวคิด ความคิดริเริ่มใหม่ๆ มีความสามารถในการบริหารแผนงาน โครงการของกลุ่มจังหวัด มีทักษะในการประสานการปฏิบัติงานร่วมกับจังหวัดภายในกลุ่มจังหวัด ภารกิจด้านพัฒนายุทธศาสตร์ การจัดทำงบประมาณ แผนงาน โครงการของกลุ่มจังหวัด มีความรู้ในการศึกษา วิเคราะห์และสรุปความเห็น ให้ข้อเสนอแนะ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด เสนอแนะในการจัดทำยุทธศาสตร์ มีความรู้ ความสามารถ เกี่ยวกับการสรุปความคิดเห็นการจัดทำบันทึกความเห็นต่อที่ประชุม มีความสามารถในการประสานแผนและบูรณาการแผนงาน โครงการงบประมาณ มีความคิดริเริ่มในการจัดทำยุทธศาสตร์ สามารถทำงานเป็นทีมได้ มีทักษะในการนำเสนอเรื่องต่อที่ประชุม และการใช้คอมพิวเตอร์ ภารกิจด้านบริหารทั่วไป มีความรู้เกี่ยวกับระเบียบงานสารบรรณ มีความรู้เกี่ยวกับระเบียบการเงินและพัสดุ มีความสามารถในงานด้านเลขานุการและการประชุม มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์และโปรแกรมต่างๆ ภารกิจด้านการติดตามประเมินผล มีความรู้ในการศึกษา วิเคราะห์และสรุปความเห็น ให้ข้อเสนอแนะ มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคหรือเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผล ให้สัญญาณเตือนแก่คณะกรรมการได้ มีความรู้ ความสามารถ เกี่ยวกับการสรุปความคิดเห็นการจัดทำบันทึกความเห็นต่อที่ประชุม สามารถทำงานเป็นทีมได้ มีทักษะในการนำเสนอเรื่องต่อที่ประชุม และการใช้คอมพิวเตอร์ ตามมติ ก.พ.ร. เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2550

31 ส่วนที่ 2 ความหมายและขอบเขตของแผน พัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนา กลุ่มจังหวัด
แนวทางและขั้นตอนในการจัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ความหมายและขอบเขตของแผน พัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนา กลุ่มจังหวัด ขั้นตอนและกระบวนการวางแผน พัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนา กลุ่มจังหวัด

32 ความหมายและขอบเขตของ แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด
พัฒนาจังหวัดและ แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด 32

33 กรอบนโยบายในการจัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดและแผนพัฒนาจังหวัด
กรอบแนวทาง นำนโยบายของรัฐบาลโดยเฉพาะนโยบายเร่งด่วนตามแผนฟื้นฟูเศรษฐกิจของรัฐบาล มาเป็นกรอบหลักในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ สร้างโอกาสและเพิ่มรายได้ และลดภาระค่าครองชีพของประชาชน นำแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค และยุทธศาสตร์รายสาขา อาทิ ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยว มาใช้ประกอบในการจัดทำแผนฯ มุ่งเน้นการทำงานแบบเครือข่ายร่วมกันทุกภาคส่วนโดยคำนึงความพร้อมของทุกภาคส่วน 3) รับฟังความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนที่มุ่งการพัฒนาจังหวัดแบบองค์รวมที่ครอบคลุม ทุกมิติในด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและความมั่นคง เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างโอกาสและอาชีพซึ่งตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในจังหวัด แผนที่มุ่งเน้นการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคม เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของกลุ่มจังหวัดและนำไปสู่การกระตุ้นให้เกิดการลงทุนของภาคเอกชนและสร้างรายได้ให้กลุ่มจังหวัด 33

34 แผนพัฒนาจังหวัด ระยะเวลา 4 ปี ความหมาย องค์ประกอบ
(มาตรา 3) ระยะเวลา 4 ปี ความหมาย รายการเกี่ยวกับโครงการและแผนงานต่างๆ ของจังหวัดที่จำเป็นต้องจัดทำเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และ ทิศทางการพัฒนาของจังหวัดในอนาคต โดยต้องคำนึงถึงความต้องการและศักยภาพของประชาชนในท้องถิ่นในจังหวัดรวมตลอดถึงความพร้อมของภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชน และยุทธศาสตร์ระดับชาติ มีกระบวนการรับฟังหรือให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำหนดความต้องการในการพัฒนาพื้นที่ของจังหวัดมาพิจารณาให้เกิดความผสมผสาน ไม่ขัดแย้งในด้านใดด้านหนึ่ง (มาตรา 18) องค์ประกอบ อย่างน้อยต้องระบุรายละเอียดของ - วิสัยทัศน์ - ประเด็นยุทธศาสตร์ - เป้าประสงค์ - ตัวชี้วัด - ค่าเป้าหมาย และ - กลยุทธ์ 34

35 แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด
(มาตรา 3) ระยะเวลา 4 ปี ความหมาย รายการเกี่ยวกับโครงการและแผนงานต่างๆ ของกลุ่มจังหวัดที่จำเป็นต้องจัดทำเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และทิศทางการพัฒนาของกลุ่มจังหวัดในอนาคตโดยต้องคำนึงถึงความต้องการและศักยภาพของประชาชนในท้องถิ่นในกลุ่มจังหวัด รวมตลอดถึงความพร้อมของภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชน และยุทธศาสตร์ระดับชาติ กระบวนการรับฟังหรือให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำหนดความต้องการในการพัฒนาพื้นที่ของจังหวัดมาพิจารณาให้เกิดความผสมผสานไม่ขัดแย้งในด้านใดด้านหนึ่ง (มาตรา 27) องค์ประกอบ อย่างน้อยต้องระบุรายละเอียดของ - วิสัยทัศน์ - ประเด็นยุทธศาสตร์ - เป้าประสงค์ - ตัวชี้วัด - ค่าเป้าหมาย และ - กลยุทธ์ 35

36 แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด คำของบประมาณกลุ่มจังหวัด
ระหว่างแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีของ กลุ่มจังหวัด และคำของบประมาณกลุ่มจังหวัด ความเชื่อมโยง แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด รายการแผนงาน/ โครงการตามแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดที่ดำเนินการโดยกลุ่มจังหวัด (ระบุจังหวัดที่รับผิดชอบ) กระทรวง กรม องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ หรือเอกชน คำของบประมาณกลุ่มจังหวัด งบดำเนินงาน (ตัวอย่างเช่น ค่าบริหารการจัดทำแผน ค่าจัดประชุมปรึกษาหารือฯ งบพัฒนาบุคลากร งบติดตามประเมินผล ฯลฯ) โครงการตามแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดที่ดำเนินการโดยกลุ่มจังหวัด 36

37 ตัวอย่าง กลุ่มจังหวัด
ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยว (กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก ) Value Chains พัฒนาศักยภาพ ผู้ประกอบการ ท่องเที่ยวและ อุตสาหกรรม ใกล้เคียง การควบคุม มาตรฐานอยู่ใน เกณฑ์ Eco- Destination พัฒนา ด้านการตลาดและ ประชาสัมพันธ์ พัฒนาระบบ สิทธิประโยชน์ ให้เกิดการลงทุน จากต่างประเทศ พัฒนา แหล่งท่องเที่ยว พัฒนา ระบบคมนาคม กระทรวง/กรม โครงการปรับปรุง ระบบนิเวศชายฝั่ง (กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม) โครงการสร้างเพิ่ม ช่องทางจราจรทางหลวง เพื่อเชื่อมโยงสู่อินโดจีน (กระทรวงคมนาคม) โครงการส่งเสริม และสนับสนุนการพัฒนา แหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (กระทรววงการท่องเที่ยว และกีฬา) โครงการปรับปรุงและ พัฒนาศูนย์รับแจ้งเหตุและ ให้บริการนักท่องเที่ยว (กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา) โครงการส่งเสริมการ ลงทุนภาคธุรกิจ ท่องเที่ยว (BOI) กลุ่มจังหวัด โครงการพัฒนา บุคลากรและ ผู้ประกอบการ ด้านการท่องเที่ยว โครงการพัฒนาระบบ ความปลอดภัยและการให้ บริการประชาชน เมื่อมีเหตุฉุกเฉิน จังหวัด โครงการท่องเที่ยว เกษตรเชิงอนุรักษ์ (จ.ชลบุรี) โครงการจัดงานประเพณี ประจำปี (จ.ตราด) โครงการฝึกอบรม อาสาสมัครดำน้ำเพื่อ ช่วยเหลือผู้ประสบภัย (จ.ชลบุรี) โครงการยุวมัคคุเทศก์ (จ.จันทบุรี) ท้องถิ่น โครงการปรับปรุง ทัศนียภาพเพื่อส่งเสริม การท่องเที่ยวและรักษา คุณภาพสิ่งแวดล้อม โครงการก่อสร้าง ท่าเทียบเรือขนาดเล็ก ชุมชน โครงการหมู่บ้าน OTOP เอกชน โครงการสร้าง แหล่งท่องเที่ยวทางเลือก (Spa, Zoo) 37 37 37

38 ศูนย์กลางการผลิตและการจำหน่าย ข้าวหอมมะลิชั้นดีสู่ตลาดโลก
ตัวอย่าง จังหวัดร้อยเอ็ด ศูนย์กลางการผลิตและการจำหน่าย ข้าวหอมมะลิชั้นดีสู่ตลาดโลก การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การแปรสภาพเพิ่ม และสร้างคุณค่า การพัฒนาระบบการตลาด Value Chains ส่งเสริม การผลิต และใช้ เมล็ด พันธุ์ดี การพัฒนา คุณภาพ เพื่อ ส่งออก การเพิ่ม ขีดความ สามารถ ในการ แข่งขัน ศูนย์ กระจาย สินค้าและ โลจิสติกส์ การ จัดการ พื้นที่ แปลงปลูก การ ปรับปรุง ดิน การ จัดการ ระบบน้ำ การ จัดการ ศัตรูพืช การ ตรวจสอบ มาตรฐาน การ เกี่ยวนวด การ แปรสภาพ โครงการเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพดีสู่ตลาดโลก โครงการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ข้าวหอมมะลิระบบสูญญากาศ โครงการส่งเสริมตลาดข้าวหอมมะลิเพื่อการส่งออก โครงการปรับปรุงระบบชลประทาน กระทรวง/กรม โครงการส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจ โครงการส่งเสริมการปรับปรุงบำรุงดินด้วยปุ๋ยอินทรีย์ โครงการส่งเสริมการผลิตเมล็ด พันธุ์ข้าว โครงการพัฒนาแหล่งน้ำขนาดล็ก เพื่อการเกษตร โครงการพัฒนาองค์ความรู้ด้านการแปรรูปให้แก่ผู้ประกอบการ จังหวัด โครงการส่งเสริมอุปกรณ์เคร่องอัดฟางเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตภาคการเกษตร โครงการจัดตั้ง โรงงานผลิตปุ๋ย อินทรีย์ชีวภาพ โครงการก่อสร้าง ตลาดกลาง สินค้าเกษตร ท้องถิ่น โครงการจัดตั้ง ลานตาก/ฉางข้าวระดับหมู่บ้าน ชุมชน 38 38

39 ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
กระทรวง/กรม กลุ่มจังหวัด/ จังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคธุรกิจเอกชน ภาคประชาสังคมชุมชน ยุทธศาสตร์ 1 ………………….. เป้าประสงค์หรือผลลัพธ์ที่ต้องการ …………………. Value Chains Actors โครงการ การขาย การให้ บริการ วิจัยและ พัฒนา พัฒนาการบริหารจัดการและปัจจัยพื้นฐาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ พัฒนา การตลาด บูรณาการ

40 Agri-food Cluster - Safe Food for ALL
April 19, 2019 กรอบแนวคิดประเด็นยุทธศาสตร์การเป็นฐานผลิตสินค้าเกษตร/เกษตรอุตสาหกรรม Agri-food Cluster - Safe Food for ALL Safety Food Organic Food No. 1 Organic Food Exporter 53-56 57-60 61-64 การวิจัย และพัฒนา(R&D) + โครงสร้างพื้นฐาน การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การแปรรูป เพิ่มและสร้าง คุณค่า การพัฒนา ระบบ การตลาด การขนส่งสินค้าและ จัดการบริหารสินค้า (Logistics) การพัฒนา เกษตรกรและ สถาบัน เกษตรกร 40 Sasin Management Consulting 40 40

41 สรุปแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ลำดับความสำคัญของประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด
อันดับ 1 อันดับ 2 อันดับ 3 1.การเกษตร 34 16 9 3 2. ท่องเที่ยว 12 19 7 4 3. สังคมและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 11 14 - 4. เศรษฐกิจพอเพียง 5 5. การค้า 2 6. อุตสาหกรรม 7. ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 18 1 8.โครงสร้างพื้นฐาน 9.มั่นคง 41 41 41 41

42 ประเด็นยุทธศาสตร์ของ 18 กลุ่มจังหวัด
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน2 การค้า การลงทุน การเกษตรอุตสาหกรรม 10. กลุ่มจังหวัดภาคตอ/เหนือตอนบน1 การค้าชายแดน การผลิต และการค้า สินค้าการเกษตร 11. กลุ่มจังหวัดภาคตอ/เหนือตอนบน2 การค้าชายแดน การท่องเที่ยว 17. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง1 การค้า บริการ และเครือข่ายคมนาคม การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ ประวิติศาสตร์ และวัฒนธรรม กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน1 การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมล้านนา การค้า การลงทุน และเระบบ Logistics เชื่อมโยงกลุ่มประเทศ GMS 12. กลุ่มจังหวัดภาคตอ/เหนือตอนกลาง การผลิตด้านเกษตร การลงทุนด้านอุตสาหกรรมแปรรูปเกษตร 18. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง2 การผลิตข้าว อ้อย และมันสำประหลัง การแปรรูปข้าว อ้อย และมันสำประหลัง 13. กลุ่มจังหวัดภาคตอ/เหนือตอนล่าง1 เกษตรอินทรีย์ แข่งขันด้านเศรษฐกิจ 1. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 1 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อุตสาหกรรม 14. กลุ่มจังหวัดภาคตอ/เหนือล่าง2 ข้าวหอมมะลิ การท่องเทียว กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 2 การผลิตอาหารปลอดภัย เชื่อมโยงการกระจายสินค้า 9. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก การท่องเที่ยว การผลิต แปรรูป และการตลาดผลไม้ กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง การเกษตร การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ 4. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 การผลิตและส่งออก การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ กลุ่มจังหวัด ภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย ยางพารา ปาล์มน้ำมัน 5. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 2 สินค้าประมง เกษตรและเหล็ก การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ และ เส้นทางคมนาคมสู่ภาคใต้ กลุ่มจังหวัด ภาคใต้ฝั่งอันดามัน การท่องเที่ยวทางทะเล กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน สนันสนุนภาคการผลิตเป็นไปอย่างปกติ เทคโนโลยีการผลิต บริหารจัดการ ตลาดเพื่อการส่งออก 42 42

43 ประเด็นยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
เกษตร การค้า/ โลจิสติกส์ อุตสาหกรรม ท่องเที่ยว 43 43

44 สรุปประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (ด้านเกษตร)
ภาคเหนือตอนบน 1 เกษตรปลอดภัย ภาคตะวันออก/เหนือตอนบน 1 เกษตรแปรรูป ภาคตะวันออก/เหนือตอนบน 2 ข้าวหอมมะลิ โค ภาคเหนือตอนบน 2 เกษตรแปรรูป ภาคตะวันออก/เหนือตอนกลาง ข้าวหอมมะลิ ภาคเหนือตอนล่าง 2 ข้าว อ้อย มันสำปะหลัง ภาคตะวันออก/เหนือตอนล่าง 1 ข้าวหอมมะลิ มันสำปะหลัง ภาคกลางตอนบน 2 เกษตรปลอดภัย ภาคตะวันออก/เหนือตอนล่าง 2 ข้าวหอมมะลิ ภาคกลางตอนล่าง 1 เกษตรอุตสาหกรรม ภาคกลางตอนกลาง เกษตรแปรรูป ภาคกลางตอนล่าง 2 เกษตรแปรรูป ภาคตะวันออก ผลไม้เมืองร้อน ภาคใต้อ่าวไทย ยางพารา ปาล์มน้ำมัน อันดับ 1 อันดับ 2 อันดับ 3 ภาคใต้ชายแดน ยางพารา 44 44 44 44 44

45 สรุปประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (ด้านท่องเที่ยว)
ภาคเหนือตอนบน 1 ท่องเที่ยววัฒนธรรม ภาคตะวันออก/เหนือตอนบน 1 ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ภาคตะวันออก/เหนือตอนบน 2 ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ภาคเหนือตอนบน 2 ท่อวเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ภาคเหนือตอนล่าง 1 ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ประวัติศาสตร์ ภาคตะวันออก/เหนือตอนล่าง 1 ท่องเที่ยว ภาคกลางตอนบน 2 ท่องเที่ยวประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ธรรมชาติ ภาคตะวันออก/เหนือตอนล่าง 2 ท่องเที่ยว ภาคกลางตอนล่าง 1 ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ภาคกลางตอนกลาง ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ภาคกลางตอนล่าง 2 ท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ ภาคตะวันออก ท่องเที่ยว ภาคใต้อ่าวไทย ท่องเที่ยวทางทะเลและชายฝั่ง อันดับ 1 อันดับ 2 อันดับ 3 ภาคใต้อันดามัน ท่องเที่ยวทางทะเล 45 45 45 45 45

46 สรุปประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (ด้านการค้า)
ภาคเหนือตอนบน 1 การค้าการลงทุนเชื่อมโยงกลุ่มประเทศ GMS ภาคตะวันออก/เหนือตอนบน 1 การค้าชายแดน ภาคเหนือตอนบน 2 การค้าสู่สากล ภาคตะวันออก/เหนือตอนบน 2 การค้าชายแดน ภาคเหนือตอนล่าง 2 การกระจายสินค้าและระบบขนส่ง ภาคตะวันออก/เหนือตอนล่าง 2 การค้าชายแดน อันดับ 1 อันดับ 2 อันดับ 3 ภาคใต้ชายแดน การค้าชายแดน 46 46 46 46

47 สรุปประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (ด้านอุตสาหกรรม)
ภาคตะวันออก/เหนือตอนกลาง อุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตรและพลังงานทดแทน ภาคกลางตอนบน 1 การเพิ่มผลิตภาพอุตสาหกรรม ภาคตะวันออก/เหนือตอนล่าง 1 อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ไหม ภาคกลางตอนกลาง อุตสาหกรรมชุมชน อันดับ 1 อันดับ 2 อันดับ 3 47 47 47 47

48 สรุปภาพรวมผลการพิจารณาแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
ข้อสังเกตของ อ.ก.น.จ. ด้านแผนและด้านงบประมาณ คณะที่ 1 - 5 สรุปภาพรวมผลการพิจารณาแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด 1. ข้อมูลสภาพทั่วไป ยังมีน้อย เป็นข้อมูลกว้าง ๆ ไม่ครอบคลุมทุกมิติการพัฒนาที่สำคัญของจังหวัด 2. การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน มีลักษณะเป็นข้อความเชิงความเห็นทั่วไปและขาดข้อมูลสนับสนุน แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด 3. วิสัยทัศน์ บางจังหวัดมีลักษณะกว้างเกินไปและครอบคลุมมาก บางจังหวัดกระชับสั้นเกินไปจนไม่ให้ความหมาย 4. ประเด็นยุทธศาสตร์และเป้าประสงค์ ส่วนใหญ่ยังเป็นยังเป็นข้อความที่มีความหมายกว้าง ไม่สามารถสะท้อนมิติ การพัฒนาที่สำคัญของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดได้อย่างชัดเจน 5. ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย บางตัวสามารถสะท้อนการบรรลุเป้าประสงค์ได้อย่างชัดเจน แต่บางตัวชี้วัด ไม่ครอบคลุมและไม่มีความสัมพันธ์โดยตรงกับเป้าประสงค์ที่จะวัด บางตัวชี้วัดอิงปัจจัยภายนอกที่ไม่อยู่ในวิสัยการควบคุมของจังหวัด เช่น GPP และมูลค่าการส่งออก 6. กลยุทธ์ ส่วนใหญ่มีความหมายกว้างและไม่ได้แสดงแนวทางการดำเนินงานที่ชัดเจน 7. แผนงานและโครงการ ตอบสนองแนวทางการพัฒนาและมีการบูรณาการงบประมาณระหว่าง กระทรวง จังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชน 48

49 ประเด็นเนื้อหาของแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
สรุปข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะของ อ.ก.น.จ. ด้านแผนและด้านงบประมาณ 5 คณะ ประเด็นเนื้อหาของแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ควรเพิ่มหัวข้อ “ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา” บรรจุไว้เป็นส่วนหนึ่งในเนื้อหาของแผน ควรเพิ่มเติมข้อมูลสภาพทั่วไปของจังหวัด และข้อมูลการวิเคราะห์สภาพเศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากร ธรรมชาติให้ครบทุกมิติสำคัญของพื้นที่ เพื่อให้สามารถนำมาประมวลและ วิเคราะห์เพื่อประกอบการวางแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ควรกำหนดให้มีระบบสืบค้นได้ว่า แผนพัฒนาจังหวัด 4 ปี มีความเปลี่ยนแปลงจากที่ได้ พิจารณาไปเมื่อปีที่ผ่านมาอย่างไร ควรให้ความสำคัญกับแผนระดับต่าง ๆ โดยเฉพาะชุมชน เพื่อให้การจัดทำแผน สามารถสะท้อนประเด็นปัญหาและความต้องการของพื้นที่ได้อย่างแท้จริง ควรบูรณาการแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดนกับแผนพัฒนาพื้นที่พิเศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อให้การพัฒนามีความสอดคล้อง ลดความซ้ำซ้อน และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน 49

50 ขั้นตอนและกระบวนการวางแผน พัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด
50

51 กระบวนการการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด
ก.น.จ. กลุ่มจังหวัด 1 ก.น.จ.กำหนดกรอบ นโยบาย ขั้นตอน วิธีการ แผนและงบประมาณของจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด จังหวัด 2 จังหวัดรวบรวมข้อมูลศักยภาพของจังหวัด และสำรวจความต้องการของประชาชนในจังหวัด 3 ข้อมูลศักยภาพและความต้องการของจังหวัดประกอบการจัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ก.บ.จ. วิเคราะห์ เพื่อกำหนดศักยภาพและความต้องการ ของจังหวัด 4 ก.บ.ก. จัดทำร่าง แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด จัดส่งร่างแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดประกอบการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด 5 ก.บ.จ. จัดทำร่าง แผนพัฒนาจังหวัด ร่างแผนพัฒนาจังหวัด ส่งร่างแผนกลุ่มจังหวัดให้จังหวัดต่าง ๆ ในกลุ่มจังหวัดนำไปประชุมหารือ ร่วมกับภาคส่วนต่าง ๆ ในจังหวัด 6 จังหวัดจัดประชุมปรึกษา หารือกับทุกภาคส่วนในจังหวัด 7.1 ก.บ.ก. ปรับปรุงแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดให้สมบูรณ์ ส่งข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะที่เกี่ยวกับแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ซึ่งได้จากการประชุมหารือให้กลุ่มจังหวัดเพื่อนำไปปรับปรุง ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับแผนพัฒนาจังหวัด 7.2 8 ก.น.จ. กลั่นกรองและเสนอความเห็นเกี่ยวกับแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด เสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติให้ความเห็นชอบ ก.บ.จ. ปรับปรุงแผน พัฒนาจังหวัดให้สมบูรณ์ แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนพัฒนาจังหวัด ครม. พิจารณาเห็นชอบแผน พัฒนากลุ่มจังหวัด/จังหวัด 9 51

52 จังหวัดตั้งคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ(ก.บ.จ.)
ขั้นตอนการบริหารการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด จังหวัดตั้งคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ(ก.บ.จ.) จังหวัดได้รับนโยบาย แนวทาง ขั้นตอน และวิธีการดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดจาก ก.น.จ. 2 3 ก.บ.จ. ดำเนินการสำรวจหาความต้องการของประชาชน ในพื้นที่เพื่อประกอบการ จัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด และจัดส่งผลสำรวจความต้องการที่เกี่ยวกับแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดให้ ก.บ.ก. 1 ก.บ.จ. นำแผนพัฒนาจังหวัดไปจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด+คำขอ งปม. ผู้ว่าราชการจังหวัดนำแผนพัฒนาจังหวัดฉบับสมบูรณ์ ส่ง ก.น.จ.และ ก.บ.ก. 9 8 4 คณะรัฐมนตรี จังหวัดดำเนินการสรรหาผู้แทนภาคประชาสังคมและผู้แทนภาคธุรกิจเอกชนเพื่อเข้าประชุมปรึกษาหารือตาม มาตรา 19 ก.บ.จ. นำข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่ได้รับไป ปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัด ส่งข้อคิดเห็นไป ก.บ.ก. 10 ผู้ว่าราชการจังหวัดจัดส่งแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด ส่ง ก.น.จ.และ ก.บ.ก. 5 7 ก.บ.จ. จัดทำแผนพัฒนาจังหวัด โดยการวิเคราะห์จาก (1) ข้อมูลที่ได้รับจาก ก.น.จ. (2) ข้อมูลจากการสำรวจความต้องการ และ (3) แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด จาก ก.บ.ก. จังหวัดนำแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดไปประชุมปรึกษาหารือกับทุกภาคส่วนในจังหวัดพร้อมกัน 6 52

53 กลุ่มจังหวัดตั้งคณะกรรมการบริหารงานกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ(ก.บ.ก.)
ขั้นตอนการบริหารการจัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด กลุ่มจังหวัดตั้งคณะกรรมการบริหารงานกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ(ก.บ.ก.) 2 กลุ่มจังหวัดได้รับนโยบาย แนวทาง ขั้นตอน และวิธีการดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดจาก ก.น.จ. 3 กลุ่มจังหวัดรับข้อมูลการสำรวจความต้องการของประชาชนในพื้นที่ ที่จังหวัดจัดส่งให้เพื่อประกอบการจัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด 1 ก.บ.ก. นำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดไปจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด+ คำขอ งปม. หัวหน้ากลุ่มจังหวัดนำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดฉบับสมบูรณ์ ส่ง ก.น.จ. 9 8 4 ก.บ.ก. จัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด โดยการวิเคราะห์จาก (1) ข้อมูลที่ได้รับจาก ก.น.จ.และ (2) ข้อมูลจากการ สำรวจความต้องการที่ได้รับ จาก ก.บ.จ. คณะรัฐมนตรี ก.บ.ก. นำข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่ได้รับไปปรับปรุงแผนพัฒนา กลุ่มจังหวัด หัวหน้ากลุ่มจังหวัดจัดส่งแผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด ส่ง ก.น.จ.และ ก.บ.จ. 10 7 5 ก.บ.ก. จัดส่งร่างแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดให้ ก.บ.จ. เพื่อประกอบการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด และเพื่อนำเข้าไปประชุมปรึกษาหารือกับทุกภาคส่วนในจังหวัด จังหวัดนำแผนพัฒนากลุ่ม จังหวัดไปประชุมปรึกษาหารือ กับทุกภาคส่วนในจังหวัด พร้อมกับแผนพัฒนาจังหวัด - ส่งข้อคิดเห็นฯ ให้ ก.บ.ก. 6 53

54 ความคิดเห็นของประชาชนในท้องถิ่นในจังหวัด ตามประกาศ ก.น.จ.
วิธีการสำรวจ 1. มอบให้ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ สถาบันการศึกษา หรือบุคคลอื่นใด ทำการศึกษาสำรวจความคิดเห็น หรือ 2. มอบให้ฝ่ายเลขานุการ ก.บ.จ.ดำเนินการหรือร่วมกับหน่วยงานอื่น หรือ 3. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการของ ก.บ.จ. ขึ้นคณะหนึ่ง ทำหน้าที่ ประสานเพื่อให้ได้ข้อมูล 4. ดำเนินการอื่นตามที่ ก.บ.จ. เห็นสมควร (ประกาศ ก.น.จ.) 54

55 ความคิดเห็นของประชาชนในท้องถิ่นในจังหวัด
วิธีการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนในท้องถิ่นในจังหวัด คณะอนุกรรมการของ ก.บ.จ. (ประกาศ ก.น.จ.) คณะอนุกรรมการระดับอำเภอ (อ.ก.อ.) ประธาน: นายอำเภอ กรรมการ อำนาจหน้าที่ ก.อ.ก. ประสานงานกับทุกภาคส่วนในพื้นที่ของอำเภอ ให้ได้มาซึ่งความ ต้องการ ศักยภาพ และความคิดเห็นของประชาชน 2. ร่วมมือกับ อปท.ในพื้นที่ ให้มีการสำรวจและประมวลความต้องการของประชาชนโดยใช้ข้อมูลขากแผนชุมชน หรือกระบวนการประชาคมของแต่ละชุมชน 3. ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลตามข้อ 1. และ 2. และจัดทำข้อเสนอความต้องการและศักยภาพของประชาชน รวมทั้งโครงการหรือแนวทาง แก้ปัญหาส่ง ก.บ.จ. 4. หน้าที่อื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายจากประธาน ก.บ.จ. ปลัดอำเภอและหัวหน้าส่วนราชการประจำอำเภอ ที่นายอำเภอแต่งตั้งตามที่เห็นสมควร ผู้บริหาร อปท.ในอำเภอ ที่นายอำเภอแต่งตั้ง ตามที่เห็นสมควร ผู้แทนภาคประชาสังคมตามที่ นายอำเภอเห็นสมควร กรรมการและเลขานุการ ปลัดอำเภอหรือหัวหน้าส่วนราชการอำเภอคนหนึ่ง ที่นายอำเภอแต่งตั้งตามที่เห็นสมควร 55

56 ปรึกษาหารือ การจัดประชุม กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
มาตรา 53/1 พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 มาตรา 19 พรฎ.ว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัด แบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 ผู้มีหน้าที่จัดประชุมปรึกษาหารือ ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้จัดประชุม โดย  นำแผนพัฒนาจังหวัด และแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดที่ได้รับ จาก ก.บ.ก. เข้ารับฟังความคิดเห็นด้วย 56

57 ปรึกษาหารือ การจัดประชุม ผู้เข้าร่วมประชุมปรึกษาหารือ
บุคคลจากภาคส่วนต่าง ๆ ที่มาประชุมปรึกษาหารือร่วมกันกับ ผู้ว่าราชการจังหวัด ประกอบด้วย (1) หัวหน้าส่วนราชการที่มีสถานที่ตั้งทำการอยู่ในจังหวัด หรือมีเขตอำนาจ หน้าที่ในจังหวัด ไม่ว่าจะเป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาคหรือราชการ บริหารส่วนกลาง (2) หัวหน้าหน่วยงานที่เป็นรัฐวิสาหกิจและหน่วยงานอื่นของรัฐบรรดาที่มี สถานที่ตั้งทำการอยู่ในจังหวัดหรือมีเขตอำนาจหน้าที่ในจังหวัด (3) ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมดในจังหวัด (4) ผู้แทนภาคประชาสังคม (5) ผู้แทนภาคธุรกิจเอกชน 57

58 ผู้แทน ภาคประชาสังคม จำนวน ประกอบด้วยบุคคลที่ได้รับการสรรหาจากแต่ละอำเภอในเขต จังหวัด อำเภอละไม่เกินหกคน การได้มา  ให้นายกเทศมนตรีและ ประธานสภาองค์กร ชุมชนตำบล ในเขตอำเภอ คัดเลือกบุคคลซึ่งอยู่ใน เขตเทศบาล  ให้นายอำเภอจัดประชุมเพื่อสรรหา ผู้แทนภาคประชาสังคมจากบุคคล ที่ได้รับการคัดเลือกตามและ  เพื่อให้ได้จำนวนไม่เกินหกคน ให้นายกองค์การบริหารส่วนตำบล กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และประธาน สภาองค์กรชุมชนตำบลคัดเลือก บุคคลซึ่งอยู่นอกเขตเทศบาล หลักเกณฑ์การประชุมเพื่อสรรหาและ การแจ้งรายชื่อผู้ได้รับการสรรหา ให้เป็นไปตามที่ผู้ว่าราชการจังหวัด ประกาศกำหนด 58

59 (2) มีอายุตั้งแต่สิบแปดปีบริบูรณ์ขึ้นไปในวันสรรหา
ผู้แทน ภาคประชาสังคม คุณสมบัติ (1) มีสัญชาติไทย (2) มีอายุตั้งแต่สิบแปดปีบริบูรณ์ขึ้นไปในวันสรรหา (3) มีชื่อในทะเบียนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร ในเขตเทศบาลหรือนอกเขตเทศบาลแล้วแต่กรณีของแต่ละ อำเภอที่มีการสรรหาติดต่อกันไม่น้อยกว่าหนึ่งปีนับถึงวันสรรหา (4) มีฐานะเป็นผู้นำชุมชนตามกฎหมายว่าด้วยสภาองค์กรชุมชน ลักษณะต้องห้าม (1) ไม่เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง สมาชิกสภาองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรรมการ ที่ปรึกษาหรือผู้ดำรงตำแหน่งกรรมการบริหารพรรค การเมืองหรือเจ้าหน้าที่ของพรรคการเมือง (2) ไม่เป็นข้าราชการ พนักงานองค์กร หรือลูกจ้างของหน่วยงาน ของรัฐซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำ 59

60 จำนวน คุณสมบัติและการได้มา ผู้แทนภาคธุรกิจเอกชน การได้มา จำนวน
(1) สมาชิกหอการค้า จังหวัด คณะกรรมการบริหารหอการค้าจังหวัดคัดเลือก จำนวนไม่เกินสิบคน (2) สมาชิกสภา อุตสาหกรรม คณะกรรมการบริหารสภาอุตสาหกรรมจังหวัดคัดเลือก (3) ผู้ประกอบธุรกิจอื่น ในจังหวัดนั้นซึ่ง มิได้เป็นสมาชิก ตาม (1) และ (2) ผู้ว่าราชการจังหวัดคัดเลือก 60

61 คณะอนุกรรมการจัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด
กรณีที่ ก.บ.ก. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการจัดทำแผนพัฒนา กลุ่มจังหวัด อย่างน้อยต้องประกอบด้วย 1. ผู้แทนที่เป็นนายก อบจ.ไม่น้อยกว่า 1 คน 2. ผู้แทนนายกเทศมนตรีในกลุ่มจังหวัด ไม่น้อยกว่า 2 คน 3. ผู้แทนนายก อบต. ในกลุ่มจังหวัดไม่น้อยกว่า 3 คน และ 4. ผู้แทนภาคประชาสังคมไม่น้อยกว่า 1 คน องค์ประชุมและการประชุมของ ก.บ.ก. ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง 61

62 ส่วนที่ 3 ความหมายของแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีของกลุ่มจังหวัด
แนวทางและหลักเกณฑ์ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีของกลุ่มจังหวัด ความหมายของแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีของกลุ่มจังหวัด หลักเกณฑ์และแนวทางการจัดทำ แผนปฏิบัติราชการประจำปีของ กลุ่มจังหวัด

63 แผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด
(มาตรา 3) ระยะเวลา 1 ปี ความหมาย เป็นแผนที่แปลงแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดไปสู่การปฏิบัติ โดยระบุถึงโครงการต่างๆ ที่จำเป็นต้องดำเนินการในจังหวัดในแต่ละปีงบประมาณเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และทิศทางการพัฒนาของจังหวัด ทั้งนี้ ไม่ว่าโครงการนั้นจะดำเนินการโดยจังหวัด กระทรวง ทบวง กรม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ หรือเอกชน (มาตรา 27) องค์ประกอบ อย่างน้อยต้องระบุ รายละเอียดของโครงการ เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของงาน หน่วยงานผู้รับผิดชอบ และ งบประมาณที่จะต้องใช้ดำเนินการ โดยต้องมีการระบุให้ชัดเจนว่าโครงการหรืองานใดที่จังหวัดประสงค์จะขอตั้งงบประมาณจากสำนักงบประมาณโดยตรง 63

64 1 2 3 4  แนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
มติ ก.น.จ. วันที่ 22 ก.ค. 52 หลักเกณฑ์และแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด และแผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554  แนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด 1 สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และทิศทางการพัฒนาตามแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด รวมทั้งกรอบของแผนงาน/โครงการที่กำหนดไว้ในแผนพัฒนาฯ แสดงให้เห็นถึงบทบาทและความรับผิดชอบของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในแต่ละโครงการ ในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ 2 แนวทางการจัดทำโครงการที่ดำเนินการโดยจังหวัด/กลุ่มจังหวัดตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัดซึ่งจะจัดทำเป็นคำของบประมาณของ จังหวัด/กลุ่มจังหวัด 3 ลักษณะโครงการจังหวัด/กลุ่มจังหวัดที่ไม่ให้เสนอขอเป็นคำของบประมาณ ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด 4 64

65 หลักเกณฑ์และแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด
มติ ก.น.จ. วันที่ 22 ก.ค. 52 หลักเกณฑ์และแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด และแผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ (ต่อ) แนวทางการจัดทำโครงการที่จะเป็นคำของบประมาณของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด 1 2 3 ความจำเป็น ของโครงการ ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของโครงการ 4 ความคุ้มค่า เป็นโครงการที่ต้อง สอดคล้องและ เชื่อมโยงกับประเด็น ยุทธศาสตร์ของจังหวัด/ กลุ่มจังหวัดตามที่ จัดลำดับความ สำคัญไว้ใน 2 ลำดับแรก ช่วยพัฒนาหรือ แก้ปัญหาที่เกิดขึ้น หากไม่ดำเนินการจะ เกิดความเสียหาย เพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขัน และ สร้างรายได้ให้ จังหวัด/กลุ่มจังหวัด ด้านเทคนิค (วิธีการหรือรูปแบบดำเนินการ) ด้านกายภาพ (ความพร้อมของพื้นที่ บุคลากร การบริหารจัดการ) ด้านงบประมาณ (วงเงิน กับประโยชน์ที่ได้ ด้านระยะเวลา (เสร็จภายในปีงบประมาณ ,มีการวิเคราะห์ผลกระทบทางลบ) ผลลัพธ์หรือ ประโยชน์ของ โครงการที่ คาดว่าจะ ได้รับ 65

66 หลักเกณฑ์และแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด
มติ ก.น.จ. วันที่ 22 ก.ค. 52 หลักเกณฑ์และแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด และแผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ (ต่อ) เป็นโครงการที่ต้องสอดคล้องและเชื่อมโยงกับประเด็นยุทธศาสตร์ของจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด โดยลักษณะโครงการที่จะจัดทำเป็นคำของบประมาณของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด เป็นดังนี้ การดำเนินเศรษฐกิจชุมชนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์(Creative Economy) อาทิ การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสร้างมูลค่าเพิ่ม รวมถึง การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของสินค้า OTOP และการพัฒนาคุณภาพและสร้างมูลค่าเพิ่มของสินค้าเกษตร การฟื้นฟูและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในพื้นที่เฉพาะ/พื้นที่พิเศษ อาทิ กลุ่มการค้าชายแดน กลุ่มธุรกิจและสินค้าฮาลาล * มติ ก.น.จ. วันที่ 19 พ.ย. 52 66

67 หลักเกณฑ์และแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด
มติ ก.น.จ. วันที่ 22 ก.ค. 52 หลักเกณฑ์และแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด และแผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ (ต่อ) ลักษณะโครงการที่ไม่ให้เสนอขอเป็นคำของบประมาณของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด 1. มีวัตถุประสงค์หลักในการจัดซื้อครุภัณฑ์ และขุดลอกคลอง* 2. มีวัตถุประสงค์หลักเกี่ยวกับศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน (เว้นแต่ฝึกอบรมด้านอาชีพ และวิจัยเพื่อ แก้ไขปัญหาที่สำคัญของพื้นที่ หรือการทำแผนแม่บทซึ่งมีความสัมพันธ์กับการพัฒนาจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด ซึ่งต้องใช้องค์ความรู้จากสถาบันการศึกษา) 3. เป็นโครงการในลักษณะของกิจกรรมย่อย 4. เป็นโครงการที่เน้นเฉพาะจุดใดจุดหนึ่งในระดับจุลภาคหรือระดับชุมชนย่อย 5. เป็นโครงการบริการสาธารณะ หรือบริการประชาชนซึ่งเป็นภารกิจประจำของส่วนราชการ หรือ อปท. อยู่แล้ว 6. เป็นโครงการที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับโครงการที่ได้รับอนุมัติภายใต้แผนปฏิบัติการไทย เข้มแข็ง 2555 * กรณีที่จังหวัดและกลุ่มจังหวัดใดจะจัดทำโครงการเกี่ยวกับถนนและการพัฒนา แหล่งน้ำ โครงการนั้นจะต้องสอดคล้องและเชื่อมโยงกับประเด็นยุทธศาสตร์และมีสัดส่วนที่เหมาะสม 67

68 ความเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์กระทรวงกับยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด/ จังหวัด
ประเด็นที่ 1 ความเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์กระทรวงกับยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด/ จังหวัด นโยบายของรัฐบาลควรชัดเจน โดยเฉพาะในโครงการขนาดใหญ่ ที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด เช่น Land bridge/ Corridor ยุทธศาสตร์ของกระทรวง และกลุ่มจังหวัด ควรจะต้องมีความสอดคล้องตรงกัน รวมทั้งควรให้ความสำคัญกับ ศักยภาพของกลุ่มจังหวัด/จังหวัด ตลอดจนยุทธศาสตร์ของหอการค้าฯ และสภาอุตสาหกรรม กระทรวงควรจะได้มีการกำหนดทิศทาง/ ยุทธศาสตร์ รวมทั้งเป้าหมายในการ พัฒนาในแต่ละพื้นที่ และเผยแพร่ ให้จังหวัดและกลุ่มจังหวัดได้ทราบ 68

69 ความเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์กระทรวงกับยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด/ จังหวัด
ประเด็นที่ 1 ความเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์กระทรวงกับยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด/ จังหวัด ความสอดคล้องของทิศทางประเทศกับยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด/จังหวัด ที่มา : ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน) 69 ที่มา : แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ตามมติ ครม. 8 ธ.ค. 52

70 ที่มา : แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด (ตามมติ ครม. 8 ธ.ค. 52)
เกษตรแปรรูป ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เกษตรปลอดภัย ท่องเที่ยววัฒนธรรม โลจิสติกส์ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ประวัติศาสตร์ เกษตรแปรรูป ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เกษตรข้าวหอมมะลิ โค ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เกษตรข้าวหอมมะลิ อุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร และพลังงานทดแทน เกษตรข้าว อ้อย มันสำปะหลัง โลจิสติกส์ ท่องเที่ยว เกษตรข้าวหอมมะลิ มันสำปะหลัง ท่องเที่ยว อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ไหม เกษตร โลจิสติกส์ ท่องเที่ยว การเพิ่มผลิตภาพอุตสาหกรรม เกษตรปลอดภัย โลจิสติกส์ ท่องเที่ยวประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ธรรมชาติ เกษตรข้าวหอมมะลิ ท่องเที่ยว เกษตรอุตสาหกรรม ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เกษตรแปรรูป ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ อุตสาหกรรมชุมชน เกษตรผลไม้เมืองร้อน ท่องเที่ยว เกษตรแปรูป ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เกษตรยางพารา + ปาล์มน้ำมัน โลจิสติกส์ ท่องเที่ยวทางทะเลและชายฝั่ง ท่องเที่ยวทางทะเล แทนด้านเกษตร แทนด้านโลจิสติกส์ แทนด้านท่องเที่ยว แทนด้านอุตสาหกรรม เกษตรยางพารา ที่มา : แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด (ตามมติ ครม. 8 ธ.ค. 52)

71 กระทรวง/ กรม กลุ่มจังหวัด จังหวัด
บทบาทของกระทรวง/กรม และกลุ่มจังหวัด/จังหวัดในการบริหารงานกลุ่มจังหวัด/ จังหวัดแบบบูรณาการ ประเด็นที่ 2 การกำหนดกรอบ นโยบาย ทิศทางและยุทธศาสตร์การพัฒนาที่สำคัญของประเทศ การกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรฐาน การวิจัยและพัฒนา การประสานการสนับสนุนทางวิชาการ/การปฏิบัติงานของหน่วยงานในพื้นที่ (ผู้แทนหน่วยงานกลางในระดับพื้นที่ควรเป็นพี่เลี้ยงให้กลุ่มจังหวัด/จังหวัด โดยเฉพาะในเรื่องข้อมูล) กระทรวง/ กรม กลุ่มจังหวัด - เน้นการพัฒนาในภาพรวมของกลุ่มจังหวัด จังหวัด เน้นการแปลงนโยบายไปสู่การปฏิบัติในระดับพื้นที่ บูรณาการ เชื่อมโยงการบริหาร ราชการส่วนกลาง ภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น / และเป็นหน่วยปฏิบัติการในพื้นที่ โดยคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชน 71

72 การวิจัย และพัฒนา(R&D) การบริหารจัดการสินค้า (Logistics)
+ ปัจจัยพื้นฐาน การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การแปรรูป เพิ่มและสร้าง คุณค่า การพัฒนา ระบบ การตลาด การบริหารจัดการสินค้า (Logistics) การพัฒนา เกษตรกรและ สถาบัน เกษตรกร ตัวอย่าง การวิจัยและพัฒนา เทคโนโลยีการเกษตร การพัฒนาพันธ์พืชและ ปศุสัตว์ที่สำคัญ การพัฒนาพื้นที่การ เกษตร แหล่งน้ำและ ระบบชลประทาน การวางแผนการผลิต ของประเทศ โดย คำนึงถึงการจัดสรรการ ใช้พื้นที่ การบูรณาการการ รับรองมาตรฐานสำหรับ ประเทศ ที่ทัดเทียม สากล การส่งเสริมการจัดทำ ระบบ Zero Waste การจัดทำฟาร์มตัวอย่าง เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยี การแปรรูปวัสดุเหลือใช้ ทางการเกษตร การพัฒนาระบบประกัน ราคาพืชผลและตลาดซื้อ ขายล่วงหน้า การทำการตลาดเพื่อ ประชาสัมพันธ์การเป็น ฐานผลิตอาหารระดับ โลก วางแผนเส้นทางขนส่ง ในประเทศ เพื่อ รองรับ ASEAN Supply Chain จัดตั้งศูนย์กระจาย สินค้า เพื่อเป็นจุด ส่งผ่านสินค้าทั้งใน และต่างประเทศ ส่งเสริมความ ร่วมมือกัย สถาบันการศึกษา เพื่ออบรมผู้ประกอบ และสร้างความ แข็งแกร่งในด้านโล จิสติกส์และซัพพลาย เชน บริการปรึกษาแนะนำ เทคโนโลยีการผลิตใหม่ อาทิ Post Harvest Technology สนับสนุนสินเชื่อและการ แปลงสินทรัพย์ให้เป็นทุน แก่เกษตรกร ระดับกระทรวง การปรับปรุงคุณภาพแม่ น้ำท่าจีนที่มีมลพิษ การพัฒนาระบบเกษตร อินทรีย์ (Organic Farm) โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อลดการใช้สารเคมี การพัฒนาการบริหาร จัดการฟาร์มเพื่อขอ รับรองมาตรฐานคุณภาพ เพื่อการส่งออก GAP/GMP/HACCP การคัดแยกสินค้าตาม คุณภาพเพื่อจัดเกรด สินค้า การพัฒนา กระบวนการ แปรรูปพืชพลังงาน และ วัสดุเหลือใช้ ภาคการเกษตร ส่งเสริมให้เอกชนมา ลงทุนระบบห้องเย็น เพื่อเก็บรักษาสินค้า เกษตร การเจรจาจับคู่ระหว่างผู้ส่งออกและเกษตรกร (Contract Farming) การพัฒนา/ยกระดับมาตรฐานตลาดกลางสินค้าเกษตร (ตลาดทุ่งศรีเมือง) ให้ได้รับการยอมรับระดับสากล การพัฒนาจัดการข้อมูลการตลาด (Market Intelligence Unit) โดยมีการรวบรวมข้อมูลผลิตภัณฑ์ ฟาร์มเกษตร ในพื้นที่ทั้งหมด การจัดงานแสดงสินค้าผลิตภัณฑ์การเกษตรระดับท้องถิ่น การจัดตั้งศูนย์พัฒนา อุตสาหกรรมการเกษตร เพื่อส่งออกแบบครบ วงจรในพื้นที่ (Food Processing Capacity Building and Export Development Center) การส่งเสริม สืบทอด วัฒนธรรมและวิถีชีวิต ทางการเกษตร ระดับกลุ่มจังหวัด ระดับจังหวัด การทำแปลงสาธิตเกษตร อินทรีย์ในระดับอำเภอ และระดับตำบล การส่งเสริมให้เกษตรกร ใช้น้ำส้มควันอ้อยเพื่อ กำจัดศัตรูพืช การส่งเสริมจัดทำปุ๋ย หมักชีวภาพใช้ใน ระดับชุมชน เพื่อเพิ่ม รายได้ให้เกษตรกร การทำส่งเสริมการ รวมกลุ่มของเกษตรกร และการจัดตั้งสหกรณ์ การเกษตรในชุมชน ระดับท้องถิ่น 72 72 72

73 ตัวอย่าง การพัฒนาสินค้าและบริการ ด้านท่องเที่ยว
การตลาดและประชาสัมพันธ์ การบริหารจัดการ ด้านการท่องเที่ยว การพัฒนามาตรฐานและ ความปลอดภัย โครงสร้างพื้นฐาน ตัวอย่าง กำหนดกรอบการพัฒนาใน ภาพรวม กำหนดกรอบการพัฒนา เอกลักษณ์ / มรดกทาง วัฒนธรรมในพื้นที่ ให้ข้อมูลเส้นทาง/แหล่ง ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม และพิพิธภัณฑ์ชุมชน จัดทำข้อมูลแนวโน้ม/ทิศทาง การท่องเที่ยวในอนาคต พัฒนาตลาดและประชาสัมพันธ์ในภาพรวมของประเทศ สร้างความเชื่อมั่นให้แก่นักท่องเที่ยว และการลงทุน ประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์ และวางแผนส่งเสริมการท่องเที่ยวของประเทศ ภูมิภาค และจังหวัดทั้งในประเทศ และต่างประเทศ สนับสนุนกลุ่มจังหวัด/จังหวัดที่มีศักยภาพในการทำการตลาดไปยังต่างประเทศ สร้างความร่วมมือ ระหว่างหน่วยงานต่างๆในการพัฒนาการท่องเที่ยวในภาพรวม ของประเทศ ออกกฎระเบียบ มาตรฐาน และคู่มือสำหรับการควบคุมคุณภาพในภาพรวม ดำเนินการด้านความปลอดภัย บริหารจัดการข้อมูลการท่องเที่ยวในภาพรวม กำหนดมาตรการส่งเสริม การลงทุน กำหนดมาตรฐานและทิศทางการพัฒนาบุคลากร กำหนดกรอบข้อกำหนด และความคุ้มค่าในการลงทุนในการร่วมลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานระหว่างภาครัฐและเอกชน บริหารการขนส่งนักท่องเที่ยวในภาพรวม ส่งเสริมการท่องเที่ยวผ่านช่องทางที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย ระดับกระทรวง พัฒนาจุดดึงดูดที่เหมาะสมสำหรับพื้นที่กลุ่มจังหวัด ดำเนินการพัฒนาร่วมกับหน่วยงานต่างๆในกลุ่มจังหวัด พัฒนาให้เหมาะสมสำหรับพื้นที่จังหวัดและเชื่อมโยงกับกลุ่ม ดูแลรักษาปัจจัยพื้นฐานภายในแหล่งท่องเที่ยว พัฒนาการตลาดในภาพรวมของกลุ่มจังหวัด ทำการตลาดกลุ่มจังหวัดไปยังต่างประเทศ ประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวที่เป็นเอกลักษณ์ของกลุ่มจังหวัด พัฒนาการตลาดในภาพรวมของจังหวัด ทำการตลาดจังหวัดไปยังต่างประเทศ ประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัด สร้างความร่วมมือ ระหว่างหน่วยงานต่างๆ ในการพัฒนาการท่องเที่ยวภายใน กลุ่มจังหวัด สร้างความร่วมมือ ระหว่างหน่วยงานต่างๆในการพัฒนาการท่องเที่ยวภายในจังหวัด และเชื่อมโยงกับกลุ่มจังหวัด สนับสนุนการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยว ให้ได้มาตรฐาน ปรับใช้มาตรฐานที่เหมาะสมกับกลุ่มจังหวัด ฟื้นฟู และแก้ไขปัญหาในพื้นที่กลุ่มจังหวัด ควบคุมดูแลการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวให้มีมาตรฐาน ดูแลรักษาความปลอดภัยให้กับนักท่องเที่ยว การดูแลความปลอดภัยในพื้นที่ล่อแหลม บริหารจัดการข้อมูลการท่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัด สนับสนุนการพัฒนาบุคลากรและการสร้างเครือข่าย เชื่อมโยงการขนส่งนักท่องเที่ยวในกลุ่มจังหวัด กับระบบหลัก ส่งเสริมการร่วมทุนโครงสร้างพื้นฐานระหว่างภาครัฐและเอกชน รวบรวมข้อมูลการท่องเที่ยว ในจังหวัด ควบคุมมาตรฐานการให้ บริการของบุคลากร เชื่อมโยงการขนส่งนักท่องเที่ยวในจังหวัดกับระบบหลัก ระดับกลุ่มจังหวัด ระดับจังหวัด 73 73 73 73 73

74 ตัวอย่าง พัฒนาละบริหารปัจจัยพื้นฐาน การผลิต
พัฒนาประสิทธิภาพ และมาตรฐานการผลิต พัฒนาการแปรรูป เพิ่มมูลค่ายกระดับคุณภาพสินค้า พัฒนา ระบบตลาด พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็นต่อการลงทุน ตัวอย่าง พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการ ผลิตเพื่อภาคอุตสาหกรรม เช่น แหล่งน้ำ ระบบ ชลประทาน ทรัยพากรดิน ศึกษาพื้นที่ที่เหมาะสมในการ จัดตั้งโรงงานอุตสาหกรรม จัดสรรพื้นที่เขตอุตสาหกรรม ของประเทศ พัฒนาความพร้อมด้าน ทรัพยากรของประเทศ ที่เป็น วัตถุดิบที่สำคัญจำเป็นต่อ ภาคอุตสาหกรรม กำหนดมาตรฐานการผลิตระดับสากล เช่น ISO ต่างๆ กำหนดมาตรฐานโรงงานอุตสาหกรรมและส่งเสริมโรงงานอุตสาหกรรมให้ได้รับการรับรองมาตรฐาน รับรองและตรวจสอบมาตรฐานการผลิตและมาตรฐานโรงงานอุตสาหกรรม สนับสนุนการลดต้นทุน/การเข้าถึงแหล่งทุนให้แก่ภาคอุตสาหกรรม วิจัยและพัฒนาการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ พัฒนาและถ่ายทอดการแปรรูปและเทคโนโลยีการแปรรูป ส่งเสริมการแปรรูป การเพิ่มมูลค่าสินค้า และการยกระดับมาตรฐานและคุณภาพสินค้า พัฒนาฐานข้อมูลด้านการตลาด (Market Intelligence Unit) พัฒนาศักยภาพทางการตลาดและประชาสัมพันธ์สินค้าอุตสาหกรรมของประเทศ ทั้งตลาดภายในประเทศและตลาดต่างประเทศ พัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านอุตสาหกรรมของประเทศ พัฒนาความรู้และทักษะฝีมือแรงงาน และบุคลากรภาครัฐและเอกชนในภาคอุตสาหกรรม พัฒนาและเชื่อมโยงระบบโครงข่ายการคมนาคมขนส่งและกระจายสินค้า ส่งเสริมและพัฒนาการบริหารจัดการด้าน Logistics และ Supply Chain จัดตั้งศูนย์กระจายสินค้า ส่งเสริมและอำนวยความสะดวกต่อการลงทุนในภาคอุตสาหกรรม ระดับกระทรวง ศึกษาและพัฒนาความพร้อมด้านวัตถุดิบที่จำเป็นต่อภาคอุตสาหกรรมในกลุ่มจังหวัด พัฒนาพื้นที่การเกษตร และเชื่อมโยงแหล่งน้ำและระบบชลประทานในกลุ่มจังหวัด ศึกษาและพัฒนาความพร้อมด้านวัตถุดิบที่จำเป็นต่อภาคอุตสาหกรรมในจังหวัด พัฒนาและบริหารจัดการพื้นที่การเกษตร และแหล่งน้ำภายในจังหวัด พัฒนาระบบและเทคโนโลยีการผลิตและการบริหารจัดการของโรงงานให้ได้มาตรฐาน สะอาด ปลอดภัย เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ลดต้นทุน/การเข้าถึงแหล่งทุนให้แก่อุตสาหกรรมสำคัญที่มีศักยภาพของกลุ่มจังหวัด พัฒนาอุตสาหกรรมที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน เชื่อมโยงกับระบบการบริหาร จัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมของกลุ่ม จังหวัด ลดต้นทุน/การเข้าถึงแหล่งทุน ให้แก่อุตสาหกรรมในจังหวัด ส่งเสริมและพัฒนาการแปรรูป การเพิ่มมูลค่า และการยกระดับ คุณภาพสินค้าที่ผลิตภายในกลุ่มจังหวัด พัฒนาการรวมกลุ่มอุตสาหกรรม (Cluster) แปรรูป อบรมการแปรรูป การเพิ่มมูลค่าสินค้า และ การยกระดับคุณภาพสินค้าให้กับผู้ประกอบการในจังหวัด จับคู่ธุรกิจการผลิตของภาคอุตสาหกรรม “Business Matching” เพิ่มประสิทธิภาพการตลาดและเชื่อมโยงการตลาดสำหรับสินค้าอุตสาหกรรมของกลุ่มจังหวัด ส่งเสริมการประชาสัมพันธ์สินค้าอุตสาหกรรมของกลุ่มจังหวัด พัฒนามาตรฐานระบบการตลาดสินค้าของจังหวัด ประชาสัมพันธ์สินค้าอุตสาหกรรมของจังหวัด พัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านอุตสาหกรรมของกลุ่มจังหวัด ยกระดับความรู้ความสามารถ ของผู้ประกอบการและแรงงาน ในกลุ่มจังหวัด พัฒนาเครือข่ายผู้ผลิต/ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมศักยภาพของกลุ่มจังหวัด พัฒนาและเชื่อมโยงระบบการคมนาคมขนส่งและกระจาย สินค้าในกลุ่มจังหวัด พัฒนาฐานข้อมูลด้านอุตสาหกรรมของจังหวัดและเชื่อมโยงกับจังหวัดอื่นๆ ใน กลุ่มจังหวัด พัฒนาทักษะฝีมือแรงงานจังหวัด พัฒนาการคมนาคมขนส่งและ โลจิสติกส์และเชื่อมโยงกับ จังหวัดอื่นในกลุ่มจังหวัด พัฒนา Cluster ในอุตสาหกรรม ที่สำคัญของจังหวัด ระดับกลุ่มจังหวัด ระดับจังหวัด 74 74 74 74 74

75 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ เช่น น้ำ ป่าไม้ ชายฝั่ง และอื่น ๆ
ตัวอย่าง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ เช่น น้ำ ป่าไม้ ชายฝั่ง และอื่น ๆ ป้องกัน แก้ไข รวม รณรงค์ให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สนับสนุนการอนุรักษ์ และการใช้ประโยชน์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ที่สามารถตอบสนองเป้าหมายการพัฒนา ประเทศในด้านเศรษฐกิจ สังคม กำหนดแนวทางการบริหารจัดการการพัฒนาและการอนุรักษ์ร่วมกันอย่างเป็นระบบ ศึกษาโอกาสและผลกระทบของภัยธรรมชาติหรือปัญหาที่จะเกิดขึ้นในภาพรวมของประเทศ ระดับกระทรวง แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าที่เกิดในพื้นที่ที่ต้องดำเนินการร่วมกันเป็นกลุ่ม แก้ไขปัญหาความขัดแย้ในการใช้ทรัพยากรร่วมกันในกลุ่ม สำรวจพื้นที่และดำเนินการฟื้นฟูพื้นที่ที่จำเป็น แก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เกิดในพื้นที่จังหวัด แก้ไขปัญหาการเข้าถึงและการกระจายการใช้ประโยชน์ทรัพยากร สร้างความร่วมมือในการบริหารจัดการร่วมกันทั้งภายในและระหว่างกลุ่มจังหวัด กำหนดแนวทางการอนุรักษ์และฟื้นฟูร่วมกันในกลุ่มจังหวัด ประสานงานกับหน่วยงานตามภารกิจ และเครือข่ายความร่วมมือภายในพื้นที่จังหวัดในการบริหารจัดการ หาแนวทางในการป้องกันปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เกิดในพื้นที่กลุ่มจังหวัด แนวทางการใช้ประโยชน์ทรัพยากรตามเป้าหมายการพัฒนากลุ่มจังหวัด หาแนวทางในการป้องกันปัญหาที่เกิดในพื้นที่จังหวัดที่สามารถดำเนินการได้เอง รณรงค์สร้างจิตสำนึกและให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ แนวทาการพัฒนา อนุรักษ์ และใช้ประโยชน์จากทรัพยากร เพื่อสนองความต้องการพื้นฐานและการประกอบอาชีพของประชาชน ระดับกลุ่มจังหวัด ระดับจังหวัด 75 75 75 75 75

76 ตัวอย่าง สุขภาพอนามัย การมีงานทำและรายได้ ความมั่นคงส่วนบุคคล
ที่อยู่อาศัย สุขภาพอนามัย การศึกษา การมีงานทำและรายได้ ความมั่นคงส่วนบุคคล ครอบครัว ตัวอย่าง วางกรอบการพัฒนา โครงสร้างสาธารณูปโภค และผังเมืองโดยรวม พัฒนาความมั่นคงในการอยู่ อาศัยในเมืองและในชนบท และประชาชนผู้มี รายได้น้อย พัฒาสภาพแวดล้อมของ ประชาชนให้เป็นชุมชน น่าอยู่ สร้างสมรรถนะของชุมชน ให้เป็นชุมชนเข้มแข็ง เฝ้าระวังโรคภัย และปัญหาสาธารณสุขที่เกิดขึ้นในประเทศ วางแนวทางการพัฒนาการศึกษาโดยรวมของประเทศ ส่งเสริมให้ประชาชนมีงานทำ และกำหนดรายได้ขั้นต่ำเพื่อให้เหมาะสม ขยายโอกาสและเพิ่มทางเลือกในการประกอบอาชีพ พัฒนาฝีมือแรงงานตามมาตรฐานแรงงาน ส่งเสริมและคุ้มครองให้แรงงานมีความมั่นคงในการทำงานและสวัสดิการแรงงานเพิ่มขึ้น วางแนวทางและมาตรการในการดูแลรักษาความสงบเรียบร้อย และความปลอดภัยให้แก่ประชาชน วางแนวทางและมาตรการในการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการแก่ประชาชน สร้างชุมชนเข้มแข็งปลอดยาเสพติด วางแนวทาง และส่งเสริมประชาสัมพันธ์ขนบธรรมเนียมประเพณี และค่านิยมที่พึงปฏิบัติ กำหนดมาตรการและแนวทางในการเสริมสร้างสถาบันครอบครัวเข้มแข็ง ระดับกระทรวง วางระบบผังเมืองให้เหมาะสมกับพื้นที่ วางมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อจังหวัด เสริมสร้างสมรรถนะท้องถิ่นให้มีความรู้ในการวางแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกันแก้ไขปัญหาชุมชนแออัดของจังหวัด เสริมสร้างสมรรถนะท้องถิ่นเพื่อรองรับมอบโอนระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการต่างๆ ดูแลป้องกันปัญหาสาธารณสุขภายในพื้นที่ การปรับปรุงหลักสูตรไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับพื้นที่ ส่งเสริมให้ประชาชนมีงานทำและเพิ่มทางเลือกในการประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับจังหวัด พัฒนาฝีมือของแรงงานให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานในจังหวัด ส่งเสริมให้แรงงานมี ความมั่นคงในการทำงานและสวัสดิการแรงงานเพิ่มขึ้น ดูแลรักษาความมั่นคงและความปลอดภัยให้กับประชาชนในพื้นที่จังหวัด ส่งเสริมการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการแก่ประชาชนในพื้นที่จังหวัด ส่งเสริมสนับสนุนและให้คำปรึกษาในการดำเนินงานตามมาตรการและแนวทางที่กำหนด นำแนวทางมาประชาสัมพันธ์ และรณรงค์ให้แก่ประชาชนในพื้นที่ดำเนินตาม ดำเนินการตามมาตรการและแนวทางเสริมสร้างสถาบันครอบครัวเข้มแข็ง ระดับกลุ่มจังหวัด ระดับจังหวัด 76 76 76 76 76

77 ตัวอย่าง พัฒนาระบบบริหาร และจัดการ พัฒนาปัจจัยพื้นฐาน สร้างแรงจูงใจให้
เกิดการค้า การลงทุน พัฒนาศักยภาพ ความพร้อมของผู้ประกอบการ /บุคคลากรที่เกี่ยวข้อง พัฒนาด้านการตลาด และช่องทาง การจัดจำหน่าย ตัวอย่าง จัดระเบียบและบริหาร การนำเข้าและส่งออก สินค้า การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน พัฒนาปัจจัยพื้นฐาน ด้านการค้า เช่นจัดตั้งคลังสินค้า พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบบริหารจัดการขนส่งสินค้าและบริการได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพด้านอิเลคทรอนิกส์ ดูแลด้านคุณภาพและมาตรฐานสินค้านำเข้าและส่งออก เสนอแนะนโยบายท่าทีกลยุทธ์และประชุมเจรจา การค้า ส่งเสริมให้มีการสร้างมาตรฐานการค้าร่วมกันในภูมิภาค จัดทำกำหนดและพัฒนามาตรฐานพิกัดศุลกากร ให้บริการข้อมูลการค้า ส่งเสริม และพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ กำหนดแนวทางและดำเนินการ พัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยการค้าภูมิภาคและค้าชายแดน เผยแพร่และประชาสัมพันธ์สินค้าและบริการ ดำเนินการเพื่อส่งเสริมด้านการส่งออกสินค้าไทยไปประเทศเพื่อนบ้าน ระดับกระทรวง จัดตั้งศูนย์ข้อมูล ข่าวสารของกลุ่ม จังหวัดเพื่อการ เผยแพร่ พัฒนาระบบการ จัดการการค้า ภายในชุมชน ชายแดน พัฒนารูปแบบการ ใช้ศูนย์กระจาย สินค้าเพื่อการใช้ งานร่วมกันภายใน กลุ่มจังหวัด ระดับกลุ่มจังหวัด จัดทำกิจกรรม ส่งเสริมการขาย สินค้าไปยังประเทศ เพื่อนบ้าน พัฒนาศักยภาพ ผู้ประกอบการ/ บุคลากรที่ เกี่ยวข้องในจังหวัด ระดับจังหวัด 77 77 77 77

78 การผลิต การค้าและบริการ การพัฒนากลไกขับเคลื่อน
สร้างระบบ โลจิสติกส์ในภาค การผลิต การค้าและบริการ การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบขนส่ง และโลจิสติกส์ การปรับปรุง สิ่งอำนวยความสะดวก ทางการค้า การพัฒนากลไกขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ โลจิสติกส์ ตัวอย่าง การพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานด้านการ คมนาคม พัฒนาปัจจัยพื้นฐาน ด้านการค้าเช่นจัดตั้ง คลังสินค้า การปรับปรุงโครงข่ายคมนาคมเดิมให้มีประสิทธิภาพ ลดต้นทุนโลจิสติกส์ทางการค้า E-Logistics พัฒนาปัจจัยพื้นฐานด้านการค้า เช่น จัดตั้งคลังสินค้า การให้บริการการขนส่งคมนาคม บูรณาการฐานข้อมูลการค้า เชื่อมโยงระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง single window สร้างระบบทางเทคโนโลยีด้านข้อมูลพื้นฐานทางการค้า-โลจิสติกส์ ขับเคลื่อนระบบโลจิสติกส์ทาง การค้า ระดับกระทรวง ระดับกลุ่มจังหวัด พัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานเพื่อเชื่อมต่อ ภายในกลุ่มจังหวัด พัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานเพื่อแก้ไข ปัญหาเร่งด่วนใน ระดับพื้นที่ พัฒนาปัจจัยพื้นฐานด้าน การค้า เช่น จัดตั้งคลังสินค้า พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อ แก้ไขปัญหาเร่งด่วนในระดับ พื้นที่ เชื่อมต่อฐานข้อมูล ระดับกลุ่มจังหวัด ระดับจังหวัด พัฒนาความร่วมมือ ผู้ประกอบการด้านการค้า และ Logistics ระดับท้องถิ่น พัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานในพื้นที่ ส่งเสริมการเพิ่มศักยภาพ ด้านการกระจายสินค้า ส่งเสริมและปฏิบัติการ ตามแผนพัฒนาศักยภาพ ส่วนท้องถิ่น 78 78 78 78

79 ตัวแบบการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
ตัวแบบการแปลงแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดไปสู่แผนปฏิบัติราชการประจำปี

80 ส่วนที่ 4 งบประมาณกลุ่มจังหวัด การบริหารงบประมาณกลุ่มจังหวัด
งบประมาณและการบริหารงบประมาณกลุ่มจังหวัด งบประมาณกลุ่มจังหวัด การบริหารงบประมาณกลุ่มจังหวัด

81 จัดส่งแผนพัฒนาจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด
แนวทางดำเนินการเมื่อ ครม.เห็นชอบแผนพัฒนาจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีของจังหวัด ก.น.จ. จัดส่งแผนพัฒนาจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด ที่ ครม.ให้ความเห็นชอบให้สำนักงบประมาณ สำนักงบประมาณ ดำเนินการจัดสรรงบประมาณฯ ให้เพียงพอต่อการดำเนินงานตาม แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด การส่งแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดให้ถือว่าเป็นการยื่น คำของบประมาณต่อสำนักงบประมาณตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการ งบประมาณแล้วเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับงบประมาณของจังหวัด 81

82 มติ ก.น.จ. วันที่ 19 พ.ย. 52 : หลักเกณฑ์และแนวทางการกำหนดกรอบการจัดสรรงบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 2. สัดส่วนระหว่างงบประมาณกลุ่มจังหวัดและ งบประมาณจังหวัด 30:70 ใช้ผลรวมของวงเงินงบประมาณของจังหวัดที่ได้รับการจัดสรรภายในกลุ่มจังหวัดนั้นมาใช้เป็นกรอบ เพื่อจัดสรรให้กลุ่มจังหวัดและแต่ละจังหวัดในกลุ่มนั้น โดยกำหนดสัดส่วนให้ชัดเจน 82

83 สรุปภาพรวมการให้คะแนนเบื้องต้นของคุณภาพแผนพัฒนาจังหวัด/แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด
ดีมาก (18 จังหวัด) ดีมาก (2 กลุ่ม จว.) ดี (40 จังหวัด) ดี (13 แห่ง) พอใช้ (17 แห่ง) พอใช้ (3 แห่ง) 83 83 83

84 ผลการเบิกจ่ายงบประมาณจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553
(ตั้งแต่ 1 ต.ค. 52 – 22 ม.ค. 53) การเบิกจ่ายของจังหวัด/กลุ่มจังหวัดยังมีค่อนข้างน้อย จากข้อมูลในระบบ GFMIS ได้เบิกจ่ายไปทั้งสิ้น ล้านบาท จาก 3,300 ล้านบาท (คิดเป็น 4.5%) (เป็นข้อมูลเฉพาะงบประมาณที่ได้รับตาม พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ ส่วนงบประมาณที่ได้รับจากเงินกู้ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง จังหวัด/กลุ่มจังหวัดยังไม่ได้รับรหัส จึงยังไม่สามารถเบิกจ่ายได้) ฝ่ายเลขานุการ ก.น.จ. จะเร่งรัดประสานการดำเนินการกับกระทรวง การคลัง/ผู้ตรวจฯ สร. /ผู้ตรวจฯ มท. /หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป 148.55 ล้านบาท 3,300 ล้านบาท ข้อขัดข้องในการเบิกจ่ายเงิน โดยเฉพาะกรณีของกลุ่มจังหวัด เป็นประเด็นเกี่ยวกับ การมอบอำนาจตามระเบียบ สร. ว่าด้วยการพัสดุ กรมบัญชีกลางได้มีหนังสือตอบข้อหารือของ มท. ว่า คกก.ว่าด้วยการพัสดุได้ให้ ข้อคิดเห็น สรุปได้ดังนี้ - กลุ่มจังหวัดเป็นหน่วยงานที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณโดยตรงในฐานะที่เป็นส่วนราชการ ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ โดยมิได้มีฐานะเป็นนิติบุคคลตามระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน จึงไม่สามารถดำเนินการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติมได้ - กรณีนี้เนื่องจากหัวหน้ากลุ่มจังหวัด คือผู้ว่าราชการจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด จึงอาจจะมอบอำนาจการจัดซื้อจัดจ้างให้แก่ผู้ว่าราชการจังหวัดในกลุ่มจังหวัดหรือหัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัดในกลุ่มจังหวัดก็ย่อมกระทำได้ ตามนัยข้อ 9 ของระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การพัสดุ ฯ - อย่างไรก็ดี การมอบอำนาจดังกล่าวนั้นเป็นเรื่องเกี่ยวข้องกับการดำเนินการและการสั่งการในเรื่องการจัดซื้อจัดจ้าง นำไปสู่ขั้นตอนการทำนิติกรรมสัญญา ซึ่งหน่วยงานต้องมีฐานะเป็นนิติบุคคล กรณีของกลุ่มจังหวัดจึงควรให้ ก.น.จ. ออกประกาศกำหนดตัวนิติบุคคลให้อย่างชัดเจนต่อไป ดังนั้น จึงเห็นควรจัดทำเป็นประกาศ ก.น.จ. เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์การจัดหาพัสดุ และจัดทำนิติกรรมสัญญาของกลุ่มจังหวัด 84

85 คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
ประกาศ คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการบริหารงบประมาณจังหวัด และงบประมาณกลุ่มจังหวัด ข้อ ๑ การบริหารงบประมาณรายจ่ายของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดให้เป็นไปตามระเบียบเกี่ยวกับ การบริหารงบประมาณ ที่ออกตามกฎหมายว่าด้วยการงบประมาณ ข้อ ๒ การเบิกจ่ายเงินงบประมาณของกลุ่มจังหวัดให้ดำเนินการ ดังนี้ (๑) โครงการที่ดำเนินการในเขตพื้นที่จังหวัดใด ให้กลุ่มจังหวัดเจ้าของงบประมาณมอบหมาย ให้จังหวัดนั้นในฐานะที่เป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณเป็นผู้เบิกเงินในนาม กลุ่มจังหวัดซึ่งเป็นส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ (๒) โครงการที่ดำเนินการในเขตพื้นที่คาบเกี่ยวกันตั้งแต่สองจังหวัดขึ้นไป ให้กลุ่มจังหวัด เจ้าของงบประมาณมอบหมายให้จังหวัดซึ่งเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัดในฐานะที่เป็นส่วนราชการ ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณนั้นเป็นผู้เบิกเงินในนามกลุ่มจังหวัดซึ่งเป็นส่วนราชการเจ้าของ งบประมาณ การดำเนินการตามวรรคหนึ่งให้ถือปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกำหนด

86

87 คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
(ร่าง) ประกาศ คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการพัสดุและจัดทำนิติกรรมสัญญาของกลุ่มจังหวัด โดยที่เป็นการสมควรกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการพัสดุและจัดทำนิติกรรมสัญญาของกลุ่มจังหวัด เพื่อให้การบริหารงบประมาณของกลุ่มจังหวัดเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผล และเป็นไปตามวัตถุประสงค์และทิศทางการพัฒนาของกลุ่มจังหวัด อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๘ (๒) และมาตรา ๓๒ แห่งพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. ๒๕๕๑ คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.น.จ.) โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี จึงประกาศคณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการพัสดุและจัดทำนิติกรรมสัญญาของกลุ่มจังหวัดไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ การพัสดุของกลุ่มจังหวัดให้ดำเนินการ ดังต่อไปนี้ (๑) โครงการที่ดำเนินการในเขตพื้นที่จังหวัดใด ให้หัวหน้ากลุ่มจังหวัดเจ้าของงบประมาณมอบอำนาจให้แก่ผู้ว่าราชการจังหวัดนั้นดำเนินการแทนกลุ่มจังหวัดได้ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (๒) โครงการที่ดำเนินการในเขตพื้นที่คาบเกี่ยวกันตั้งแต่สองจังหวัดขึ้นไป ให้หัวหน้ากลุ่มจังหวัดเจ้าของงบประมาณมอบอำนาจให้แก่ผู้ว่าราชการจังหวัดซึ่งเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัดดำเนินการแทนกลุ่มจังหวัดได้ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ ๒ ในการจัดทำนิติกรรมสัญญา ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดที่ได้รับมอบอำนาจตามข้อ ๑ เป็นผู้ลงนามในนิติกรรมสัญญาในฐานะเป็นหัวหน้าส่วนราชการของจังหวัด ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๒๕๕๓ (นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ) นายกรัฐมนตรี ประธาน ก.น.จ. 87

88 พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี มีผลใช้บังคับ
การดำเนินการเกี่ยวกับงบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแลลบูรณาการ พ.ศ. 2551 ภายใน 30 วัน (31 ตุลาคม 2552) ส่วนราชการ แจ้งให้ ผู้ว่าราชการจังหวัดทราบการได้รับจัดสรรงบประมาณสำหรับดำเนินการตามแผนพัฒนาและแผนปฎิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น แจ้งให้ ผู้ว่าราชการจังหวัดทราบการจัดสรรงบประมาณ งบเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการตามแผนพัฒนาและแผนปฎิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี มีผลใช้บังคับ (1 ตุลาคม 2552) ผู้ว่าราชการจังหวัด (ม. 29) สำนักงบประมาณ แจ้งการจัดสรรงบประมาณให้ผู้ว่าราชการจังหวัดทราบ ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่สำนักงบประมาณได้รับแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายเงินจากหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง สิ้นปีงบประมาณ วัน (ม. 31) จังหวัด/กลุ่มจังหวัด รายงานสรุปผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณ เสนอ ก.น.จ. เพื่อเสนอคณะรัฐมนตรี 88

89 ส่วนที่ 4 การกำกับติดตาม แนวทางการดำเนินการต่อไป
การกำกับติดตามและแนวทางการดำเนินการต่อไป การกำกับติดตาม แนวทางการดำเนินการต่อไป

90 ระบบการประสานงานและการรายงาน
 รายงานผลความก้าวหน้าในการดำเนินการแผนงาน โครงการตามแผนพัฒนา แผนปฏิบัติราชการประจำปี ของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด และการบริหารงบประมาณ ของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ให้จังหวัดรายงานต่อ ก.น.จ. ทุก 6 เดือน /รมต.สร.  รายงานสรุปผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่าย งบประมาณ รวมทั้งปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน ตามแผนพัฒนา และแผนปฏิบัติราชการประจำปีของ จังหวัดให้รายงานต่อ ก.น.จ. ก่อนนำเสนอ ครม.  รายงานสภาพปัญหาอุปสรรคที่มีอยู่ในพื้นที่ ให้รายงานต่อ ผต.นร. และหรือ ผต.มท. เพื่อบูรณาการ ในการแก้ไขปัญหาในเบื้องต้น และนำเสนอ ก.น.จ. เพื่อทราบหรือให้ข้อวินิจฉัยสั่งการ ระบบการติดตามและประเมินผล  กลไกการตรวจราชการของ ผต.นร. และ ผต.มท. ในการเร่งรัด ติดตาม และประเมินผลการดำเนินการ ตามแผนพัฒนา แผนปฏิบัติ ราชการประจำปีของจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด รวมทั้งการ บริหารงบประมาณ  ใช้กลไกของ ก.พ.ร. ในการติดตาม ประเมินผล ตามคำรับรอง การปฏิบัติราชการของ จังหวัดและ กลุ่มจังหวัด  ใช้กลไกของคณะกรรมการ ตรวจสอบและประเมินผล ภาคราชการ (ค.ต.ป.) 90

91 แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด/ แผนพัฒนาจังหวัด
การกำกับและติดตาม (ต่อ) เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติราชการตามแผนพัฒนาจังหวัดและ แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ให้จังหวัด จัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด/ แผนพัฒนาจังหวัด ผลสัมฤทธิ์ในระดับภาพรวมและแยกตามรายประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ในระดับโครงการ (ตามคำของบประมาณประจำปีของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด) 91

92 อนุ กนจ.ด้านแผนและงบประมาณ
โครงสร้างระบบการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ การวางแผน การอนุมัติ การตรวจสอบ กนจ. ครม.  พรฎ.ว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดฯ - ก.บ.จ./ ก.บ.ก. - ผู้ตรวจ นร./ มท. เร่งรัด ติดตาม ประเมินผล และ รายงานต่อ ก.น.จ. อย่างน้อย ปีละ 2 ครั้ง กำหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดทำแผน กนจ. ก.บ.จ. (สำนักงานจังหวัด) ระเบียบ นร. ว่าด้วยการกำกับฯ - กกภ. - รนม. กำกับติดตามการปฏิบัติ ราชการของผู้ว่าราชการจังหวัด/ เจ้าหน้าที่ระดับสูงในจังหวัด - ผู้ตรวจ นร. รายงานต่อ รนม. - รองนายกฯ มีอำนาจอนุมัติงบ กลาง กรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น ให้แก่หน่วยงานของรัฐไม่เกินคน ละ 100 ล้านบาทต่อปี ก.บ.ก. (สำนักบริหาร ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด) อนุ กนจ.ด้านแผนและงบประมาณ (5 คณะ) จัดทำแผนพัฒนาจังหวัด และแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ซึ่งถือเป็นคำของบประมาณ ร่างระเบียบ นร.ฯ - คณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด(ก.ธ.จ.)

93 ปรับปรุงช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ (เว็บไซต์ ก.น.จ.) เผยแพร่ข้อมูล
เว็บไซต์ ก.น.จ.

94  เสนอ ก.น.จ.  เสนอ ก.น.จ.  เสนอ ก.น.จ./ ครม
แนวทางการดำเนินงานต่อไปของ ก.น.จ. มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน พฤศจิกายน ธันวาคม ตุลาคม การติดตามประเมินผลแผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด/จังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 การติดตามประเมินผลกลุ่มจังหวัด/ จังหวัด  การเบิกจ่ายงบประมาณ  การดำเนินการตามคำรับรองการ ปฏิบัติราชการ  การดำเนินการตามแผนปฏิบัติ ราชการ  เสนอ ก.น.จ.  เสนอ ก.น.จ. การนำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด/จังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ไปสู่การปฏิบัติ จัดประชุมร่วมระหว่างกลุ่มจังหวัด/จังหวัด กับส่วนราชการภายหลังจากที่ร่าง พรบ. งบประมาณ พ.ศ ผ่านการพิจารณาแล้ว จัดประชุมร่วมเพื่อบูรณาการโครงการภายใต้ยุทธศาสตร์ระหว่างกลุ่มจังหวัด/จังหวัด กับ อปท. การเตรียมการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด/จังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 จัดทำคู่มือ การให้คำปรึกษาและร่วมจัดทำแผน ฯ กับกลุ่มจังหวัด/จังหวัด ประชุมร่วมระหว่างกลุ่มจังหวัด/จังหวัด กับ อ.ก.น.จ. ฯ(เสนอ project idea) ประชุมหารือร่วมกันระหว่างกลุ่มจังหวัด/จังหวัด กับส่วนราชการเพื่อบูรณาการยุทธศาสตร์ พัฒนากลไกและระบบการบริหารจัดการของกลุ่มจังหวัด/จังหวัด เช่น พัฒนาระบบฐานข้อมูล/joint KPIs/สำนักบริหารยุทธศาสตร์ฯ/ เสริมสร้างความร้ อ.ก.น.จ./ก.น.จ. /ครม. พิจารณาเห็นชอบแผนฯ  อ.ก.น.จ. วิชาการ ฯ  อ.ก.น.จ. ฯ 5 คณะ  อ.ก.น.จ. ฯ 5 คณะ  เสนอ ก.น.จ./ ครม

95 ครั้งที่ 3 (1 – 5 พ.ย. 2553) ร่าง การประชุม ก.น.จ. ครั้งต่อไป
ปี 2553 ปี 2554 ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค.. มิถุนายน ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พฤศจิกายน ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค.. มิ.ย. ครั้งที่ 2 ( มิ.ย. 2553) เรื่องเพื่อพิจารณา กรอบนโยบายและหลักเกณฑ์ในการจัดทำ แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 รับทราบรายงานความก้าวหน้าในการติดตาม ประเมินผลระหว่างปี (รอบ 6 เดือน)  การเบิกจ่ายงบประมาณ ปี พ.ศ. 2553  การดำเนินการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการฯ ปี 2553  การดำเนินการตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีฯ 2553 ครั้งที่ 3 (1 – 5 พ.ย. 2553) เรื่องเพื่อพิจารณา การพิจารณาแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด และกลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 รับทราบรายงานความก้าวหน้าในการติดตาม ประเมินผลประจำปี  การเบิกจ่ายงบประมาณ ปี พ.ศ. 2553  การดำเนินการตามคำรับรองการปฏิบัติ ราชการฯ ปี 2553  การดำเนินการตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีฯ 2553 95

96 ร่าง ปฏิทินการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด และแผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ลำดับ วัน เดือน ปี ขั้นตอน 1. 1 – 4 มิถุนายน 2553 ประชุม ก.น.จ. ครั้งที่ 2/2553 - เพื่อกำหนดนโยบายและหลักเกณฑ์แนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด และคำของบประมาณของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 2. มิถุนายน 2553 กลุ่มจังหวัด/จังหวัดนำเสนอโครงร่างของแผนปฏิบัติราชการประจำปี (Project Idea) ต่อ อ.ก.น.จ. ด้านแผนและด้านงบประมาณ คณะที่ 1 – 5 และรับข้อสังเกตจาก อ.ก.น.จ. ฯ เพื่อประกอบในการจัดทำรายละเอียดของแผนฯ 3. มิถุนายน – กันยายน 2553 จังหวัดกลุ่มจังหวัดดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ โดยมี - อ.ก.น.จ. ด้านแผนและด้านงบประมาณ คณะที่ 1 – 5 ร่วมกับทีมบูรณาการกลาง (สศช. สงป. มท. และ ก.พ.ร.) เข้าไปปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัด/กลุ่มจังหวัดเพื่อเป็นพี่เลี้ยงในการให้คำปรึกษาแนะนำเกี่ยวกับการจัดทำโครงการและคำของบประมาณ - การประชุมร่วมระหว่างจังหวัด/กลุ่มจังหวัด (Area) กับส่วนราชการ (Function) เพื่อบูรณาการยุทธศาสตร์ โครงการและงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 4. 20 กันยายน 2553 - จังหวัดและกลุ่มจังหวัดส่งแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด และแผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555ให้ ก.น.จ. - จังหวัดและกลุ่มจังหวัดจัดส่งร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด และแผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ให้ส่วนราชการและหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องไปประกอบการจัดทำคำของบประมาณของส่วนราชการ

97 ปฏิทินการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด และแผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ (ต่อ) ร่าง ลำดับ วัน เดือน ปี ขั้นตอน 5. 21 กันยายน – 29 ตุลาคม 2553 - ก.น.จ. โดย อ.ก.น.จ. ด้านแผนและด้านงบประมาณ พิจารณากลั่นกรองแผนปฏิบัติราชการประจำปี ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด 6. 1-5 พฤศจิกายน 2553 ประชุม ก.น.จ. ครั้งที่ 3/2553 - พิจารณาแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด และคำของบประมาณของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 7. 9 พฤศจิกายน 2553 - ก.น.จ. เสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาเห็นชอบแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด และคำของบประมาณของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 8. 10 พฤศจิกายน 2553 - ก.น.จ. นำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด และแผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด ซึ่งถือเป็นคำของบประมาณของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่งสำนักงบประมาณ - ฝ่ายเลขานุการ ก.น.จ. จัดส่งแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด และแผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ที่คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ ให้ส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องไปประกอบการจัดทำคำของบประมาณของส่วนราชการ 9. 1 กุมภาพันธ์ 2554 - ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นจัดทำรายละเอียดวงเงินและคำของบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ ที่สอดคล้องกับแผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี รวมทั้งบูรณาการงบประมาณในมิติพื้นที่ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัด เสนอรองนายกรัฐมนตรีที่รับผิดชอบ หรือรัฐมนตรีเจ้าสังกัดพิจารณาให้ความเห็นชอบ และส่งสำนักงบประมาณ 10. 2 กุมภาพันธ์ – 25 มีนาคม 2554 - สำนักงบประมาณ พิจารณาและจัดทำรายละเอียดงบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณ พ.ศ เพื่อนำเสนอคณะรัฐมนตรี

98 ร่าง ปฏิทินการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด และแผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ (ต่อ) ลำดับ วัน เดือน ปี ขั้นตอน 11. 29 มีนาคม 2554 - คณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบรายละเอียดงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ พร้อมหลักเกณฑ์การปรับปรุงงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 12. 30 มีนาคม – 8 เมษายน 2554 - จังหวัด/กลุ่มจังหวัดโดยความเห็นชอบของ ก.น.จ. ปรับปรุงรายละเอียดงบประมาณรายจ่ายประจำปี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ และส่งสำนักงบประมาณ 13. 11-25 เมษายน 2554 - สำนักงบประมาณพิจารณาปรับปรุงรายละเอียดงบประมาณรายจ่ายประจำปี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ เพื่อนำเสนอคณะรัฐมนตรี 14. 26 เมษายน 2554 - คณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบการปรับปรุงงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 15. 10 พฤษภาคม 2554 - คณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ และนำเสนอสภาผู้แทนราษฏร 16. 25 – 26 พฤษภาคม 2554 - สภาผู้แทนราษฏรพิจารณา ในวาระที่ 1 17. สิงหาคม 2554 - สภาผู้แทนราษฏรพิจารณา ในวาระที่ 2 - 3 18. 5 กันยายน 2554 - วุฒิสภาพิจารณาให้ความเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 19. 9 กันยายน 2554 - สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี นำร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ ขึ้นทูลเกล้าถวายเพื่อประกาศใช้บังคับเป็นกฎหมายต่อไป หมายเหตุ ลำดับที่ 9 – 19 อาจปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับปฏิทินงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ที่คณะรัฐมนตรีจะมีมติเห็นชอบต่อไป

99 ขอขอบคุณ ฝ่ายเลขานุการ ก.น.จ.
We invite you to come and use our professional photo lab services, and then... stay. Sip a capuccino, view our latest gallery showing or browse through our collection of photography books and magazines. Fine Art and Stock Photography Gallery – abstract impressionism, and realism in black and white, portraits, travel, landscape and digital photography. Welcome to our company. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) 59 ถนนพิษณุโลก แขวงจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพฯ โทร 99


ดาวน์โหลด ppt การวางแผนพัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google