งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
ดร.สุริยะ หินเมืองเก่า รัฐศาสตรบัณฑิต/รัฐศาสตรมหาบัณฑิต/MINI MASTER OF MANAGEMENT. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (Ph.D.) การบริหารงานยุติธรรมและสังคม หัวหน้ากลุ่มงานนโยบายท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น

2 ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนา ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2548
แผนพัฒนา หมายความรวมถึงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา และแผนพัฒนาสามปี แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา หมายความว่า แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่กำหนดยุทธศาสตร์ และแนวทางการพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งแสดงถึงวิสัยทัศน์ พันธกิจ และจุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาในอนาคต โดยสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด อำเภอ และแผนชุมชน แผนพัฒนาสามปี หมายความว่า แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา อันมีลักษณะเป็นการกำหนดรายละเอียดแผนงาน โครงการพัฒนาที่จัดทำขึ้นสำหรับปีงบประมาณแต่ละปี ซึ่งมีความต่อเนื่องและเป็นแผนก้าวหน้าครอบคลุมระยะเวลาสามปีโดยมีการทบทวนเพื่อปรับปรุงเป็นประจำทุกปี การแก้ไขแผนพัฒนาเป็นอำนาจของผู้บริหารท้องถิ่น (21) แผนพัฒนาสามปี ใช้คำว่า การเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงแผนพัฒนาสามปี (22) แผนยุทธศาสตร์ ใช้คำว่า การเปลี่ยนแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (23) 2

3 หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0810
หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท /ว 0703 ลงวันที่ 2 กุมภาพันธ์ เรื่อง แนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำและประสานแผนพัฒนาสามปี ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1. กำหนดห้วงเวลาการจัดทำและประสานแผนพัฒนาสามปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้มีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่ ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัด แผนพัฒนาจังหวัด และแผนชุมชน 2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องให้ความสำคัญต่อยุทธศาสตร์และโครงการพัฒนาที่รองรับเงินอุดหนุนทั่วไปตามประกาศคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และจัดทำแผนพัฒนาให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) นโยบายของรัฐบาล แผนงานด้านความมั่นคง ภารกิจที่ได้รับการถ่ายโอนจากส่วนราชการ รวมถึงสามารถใช้ค่านิยมพื้นฐานของคนไทยมาปรับใช้ในการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ตามความเหมาะสม โดยจักต้องถือปฏิบัติให้เป็นไปตามระเบียบที่กำหนดไว้ 3

4 3. ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใช้แผนพัฒนาสามปีเป็นแนวทางในการจัดทำงบประมาณและนำโครงการพัฒนาในปีแรกของแผนพัฒนาสามปีไปเป็นกรอบในการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี และงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม ส่วนโครงการพัฒนาในปีที่สองและปีที่สามของแผนพัฒนาสามปีต้องเป็นโครงการพัฒนาที่ต้องทำต่อเนื่องจากโครงการพัฒนาในปีแรก หรือเป็นโครงการพัฒนาที่จัดลำดับความสำคัญของโครงการน้อยกว่าโครงการพัฒนาปีแรกในแผนพัฒนาสามปี โดยหากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีความจำเป็นที่จะต้องดำเนินโครงการพัฒนาที่ไม่ได้ระบุไว้ในโครงการพัฒนาปีแรกของแผนพัฒนาสามปี ให้เพิ่มเติม และเปลี่ยนแปลงได้ตามความจำเป็น 4. ให้องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนตำบลส่งเสริมสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในท้องถิ่น ดังนี้ 4

5 4.1.1 โครงการที่ชุมชน/หมู่บ้าน สามารถดำเนินการได้เองทั้งหมด
4.1) สนับสนุนให้ประชาชนในพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมกันพิจารณาโครงการ พัฒนาของตนเองโดยแยกเป็น 3 ระดับ คือ 4.1.1 โครงการที่ชุมชน/หมู่บ้าน สามารถดำเนินการได้เองทั้งหมด 4.1.2 โครงการที่ชุมชน/หมู่บ้าน จะต้องได้รับการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นบางส่วน 4.1.3 โครงการที่ชุมชน/หมู่บ้าน ไม่สามารถดำเนินการเองได้จำเป็นต้องให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือหน่วยงานอื่นเป็นผู้ดำเนินการ และรวบรวมโครงการดังกล่าวเสนอต่อที่ประชุมประชาคม โดยให้สำนัก/กอง/ส่วน/งาน ที่รับผิดชอบด้านการพัฒนาชุมชนเป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการ และนำข้อมูลที่ได้มาประสานกับผู้รับผิดชอบในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น 4.2 เทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนตำบล จัดประชุมประชาคมตำบล/ประชาคมเมืองหรืออาจร่วมจัดประชาคม เพื่อทบทวนแผนชุมชนและแผนพัฒนาหมู่บ้าน เพื่อรับทราบปัญหา และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น และชี้แจงทำความเข้าใจยุทธศาสตร์ และแนวทางพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พร้อมจัดลำดับความสำคัญของโครงการพัฒนาตามสภาพปัญหาและความต้องการอย่างแท้จริงของชุมชน หมู่บ้าน 5

6 4.3 องค์การบริหารส่วนจังหวัด จัดประชุมประชาคมจังหวัด เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ใน (2) โดยอาจดำเนินการพร้อมการจัดประชุมอื่น ๆ อาทิ การประชุมเพื่อจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัด หรือจัดประชุมผู้แทนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดเพื่อหารือแนวทางการพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดนั้น โดยดำเนินการก่อนที่จะประกาศใช้แผนพัฒนาขององค์การบริหารส่วนจังหวัด 4.4 การจัดประชุมประชาคมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถดำเนินการได้พร้อมกันกับการประชุมเพื่อจัดทำแผนชุมชน แผนพัฒนาหมู่บ้าน โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อาจสอบถามหน่วยงานอื่นที่ดำเนินการอยู่ในพื้นที่และนำเรื่องเข้าประชุมพร้อมกันก็ได้ เพื่อไม่ให้เกิดความซ้ำซ้อนในการทำงาน 6

7 5. ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการสำรวจและจัดเก็บข้อมูลเพื่อใช้ในการวางแผนและจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถตั้งงบประมาณเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานได้ตามความเหมาะสมและจำเป็นตามแนวทางที่กระทรวงมหาดไทยกำหนด โดยต้องคำนึงถึงสถานะทางการคลังของตนเองเป็นหลัก 6. ในการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ ข้อ 10 (2) ให้คณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นระดับจังหวัด และคณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นระดับอำเภอ ดำเนินการ ดังนี้ (1) ให้คณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นระดับจังหวัดประชุมกำหนดกรอบการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นภายในเดือนมกราคม และแจ้งให้คณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นระดับอำเภอ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทราบภายใน 15 วัน นับแต่วันประชุม (2) ให้คณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นระดับอำเภอประชุมพิจารณาจัดลำดับความสำคัญของโครงการ ภายใน 7 วัน นับตั้งแต่วันที่ได้รับการเสนอบัญชีจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในเดือนมีนาคม และส่งให้คณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่น ระดับจังหวัด ภายใน 7 วัน นับแต่วันประชุม 7

8 7. การวัดคุณภาพของแผนพัฒนาท้องถิ่น ตามนัยหนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ที่ มท /ว 4830 ลงวันที่ 22 พฤศจิกายน 2556 และการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่นให้เป็นหน้าที่ของคณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่นตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2548โดย (1) การวัดคุณภาพแผนพัฒนาท้องถิ่น ให้ดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ประกาศใช้แผนพัฒนาท้องถิ่น และดำเนินการตามแนวทางที่กำหนดไว้ตามนัยหนังสือดังกล่าวข้างต้นและเอกสารคำอธิบายแนวทางปฏิบัติ (2) การติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น สามารถนำเอาผลการวัดคุณภาพของแผนมาใช้เป็นกรอบหรือแนวทางในการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่นได้ตามความเหมาะสม เพื่อรวบรวมรายงานให้ผู้บริหารท้องถิ่นทราบ และเป็นข้อมูลในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นต่อไป 8

9 8. การจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบด้วย ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และ 4 อำเภอของจังหวัดสงขลา ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดพิจารณากำกับ ดูแล ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดทำแผนพัฒนาให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ แต่ทั้งนี้ต้องคำนึงถึงระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ และแนวทางการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นที่กระทรวงมหาดไทยกำหนดเป็นหลัก 9. ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด และนายอำเภอกำชับให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาสามปีและนำไปเป็นกรอบในการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี และงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม โดยถือเป็นสาระสำคัญที่ต้องพิจารณา โดยรายละเอียดของโครงการพัฒนาในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ และงบประมาณรายจ่ายประจำปี ต้องสอดคล้องกับโครงการพัฒนาในแผนพัฒนาสามปีก่อนให้ความเห็นชอบ 9

10 10. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใดดำเนินการซึ่งเป็นการฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามระเบียบ และหนังสือสั่งการของกระทรวงมหาดไทยเกี่ยวกับการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด และนายอำเภอในฐานะผู้กำกับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามกฎหมาย พิจารณาดำเนินการแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องตามควรแก่กรณี กรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีปัญหาในทางปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่น นอกเหนือจากแนวทางที่กำหนดไว้ดังกล่าวก็ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเสนอเรื่องหารือผ่านจังหวัดไปยังกระทรวงมหาดไทย เพื่อวินิจฉัยเป็นรายกรณี 10

11 เค้าโครงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
ว 712-ว 1596 ว 4830 ว 0703 บทที่ 1 บทนำ 1.1 ลักษณะของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 1.2 วัตถุประสงค์ของการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 1.3 ขั้นตอนในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 1.4 ประโยชน์ของการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา บทที่ 1 บทนำ 1.1 ลักษณะของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 1.2 วัตถุประสงค์ของการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 1.3 ขั้นตอนในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 1.4 ประโยชน์ของการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา บทที่ 1 บทนำ 1.1 ลักษณะของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 1.2 วัตถุประสงค์ของการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 1.3 ขั้นตอนในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์พัฒนา 1.4 ประโยชน์ของการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 11

12 ว 712-ว 1596 ว 4830 ว 0703 บทที่ 2 สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2.1 ข้อมูลเกี่ยวกับที่ตั้งอาณาเขต เขตการปกครองประชากร การศึกษา สาธารณสุข ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินและทรัพยากรธรรมชาติ เป็นต้น 2.2 ข้อมูลเกี่ยวกับศักยภาพของท้องถิ่น ได้แก่ โครงสร้างและกระบวนการบริหารงานงบประมาณ และเครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ 2.3 สรุปผลการพัฒนาท้องถิ่นในระยะที่ผ่านมา บทที่ 2 สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2.1 ข้อมูลเกี่ยวกับอาณาเขต เขตการปกครอง ประชากร การศึกษา สาธารณสุข ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินและทรัพยากรธรรมชาติ เป็นต้น 2.2 ข้อมูลเกี่ยวกับศักยภาพของท้องถิ่น ได้แก่ โครงสร้างและกระบวนการบริหารงานบุคคล งบประมาณ และเครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ 2.3 จุดยืนทางยุทธศาสตร์(Positioning) บทที่ 2 สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2.1 ข้อมูลเกี่ยวกับที่ตั้งอาณาเขต เขตการปกครองประชากร การศึกษา สาธารณสุขความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินและทรัพยากรธรรมชาติ เป็นต้น 2.2 ข้อมูลเกี่ยวกับศักยภาพของท้องถิ่น ได้แก่ โครงสร้างและกระบวนการบริหารงานบุคคล งบประมาณ และเครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ 2.3 จุดยืนทางยุทธศาสตร์(Positioning) ของ อปท. 12

13 ว 712-ว 1596 ว 4830 ว 0703 บทที่ 3 การวิเคราะห์ศักยภาพการพัฒนาท้องถิ่น
บทที่ 3 การวิเคราะห์ศักยภาพการพัฒนาท้องถิ่น 3.1 หลักและแนวคิดในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น 3.1.1 การพัฒนาตามนโยบายของรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติแผนการบริหารราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/อำเภอ บทที่ 3 แผนยุทธศาสตร์ของ ...(อปท.)....พ.ศ พ.ศ ยุทธศาสตร์ที่สำคัญของชาติ การวิเคราะห์ศักยภาพการพัฒนาท้องถิ่น 3.1 กรอบแนวคิดในการจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาท้องถิ่น 3.1.1 การพัฒนาตามนโยบายของรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติแผนการบริหารราชการแผ่นดินยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) ยุทธศาสตร์การพัฒนา บทที่ 3 แผนยุทธศาสตร์ การวิเคราะห์ศักยภาพการพัฒนาท้องถิ่น 3.1 กรอบแนวคิดในการจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาท้องถิ่น 3.1.1 การพัฒนาตามนโยบายของรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติแผนการบริหารราชการแผ่นดินยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) ยุทธศาสตร์การพัฒนา 13

14 ว 712-ว 1596 ว 4830 ว 0703 บทที่ 3 การวิเคราะห์ศักยภาพการพัฒนาท้องถิ่น (ต่อ) 3.1.2 การพัฒนาตาม นโยบายของผู้บริหารท้องถิ่น ฯลฯ 3.2 ปัจจัยและสถานการณ์การ เปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อการพัฒนา บทที่ 3 แผนยุทธศาสตร์ของ ...(อปท.)....พ.ศ พ.ศ (ต่อ) พื้นที่ ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัด/อำเภอ 3.1.2 การใช้ผังเมืองรวม หรือผังเมืองเฉพาะในการกำหนดแผนพัฒนา 3.1.3 การพัฒนาตาม นโยบายของผู้บริหาร ฯลฯ 3.2 ปัจจัยและสถานการณ์ การเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อการพัฒนา บทที่ 3 แผนยุทธศาสตร์ (ต่อ) พื้นที่ ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัด/อำเภอ 3.1.2 การใช้ผังเมืองรวม หรือผังเมืองเฉพาะในการ กำหนดแนวทางพัฒนา 3.1.3 การพัฒนาตามนโยบายของผู้บริหารท้องถิ่น ฯลฯ 3.2 ปัจจัยและสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อการพัฒนา 14

15 ว 712-ว 1596 ว 4830 ว 0703 บทที่ 3 การวิเคราะห์ศักยภาพการพัฒนาท้องถิ่น (ต่อ) 3.2.1 ผลการวิเคราะห์ ปัญหาและความต้องการของ ประชาชนในท้องถิ่นตามประเด็นการพัฒนาท้องถิ่น ประกอบด้วย ขอบข่ายและปริมาณของปัญหาพื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย และการคาดการณ์แนวโน้ม ในอนาคต บทที่ 3 แผนยุทธศาสตร์ของ ...(อปท.)....พ.ศ พ.ศ (ต่อ) 3.2.1 ผลการวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นตามประเด็นการพัฒนาท้องถิ่น ประกอบด้วย ขอบข่ายและปริมาณของปัญหา พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย และการคาดการณ์แนวโน้ม ในอนาคต บทที่ 3 แผนยุทธศาสตร์ (ต่อ) 3.2.1 ผลการวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นตามประเด็น การพัฒนาท้องถิ่น ประกอบด้วย ขอบข่ายและปริมาณของปัญหา พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย และการคาดการณ์แนวโน้ม ในอนาคต 15

16 ว 712-ว 1596 ว 4830 ว 0703 บทที่ 3 การวิเคราะห์ศักยภาพการพัฒนาท้องถิ่น (ต่อ) 3.2.2 ผลการวิเคราะห์ศักยภาพเพื่อประเมินสถานภาพการพัฒนาในปัจจุบันและโอกาสการพัฒนาในอนาคตของท้องถิ่นด้วยเทคนิค SWOT Analysis (จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค) บทที่ 3 แผนยุทธศาสตร์ของ ...(อปท.)....พ.ศ พ.ศ (ต่อ) 3.2.2 ผลการวิเคราะห์ผังเมืองรวมหรือผังเมืองเฉพาะเพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาทางกายภาพในมิติพื้นที่ บทที่ 3 แผนยุทธศาสตร์ (ต่อ) 3.2.2 ผลการวิเคราะห์ผังเมืองรวมหรือผังเมืองเฉพาะเพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาทางกายภาพในมิติพื้นที่ 16

17 ว 712-ว 1596 ว 4830 ว 0703 บทที่ 3 การวิเคราะห์ศักยภาพการพัฒนาท้องถิ่น (ต่อ) บทที่ 3 แผนยุทธศาสตร์ของ ...(อปท.)....พ.ศ พ.ศ (ต่อ) 3.2.3 ผลการวิเคราะห์ศักยภาพเพื่อประเมินสถานภาพการพัฒนาในปัจจุบันและโอกาสการพัฒนาในอนาคตของท้องถิ่นด้วยเทคนิค SWOT Analysis (จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค) วิสัยทัศน์ (vision) และ พันธกิจ (mission) การพัฒนาท้องถิ่น บทที่ 3 แผนยุทธศาสตร์ (ต่อ) 3.2.3 ผลการวิเคราะห์ศักยภาพเพื่อประเมินสถานภาพการพัฒนาในปัจจุบันและโอกาส การพัฒนาในอนาคตของท้องถิ่น ด้วยเทคนิค SWOT Analysis (จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค) วิสัยทัศน์(vision) และ พันธกิจ (mission) แนวทางการพัฒนาท้องถิ่น 17

18 ว 712-ว 1596 ว 4830 ว 0703 บทที่ 3 การวิเคราะห์ศักยภาพการพัฒนาท้องถิ่น (ต่อ) บทที่ 3 แผนยุทธศาสตร์ของ ...(อปท.)....พ.ศ พ.ศ (ต่อ) 3.3 ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดกับยุทธศาสตร์การพัฒนาของ อปท. (แบบ ยท.01) 3.4 แผนที่ยุทธศาสตร์ (แบบ ยท. 02) วิสัยทัศน์ (vision) และ พันธกิจ (mission) การพัฒนาท้องถิ่น บทที่ 3 แผนยุทธศาสตร์ (ต่อ) 3.3 ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดกับยุทธศาสตร์การพัฒนาของ อปท. (แบบ ยท.01) 3.4 แผนที่ยุทธศาสตร์ (แบบ ยท. 02)วิสัยทัศน์ (vision) และ พันธกิจ (mission) การพัฒนาท้องถิ่น 18

19 ***************************
ว 712-ว 1596 ว 4830 ว 0703 บทที่ 4 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และจุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนา 4.1 วิสัยทัศน์การพัฒนาท้องถิ่น 4.2 พันธกิจการพัฒนาท้องถิ่น 4.3 จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น 4.3.1 จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น(Goals) 4.3.2 ตัวชี้วัด (KPIs) 4.3.3 ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline Data) 4.3.4 เป้าหมาย (Targets) บทที่ 4 รายละเอียดแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาของ อปท. .. พ.ศ. ... 4.1 ประเด็นยุทธศาสตร์ (แบบ ยท.03) 4.2 รายละเอียดแผนยุทธศาสตร์ (แบบ ยท.04) บทที่ 4 รายละเอียดแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 4.1 ประเด็นยุทธศาสตร์  4.2 กลยุทธ์/แนวทางการพัฒนา และตัวชี้วัดระดับกลยุทธ์ 4.3 หน่วยงานรับผิดชอบหลัก 4.4 ความเชื่อมโยง *************************** 4.1 ประเด็นยุทธศาสตร์ ได้แก่ การนำแบบ ยท.04 มาลง 4.2 กลยุทธ/แนวทางการพัฒนาและตัวชี้วัดระดับกลยุทธ์ ได้แก่ การนำแบบ ยท.03 มาลง 4.4 ความเชื่อมโยง หมายถึง ความเชื่อมโยงตามแบบ ยท.01 กับ ยท.02 19

20 ว 712-ว 1596 ว 4830 ว 0703 บทที่ 5 ยุทธศาสตร์ และแนวทางการพัฒนาท้องถิ่น  ประกอบด้วย ยุทธศาสตร์การพัฒนา แนวทางการพัฒนา หน่วยงานที่รับผิดชอบ บทที่ 5 การนำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาท้องถิ่นไปสู่การปฏิบัติ และการติดตามประเมินผล 5.1 องค์กรรับผิดชอบในการติดตามและประเมินผล 5.2 การกำหนดวิธีการติดตามและประเมินผล 5.3 การกำหนดห้วงเวลาในการติดตามและประเมินผล บทที่ 5 การติดตามและประเมินผลยุทธศาสตร์ 5.1 กรอบและแนวทางในการติดตามและประเมินผล 5.2 ระเบียบ วิธีในการติดตามและประเมินผล 5.3 กำหนดเครื่องมือที่ใช้ในการติดตามและประเมินผล 20

21 ว 712-ว 1596 ว 4830 ว 0703 บทที่ 6 การนำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาท้องถิ่นไปสู่การปฏิบัติ และการติดตามประเมินผล 6.1 องค์กรรับผิดชอบในการติดตามและประเมินผล 6.2 การกำหนดวิธีการติดตามและประเมินผล 6.3 การกำหนดห้วงเวลาในการติดตามและประเมินผล ไม่มี ไม่มี 21

22 แบบตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แบบ ยท. 01 เป็นแบบเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดกับยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (บทที่ 3 : 3.3) แบบ ยท. 02 เป็นแผนที่ยุทธศาสตร์/ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (บทที่ 3 : 3.4) แบบ ยท. 03 เป็นรายละเอียดแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา : ยุทธศาสตร์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดระดับเป้าประสงค์ (บทที่ 4 : 4.2) แบบ ยท. 04 เป็นรายละเอียดแผนยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (บทที่ 4 : 4.1) 22

23 แบบ ยท. 01 เป็นแบบความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดกับยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งจะประกอบด้วย ยุทธศาสตร์จังหวัด แนวทางการพัฒนาตามยุทธศาสตร์จังหวัด ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัด ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น ๆ พร้อมกับเป้าหมายยุทธศาสตร์ แนวทางการพัฒนา ซึ่งเป็นแนวทางการพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น ๆ ผลผลิต/โครงการ เป็นผลผิตที่เป็นชุด หรือเป็นโครงการที่เป็นชุด กลุ่มหรืออันหนึ่งอันเดียวกัน ลักษณะเดียวกัน เป็นต้น เช่น โครงการขยายเขตไฟฟ้าสาธารณะ จำนวน 10 โครงการ โครงการส่งเสริมอาชีพ จำนวน 20 โครงการ เป็นต้น ทั้งหมดนี้จะต้องมีความสอดคล้องกัน เหมือนกัน หรือคล้ายกัน หรือเป็นลักษณะการพัฒนาที่สอดคล้องกับในเชิงยุทธศาสตร์ แนวทางการพัฒนา เป้าหมาย และโครงการมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ต่าง ๆ อีกด้วย ปรากฎอยู่ใน บทที่ 3 แผนยุทธศาสตร์ 3.3 ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดกับยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) 23

24 แบบ ยท. 02 เป็นแบบที่ต้องแสดงแผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map) ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ และแนวทางการพัฒนา แบบ ยท. 02 นี้ เป็นแบบที่ต้องลงรายละเอียดเฉพาะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น ๆ เท่านั้น ปรากฎอยู่ใน บทที่ 3 แผนยุทธศาสตร์ 3.4 แผนที่ยุทธศาสตร์ แบบ ยท. 03 เป็นแบบที่ต้องแสดงรายละเอียดแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา ประกอบด้วย ประเด็นยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ (Strategy) พันธกิจ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ กลยุทธ์หรือแนวทางการพัฒนา พร้อมกับการกำหนดตัวชี้วัดระดับกลยุทธ์ หน่วยงานรับผิดชอบหลัก และความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์จังหวัด ปรากฎอยู่ใน บทที่ 4 รายละเอียดแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 4.2 กลยุทธ์/แนวทางการพัฒนา และตัวชี้วัดระดับกลยุทธ์ 24

25 แบบ ยท. 04 เป็นแบบแสดงรายละเอียดแผนยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น ๆ ประกอบด้วย ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์จังหวัด ยุทธศาสตร์องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัด ยุทธศาสตร์องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป้าหมายจากพันธกิจ/จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนา ตัวชี้วัดระดับเป้าประสงค์/จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนา (ตัวชี้วัดรวม) ค่าเป้าหมาย (5 ปี เช่น ) กลยุทธ์/แนวทางการพัฒนา ตัวชี้วัดระดับกลยุทธ์ ความก้าวหน้าของเป้าหมาย โครงการ/กิจกรรม หน่วยงานรับผิดชอบหลัก หน่วยสนับสนุนปรากฎอยู่ใน บทที่ 4 รายละเอียดแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 4.1 ประเด็นยุทธศาสตร์ ข้อควรจำเสมอ แบบ ยท. 04 จะนำไปสู่การแปลงรายละเอียดลงใน แบบ ผ.01 ของแผนพัฒนาสามปี และ แบบ ผ.01 จะนำไปจัดทำงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อไป 25

26 การวิเคราะห์ศักยภาพการพัฒนาท้องถิ่น
บทที่ 3 แผนยุทธศาสตร์ การวิเคราะห์ศักยภาพการพัฒนาท้องถิ่น 3.1 กรอบแนวคิดในการจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาท้องถิ่น 3.1.1 การพัฒนาตามนโยบายของรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) ยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่ ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/อำเภอ 3.1.2 การใช้ผังเมืองรวมหรือผังเมืองเฉพาะในการกำหนดแนวทางพัฒนา 3.1.3 การพัฒนาตามนโยบายของผู้บริหารท้องถิ่น ฯลฯ 3.2 ปัจจัยและสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อการพัฒนา 3.2.1 ผลการวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นตามประเด็นการพัฒนาท้องถิ่น ประกอบด้วย ขอบข่ายและปริมาณของปัญหา พื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย และการคาดการณ์แนวโน้มในอนาคต 26

27 วิสัยทัศน์(vision) และ พันธกิจ (mission) แนวทางการพัฒนาท้องถิ่น
3.2.2 ผลการวิเคราะห์ผังเมืองรวมหรือผังเมืองเฉพาะเพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาทางกายภาพในมิติพื้นที่ 3.2.3 ผลการวิเคราะห์ศักยภาพเพื่อประเมินสถานภาพการพัฒนาในปัจจุบันและโอกาส การพัฒนาในอนาคตของท้องถิ่น ด้วยเทคนิค SWOT Analysis (จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค) วิสัยทัศน์(vision) และ พันธกิจ (mission) แนวทางการพัฒนาท้องถิ่น 27

28 3.3 ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดกับยุทธศาสตร์การพัฒนาของ อปท.
แบบ ยท. 01 โครงสร้างความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์การบริหารส่วนจังหวัด…….. พ.ศ ยุทธศาสตร์ จังหวัด……. ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ แนวทาง แนวทาง แนวทาง แนวทาง แนวทาง แนวทาง แนวทาง แนวทาง ยุทธศาสตร์ การพัฒนาของ อปท. ในเขตจังหวัด…… ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ การพัฒนา อบจ…… ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ แนวทางการพัฒนา แนวทาง แนวทาง แนวทาง แนวทาง แนวทาง แนวทาง แนวทาง ผลผลิต/โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ 28

29 ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
3.4 แผนที่ยุทธศาสตร์ แบบ ยท. 02 ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น Strategy Map วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ แนวทางการพัฒนา 29

30 บทที่ 4 รายละเอียดแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 4.1 ประเด็นยุทธศาสตร์
แบบ ยท. 04 รายละเอียดแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา องค์การบริหารส่วนจังหวัด……. 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 ความเชื่อม โยงกับยุทธ ศาสตร์จังหวัด ยุทธ ศาสตร์ อปท.ในเขตจังหวัด ยุทธ ศาสตร์ อปท เป้าหมาย จากพันธกิจ/จุดมุ่งหมาย เพื่อการ พัฒนา ตัวชี้วัดระดับเป้า ประสงค์/จุดมุ่ง หมายเพื่อการพัฒนา (ตัวชี้วัดรวม) ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์หรือแนว ทาง การพัฒนา ตัวชี้วัดระดับกลยุทธ์หรือแนวทางการพัฒนา ความ ก้าว หน้าของเป้า หมาย โครงการ/กิจ กรรม หน่วยงานรับผิด ชอบหลัก หน่วยสนับ สนุน 58 59 60 61 62 ยุทธ ศาสตร์ ที่ ยุทธ ศาสตร์ ที่ ยุทธ ศาสตร์ ที่ 30

31 ยุทธศาสตร์ (Strategy)
4.2 กลยุทธ์/แนวทางการพัฒนา และตัวชี้วัดระดับกลยุทธ์ แบบ ยท. 03 ประเด็นยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ (Strategy) ยุทธศาสตร์ที่ พันธกิจ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดระดับเป้าประสงค์ 1. เชิงปริมาณ 2. เชิงคุณภาพ กลยุทธ์/แนวทางการพัฒนา และตัวชี้วัดระดับกลยุทธ์ กลยุทธ์/แนวทางการพัฒนา ตัวชี้วัดระดับกกลยุทธ์ 1. เชิงปริมาณ 2. เชิงคุณภาพ หน่วยงานรับผิดชอบหลัก ......สำนักปลัด/ส่วนการคลัง/กองคลัง/ส่วนโยธา/กองช่าง...ฯลฯ...(หรือหน่วยงานอื่น)... ความเชื่อมโยง ยุทธศาสตร์จังหวัด : ยุทธศาสตร์ที่ 31

32 ยุทธศาสตร์ (Strategy)
4.2 กลยุทธ์/แนวทางการพัฒนา และตัวชี้วัดระดับกลยุทธ์ (รูปแบบ 2) ประเด็นยุทธศาสตร์ แบบ ยท. 03 ยุทธศาสตร์ (Strategy) ยุทธศาสตร์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดระดับเป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ที่..... กลยุทธ์หรือแนวทางการพัฒนา และตัวชี้วัดระดับกลยุธ์ กลยุทธ์หรือแนวทางการพัฒนา ตัวชี้วัดระดับกลยุทธ์ เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ 32

33 หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
4.3 หน่วยงานรับผิดชอบหลัก หน่วยงานรับผิดชอบหลัก เป็นการนำหน่วยงานรับผิดชอบหลัก ที่ปรากฎใน แบบ ยท. 03 มาลงรายการความรับผิดชอบของหน่วยงานรับผิดชอบหลักต่อยุทธศาสตร์ที่ได้กำหนดขึ้น เพื่อให้เกิดความชัดเจนและเห็นได้อย่างรูปธรรม ตัวอย่างเช่น ลำดับ ยุทธศาสตร์ หน่วยงานรับผิดชอบหลัก 1 โครงสร้างพื้นฐาน 1. กองช่าง 2. อบจ 3. กองการศึกษา 2 การพัฒนาด้านงานส่งเสริมคุณภาพชีวิต 1. สำนักปลัด ทต. 2. กองช่าง 3. กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม 3 การพัฒนาด้านการบริหารจัดการ 1. สำนักปลัด อบต. 2. กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม 3. กองการศึกษา 33

34 4.4 ความเชื่อมโยง ความเชื่อมโยง เป็นการอธิบายความเชื่อมโยงตามแบบ ยท .01 ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดกับยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map) ที่ปรากฎตามแบบ ยท. 02 ว่ามีความเชื่อมโยงกันอย่างไร เพื่อแสดงให้เห็นว่าหรือทำให้เห็นว่า ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้ตอบสนองต่อวิสัยทัศน์เช่นไร มีความสอดคล้อง เชื่อมโยงกับพันธกิจ เป้าประสงค์ แนวทางการพัฒนา ซึ่งก่อให้เกิดผลผลิตและโครงการที่จะเกิดขึ้นได้อย่างไร และส่งผลต่อการพัฒนาตามยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัด (ว 524) และยุทธศาสตร์จังหวัดอย่างไร เป็นต้น 34

35 บทที่ 5 การติดตามและประเมินผลยุทธศาสตร์
บทที่ 5 การติดตามและประเมินผลยุทธศาสตร์ 5.1 กรอบและแนวทางในการติดตามและประเมินผล 5.2 ระเบียบ วิธีในการติดตามและประเมินผล 5.3 กำหนดเครื่องมือที่ใช้ในการติดตามและประเมินผล การติดตามและประเมินผลที่ปรากฎในหนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ที่ มท /ว 0703 ลงวันที่ 2 กุมภาพันธ์ เรื่อง แนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำและประสานแผนพัฒนาสามปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วยการติดตามและประเมินผลตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาและแผนพัฒนาสามปี แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา จะปรากฎใน บทที่ 5 ซึ่งกำหนดให้มีการติดตามและประเมินผลยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย 1) กรอบและแนวทางในการติดตามและประเมินผล 2) ระเบียบ วิธีในการติดตามและประเมินผล และ 3) กำหนดเครื่องมือที่ใช้ในการติดตามและประเมินผล ในส่วนของแผนพัฒนาสามปี จะปรากฎในส่วนที่ 4 ซึ่งกำหนดเป็นแนวทางการติดตามและประเมินผล ประกอบด้วย 1) กรอบและแนวทางในการติดตามและประเมินผล และ 2) ระเบียบ วิธีในการ และเครื่องมือที่ใช้ในการติดตามและประเมินผล 35

36 นักวางแผนที่ดี หากรู้เขารู้เรา แม้รบกันตั้งร้อยครั้งก็ไม่มีอันตรายใด ถ้าไม่รู้เขา แต่รู้เพียงตัวเรา แพ้ชนะย่อมก้ำกึ่งกันอยู่ หากไม่รู้ในตัวเขาตัวเราเสียเลย จะต้องปราชัยทุกครั้งที่มีการยุทธ. การจะรู้ถึงความในของข้าศึก จงอย่าถือเอาจากภูตพราย หรือเทพยดาอารักษ์ อย่าคาดคะเนจากปรากฏการณ์ หรือลางเหตุเพียงผิวเผิน อย่าพิสูจน์จากมุมฉากโคจรแห่งวิถีดาวเดือน จำเป็นต้องรู้จักบุคคล จึงจะนับว่ารู้ความในของข้าศึกอย่างแท้จริง. ดร.สุริยะ หินเมืองเก่า 36


ดาวน์โหลด ppt แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google