1. วิวัฒนาการแผนและการเปรียบเทียบแผนปี พ.ศ กับ พ.ศ. 2559

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการ กรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สระบุรี ( กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม โครงการตามนโยบายรัฐบาล.
ณ 31 พฤษภาคม
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
แผนแม่บทระบบสถิติประเทศไทย ฝ่ายวิชาการและวางแผนสำนักงานสถิติจังหวัดระยอง 1.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
กลุ่มนโยบายและแผนงาน ฝ่ายแผนและพัฒนา
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบการจัดการงบประมาณท้องถิ่น
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
การจัดทำแผนพัฒนาสามปี
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
3.แผนพัฒนาและองค์กรจัดทำแผนพัฒนา
กรอบการเชื่อมโยงและบูรณาการแผนพัฒนาท้องถิ่นในระดับพื้นที่
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณ
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
แนวทางการเสนอร่างแผนพัฒนาท้องถิ่นต่อสภา อบต. หนังสือ มท. ที่ มท 0810
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
รศ. ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
องค์กรตรวจสอบการทำงานภาครัฐ (สตง. / ปปช. / ปปท. )
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
การจัดทำแผนพัฒนาสามปี
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
(สนง. ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นอำเภอ)
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การจัดองค์กรของรัฐในประเทศไทย ********************
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

1. วิวัฒนาการแผนและการเปรียบเทียบแผนปี พ.ศ. 2548 กับ พ.ศ. 2559 1. วิวัฒนาการแผนและการเปรียบเทียบแผนปี พ.ศ. 2548 กับ พ.ศ. 2559 ดร.สุริยะ หินเมืองเก่า ปริญญาตรี รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ปริญญาโท รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง MINI MASTER OF MANAGEMENT NIDA ปริญญาเอก (Ph.D.) การบริหารงานยุติธรรมและสังคม มหาวิทยาลัยสวนดุสิต “เงินแผ่นดินนั้น คือเงินของประชาชนทั้งชาติ” : พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 9

วิวัฒนาการแผนพัฒนาท้องถิ่น ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการวางแผนพัฒนาของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2533 (อบจ./เทศบาล/สุขาภิบาล/เมืองพัทยา : เป็นแผนพัฒนาประจำปี) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยแนวทางการวางแผนพัฒนาตำบลขององค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2540 (แผนพัฒนา อบต. 5 ปี) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการวางแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2541 (ยกเลิก 2533/2540 อบจ./เทศบาล/สุขาภิบาล/เมืองพัทยา/อบต.แผนพัฒนา 5 ปี แผนพัฒนาประจำปี) พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 (มาตรา 16 มาตรา 17) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำและประสานแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2546 ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2548 2

เปรียบเทียบโครงสร้างแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนพัฒนาท้องถิ่น 2548 แผนพัฒนาท้องถิ่น 2559 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา แผนพัฒนาสามปี แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่กำหนดยุทธศาสตร์ และแนวทางการพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งแสดงถึงวิสัยทัศน์ พันธกิจ และจุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาในอนาคต โดยสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด อำเภอ และแผนชุมชน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา อันมีลักษณะเป็นการกำหนดรายละเอียดแผนงาน โครงการพัฒนาที่จัดทำขึ้นสำหรับปีงบประมาณแต่ละปี ซึ่งมีความต่อเนื่องและเป็นแผนก้าวหน้าครอบคลุมระยะเวลาสามปีโดยมีการทบทวนเพื่อปรับปรุงเป็นประจำทุกปี แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่กำหนด วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย และกลยุทธ์ โดยสอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัด ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัด แผนพัฒนาอำเภอ แผนพัฒนาตำบลและหรือแผนพัฒนาหมู่บ้าน/แผนชุมชน อันมีลักษณะเป็นการกำหนดรายละเอียดแผนงานโครงการพัฒนาที่จัดทำขึ้นสำหรับปีงบประมาณแต่ละปีซึ่งมีความต่อเนื่องและเป็นแผนก้าวหน้า และให้หมายความรวมถึงการเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี 3

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี แผนพัฒนาท้องถิ่น 2548 แผนพัฒนาท้องถิ่น 2559 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา แผนพัฒนาสามปี แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี บทที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 1 สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน บทที่ 2 สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน ส่วนที่ 2 สรุปผลการพัฒนาท้องถิ่นในปีที่ผ่านมา ส่วนที่ 2 สรุปผลการพัฒนาท้องถิ่นตามแผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2557-2560) บทที่ 3 แผนยุทธศาสตร์ ส่วนที่ 3 การนำแผนพัฒนาสามปีไปสู่การปฏิบัติ ส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บทที่ 4 รายละเอียดแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา ส่วนที่ 4 การติดตามและประเมินผลโครงการ ส่วนที่ 4 การนำแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปีไปสู่การปฏิบัติ บทที่ 5 การติดตามและประเมินผลยุทธศาสตร์ ไม่มี ส่วนที่ 5 การติดตามและประเมินผล 4

เปรียบเทียบรายละเอียดของเค้าโครงแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนพัฒนาท้องถิ่น 2548 แผนพัฒนาท้องถิ่น 2559 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา แผนพัฒนาสามปี แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี บทที่ 1 บทนำ 1.1 ลักษณะของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 1.2 วัตถุประสงค์ของการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 1.3 ขั้นตอนในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 1.4 ประโยชน์ของการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา ส่วนที่ 1 บทนำ 1.1 ลักษณะของแผนพัฒนาสามปี 1.2 วัตถุประสงค์ของการจัดทำแผนพัฒนาสามปี 1.3 ขั้นตอนในการจัดทำแผนพัฒนาสามปี 1.4 ประโยชน์ของการจัดทำแผนพัฒนาสามปี ส่วนที่ 1 สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน 1. ด้านกายภาพ 2. ด้านการเมือง/การปกครอง 3. ประชากร 4. สภาพทางสังคม 5. ระบบบริการพื้นฐาน 6. ระบบเศรษฐกิจ 7. เศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น (ด้านการเกษตรและแหล่งน้ำ) 8. ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม 9. ทรัพยากรธรรมชาติ 10. อื่นๆ (ถ้ามีระบุด้วย) 5

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี แผนพัฒนาท้องถิ่น 2548 แผนพัฒนาท้องถิ่น 2559 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา แผนพัฒนาสามปี แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี บทที่ 2 สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน 2.1 ข้อมูลทั่วไป 2.2 ข้อมูลเกี่ยวกับศักยภาพของท้องถิ่น 2.3 จุดยืนทางยุทธศาสตร์ ส่วนที่ 2 สรุปผลการพัฒนาท้องถิ่นในปีที่ผ่านมา 2.1 การสรุปสถานการณ์การพัฒนา 2.2 การประเมินผลการนำแผนพัฒนาสามปีไปปฏิบัติในเชิงปริมาณ 2.3 การประเมินประสิทธิผลของแผนพัฒนาสามปีในเชิงคุณภาพ ส่วนที่ 2 สรุปผลการพัฒนาท้องถิ่นตามแผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2557-2560) 1. สรุปผลการดำเนินงานตามงบประมาณที่ได้รับ และการเบิกจ่ายงบประมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557-2560 2. ผลที่ได้รับจากการดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557-2560 3. สรุปปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานที่ผ่านมาและแนวทางการแก้ไข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557-2560 6

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี แผนพัฒนาท้องถิ่น 2548 แผนพัฒนาท้องถิ่น 2559 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา แผนพัฒนาสามปี แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี บทที่ 3 แผนยุทธศาสตร์ 3.1 กรอบแนวคิดในการจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาท้องถิ่น 3.2 ปัจจัยและสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อการพัฒนา 3.3 ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดกับยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3.4 แผนที่ยุทธศาสตร์ ส่วนที่ 3 การนำแผนพัฒนาสามปีไปสู่การปฏิบัติ 3.1 แนวทางการพัฒนาและยุทธศาสตร์การพัฒนา 3.2 บัญชีโครงการพัฒนา และบัญชีประสานโครงการพัฒนา ส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1. ความสัมพันธ์ระหว่างแผนพัฒนาระดับมหภาค 2. ยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3 การวิเคราะห์เพื่อพัฒนาท้องถิ่น 7

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี แผนพัฒนาท้องถิ่น 2548 แผนพัฒนาท้องถิ่น 2559 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา แผนพัฒนาสามปี แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี บทที่ 4 รายละเอียดแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 4.1 ประเด็นยุทธศาสตร์ แนวทางการพัฒนาและตัวชี้วัด 4.2 รายละเอียดแผนยุทธศาสตร์ 4.3 หน่วยงานรับผิดชอบหลัก 4.4 ความเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์ในภาพรวม ส่วนที่ 4 การติดตามและประเมินผลโครงการ 4.1 กรอบและแนวทางในการติดตามและประเมินผล 4.2 ระเบียบ วิธีในการติดตามและประเมินผล 4.3 กำหนดเครื่องมือที่ใช้ในการติดตามและประเมินผล ส่วนที่ 4 การนำแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปีไปสู่การปฏิบัติ 1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาและแผนงาน 2. บัญชีโครงการพัฒนาท้องถิ่น 8

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี แผนพัฒนาท้องถิ่น 2548 แผนพัฒนาท้องถิ่น 2559 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา แผนพัฒนาสามปี แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี บทที่ 5 การติดตามและประเมินผลยุทธศาสตร์ 5.1 กรอบและแนวทางในการติดตามและประเมินผล 5.2 ระเบียบ วิธีในการติดตามและประเมินผล 5.3 กำหนดเครื่องมือที่ใช้ในการติดตามและประเมินผล ไม่มี ส่วนที่ 5 การติดตามและประเมินผล 1. การติดตามและประเมินผลยุทธศาสตร์ 2. การติดตามและประเมินผลโครงการ 3. สรุปผลการพัฒนาท้องถิ่นในภาพรวม 4. ข้อเสนอแนะในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นในอนาคต 9

แผนพัฒนาท้องถิ่น 2548 แผนพัฒนาท้องถิ่น 2559 ข้อ 22 การเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงแผนพัฒนาสามปี ให้ดำเนินการตามระเบียบนี้ โดยมีขั้นตอนดำเนินการ ดังนี้ (1) คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น จัดทำร่างแผนพัฒนาสามปีที่เพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงพร้อมเหตุผลและความจำเป็นเสนอคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น (2) คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นพิจารณาร่างแผนพัฒนาสามปีที่เพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงเพื่อเสนอผู้บริหารท้องถิ่น (3) ผู้บริหารท้องถิ่นพิจารณาอนุมัติร่างแผนพัฒนาสามปีที่เพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงและประกาศใช้แผนพัฒนาสามปีที่เพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงสำหรับองค์การบริหารส่วนตำบล ให้ผู้บริหารท้องถิ่นเสนอร่างแผนพัฒนาสามปีที่เพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงต่อสภาองค์การบริหารส่วนตำบลเพื่อให้ความเห็นชอบก่อน แล้วผู้บริหารท้องถิ่นจึงพิจารณาอนุมัติและประกาศใช้ต่อไป ข้อ 22 เพื่อประโยชน์ของประชาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอาจเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปีได้ โดยให้ดำเนินการตามขั้นตอนดังนี้ (1) คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นจัดทำร่างแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปีที่เพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงพร้อมเหตุผลและความจำเป็นเสนอคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น (2) คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นและประชาคมท้องถิ่นพิจารณาร่างแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี ที่เพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงเพื่อเสนอผู้บริหารท้องถิ่น (3) ผู้บริหารท้องถิ่นพิจารณาอนุมัติร่างแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปีที่เพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงและ ประกาศใช้แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปีที่เพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล สำหรับองค์การ บริหารส่วนตำบลให้ผู้บริหารท้องถิ่นเสนอร่างแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปีที่เพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงต่อ สภาองค์การบริหารส่วนตำบลเพื่อให้ความเห็นชอบก่อนแล้วผู้บริหารท้องถิ่นจึงพิจารณาอนุมัติ และประกาศใช้ต่อไป ในกรณีแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปีมีระยะเวลาการใช้บังคับเหลืออยู่ไม่ถึงหนึ่งร้อยแปดสิบวัน ไม่ให้ดำเนินการเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง 10

แผนพัฒนาท้องถิ่น 2548 แผนพัฒนาท้องถิ่น 2559 ข้อ 24 ให้ผู้บริหารท้องถิ่นประกาศใช้แผนพัฒนาที่อนุมัติแล้ว และนำไปปฏิบัติ รวมทั้งแจ้งสภาท้องถิ่น คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ องค์การบริหารส่วนจังหวัด อำเภอ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และประกาศให้ประชาชนในท้องถิ่นทราบโดยทั่วกันภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ประกาศใช้และปิดประกาศโดยเปิดเผยไม่น้อยกว่าสามสิบวัน ข้อ 24 ให้ผู้บริหารท้องถิ่นประกาศใช้แผนพัฒนาที่อนุมัติแล้ว และนำไปปฏิบัติ รวมทั้งแจ้งสภาท้องถิ่น คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ องค์การบริหารส่วนจังหวัด อำเภอ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และประกาศให้ประชาชนในท้องถิ่นทราบโดยทั่วกันภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ประกาศใช้และปิดประกาศโดยเปิดเผยไม่น้อยกว่าสามสิบวัน ข้อ 25 ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใช้แผนพัฒนาสามปีเป็นกรอบในการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี และงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม รวมทั้งวางแนวทางเพื่อให้มีการปฏิบัติให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามโครงการที่กำหนดไว้ในแผนพัฒนาสามปี ข้อ 25 ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใช้แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปีเป็นกรอบในการจัดทำ งบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม และงบประมาณจากเงินสะสมในช่วง ของแผนนั้น รวมทั้งวางแนวทางเพื่อให้มีการปฏิบัติให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามโครงการพัฒนาที่กำหนดไว้ ในแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี 11

แผนพัฒนาท้องถิ่น 2548 แผนพัฒนาท้องถิ่น 2559 ข้อ 29 คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น มีอำนาจหน้าที่ ดังนี้ (1) กำหนดแนวทาง วิธีการในการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา (2) ดำเนินการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา (3) รายงานผลและเสนอความเห็นซึ่งได้จากการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาต่อผู้บริหารท้องถิ่น เพื่อให้ผู้บริหารท้องถิ่นเสนอต่อสภาท้องถิ่น คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น และประกาศผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาให้ประชาชนในท้องถิ่นทราบโดยทั่วกันอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง ภายในเดือนธันวาคมของทุกปี ทั้งนี้ให้ปิดประกาศโดยเปิดเผยไม่น้อยกว่าสามสิบวัน (4) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานเพื่อช่วยปฏิบัติงานตามที่เห็นสมควร ข้อ 29 (3) รายงานผลและเสนอความเห็นซึ่งได้จากการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาต่อผู้บริหารท้องถิ่น เพื่อให้ผู้บริหารท้องถิ่นเสนอต่อสภาท้องถิ่น และคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น พร้อมทั้งประกาศผล การติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาให้ประชาชนในท้องถิ่นทราบในที่เปิดเผยภายในสิบห้าวัน นับแต่วันรายงานผลและเสนอความเห็นดังกล่าวและต้องปิดประกาศไว้เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่าสามสิบวัน โดยอย่างน้อยปีละสองครั้งภายในเดือนเมษายนและภายในเดือนตุลาคมของทุกปี 12