การจัดระบบเฝ้าระวังยาเสพติดในระดับพื้นที่จังหวัดพิจิตร คำสั่ง ศตส. ที่ 44/2547 ลงวันที่ 7 ธันวาคม 2547 เสนอโดย นายธงชัย ขิมมากทอง นอ ๗๒.๕๔๔๒
วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษากระบวนการในการดำเนินงานการจัดระบบเฝ้า ระวังยาเสพติดที่ สามารถตรวจสอบและยืนยันสภาพ ปัญหายาเสพติดในแต่ละห้วงเวลาที่ตรงกับสภาพ ข้อเท็จจริง เพื่อใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจแก่ ผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพ ติดจังหวัดพิจิตร เพื่อศึกษาปัจจัยส่งเสริม/สนับสนุนในการจัดระบบเฝ้าระวัง ยาเสพติดในระดับพื้นที่จังหวัด เพื่อศึกษาถึงปัจจัย เงื่อนไขต่อความสำเร็จในการ จัดระบบเฝ้าระวังยาเสพติด ในระดับพื้นที่จังหวัดพิจิตร เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่งเสริม สนับสนุน และการจัดระบบเฝ้าระวังยาเสพติดในระดับพื้นที่จังหวัด
กรอบแนวคิดของ การศึกษา การจัดระบบเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดในระดับพื้นที่จังหวัดพิจิตร การจัดระบบเฝ้าระวังยาเสพติด (DV) DV1 คณะทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดระดับจังหวัด (ทีมงาน) DV2 การตรวจสอบ ติดตาม ค้นหา สถานการณ์ยาเสพติด 2.1 การจัดเก็บข้อมูล 2.2 การรวบรวมข้อมูล 2.3 การประมวลผล 2.4 การวิเคราะห์ข้อมูล DV3 การรายงานผลหรือการชี้สถานการณ์ DV4 การวางแผน การกำหนดมาตรการ และการประเมินผล ปัจจัยส่งเสริม/สนับสนุน (IV) IV1 ปัจจัยหลัก 1.1 ระเบียบ กฎหมาย 1.2 นโยบายของส่วนกลาง จังหวัด 1.3 แผนงาน /ขั้นตอนการทำงาน 1.4 งบประมาณ 1.5 บุคลากร IV2 ปัจจัย/เงื่อนไขต่อความสำเร็จ 2.1 ยึดมั่นหลักคิด “ยาเสพติดเป็นภัยทำลายชาติ” ของคณะทำงาน 2.2 ความรู้ความสามารถ 2.3 แรงจูงใจ (ขวัญกำลังใจ)
สมมุติฐานและนิยามตัวแปร วิธีวิจัย สมมุติฐานและนิยามตัวแปร การจัดระบบเฝ้าระวังยาเสพติด (DV) DV1 คณะทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดระดับจังหวัด (ทีมงาน) DV2 การตรวจสอบ ติดตาม ค้นหา สถานการณ์ยาเสพติด 2.1 การจัดเก็บข้อมูล 2.2 การรวบรวมข้อมูล 2.3 การประมวลผล 2.4 การวิเคราะห์ ข้อมูล DV3 การรายงานผล หรือการชี้สถานการณ์ DV4 การวางแผน การกำหนดมาตรการ และการประเมินผล ปัจจัยส่งเสริม/สนับสนุน (IV) IV1 ปัจจัยหลัก 1.1 ระเบียบ กฎหมาย 1.2 นโยบายของส่วนกลาง จังหวัด 1.3 แผนงาน /ขั้นตอนการทำงาน 1.4 งบประมาณ 1.5 บุคลากร IV2 ปัจจัย/เงื่อนไขต่อความสำเร็จ 2.1 ยึดมั่นหลักคิด “ยาเสพติดเป็นภัยทำลาย ชาติ” ของคณะทำงาน 2.2 ความรู้ความสามารถ 2.3 แรงจูงใจ (ขวัญกำลังใจ)
วิธีวิจัย กลุ่มประชากรในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ผู้ต้องหาที่ถูกจับกุมใน ผู้ต้องโทษผู้ที่ถูกคุมขัง ผู้ถูกคุมประพฤติ ผู้เข้ารับการบำบัดรักษา โดยใช้ข้อมูลในเดือนกันยายน 2555 จำนวน 80 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบบซักถามข้อมูลบุคคลที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด เป็นแบบสัมภาษณ์เชิงลึกที่มีลักษณะเป็นการพูดคุย โดยใช้เจ้าหน้าที่ของแต่ละหน่วยงาน การวิเคราะห์ข้อมูล นำข้อมูลที่ได้จากการซักถามมาประมวลผลในคอมพิวเตอร์ ส่วนการวิเคราะห์เชิงพรรณนาเป็นการอธิบายสถานการณ์ยาเสพติดที่ต้องเฝ้าระวัง
ผลของการศึกษาวิเคราะห์ โครงสร้างคณะทำงานเฝ้าระวังยาเสพติด (ทีมงาน)
วงรอบการจัดระบบเฝ้าระวังยาเสพติด (DV) (รอบเดือน)
ผลสรุปตามการศึกษา ค้นหาสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติด ในตัวยาหลัก 3 ชนิด คือ ยาบ้า สารระเหย และกัญชา ตามลำดับ การกระจายตัวยา ในเขตชุมชนเมือง เนื่องจาก เป็นศูนย์รวมของนักเรียนนักศึกษา ผู้ใช้แรงงาน สถานที่เสพ/จำหน่าย ใช้ หอพัก บ้านพัก หรือบ้านพักแบ่งเช่า ผู้ที่เกี่ยวข้องกับยา เสพติดเป็นผู้เสพหรือผู้ค้ารายย่อย ราคายาเสพติด (ยาบ้า) 250-350 บาท พื้นที่ที่ต้องเฝ้าระวัง ได้แก่ หอพัก บ้านพัก หรือบ้านพักแบ่งเช่า ปัจจัยส่งเสริม/สนับสนุน ส่งผลให้ระบบเฝ้าระวังเกิดขึ้นได้จริง เงื่อนไขความสำเร็จส่งผลให้ระบบเฝ้าระวังมีประสิทธิภาพ ความสัมพันธ์ ปัจจัยส่งเสริมสนับสนุนกับการจัดระบบเฝ้าระวังทุกขั้นตอน
ข้อเสนอแนะ ผู้ศึกษามีข้อเสนอแนะในการจัดระบบเฝ้าระวังยาเสพติดในระดับพื้นที่ จังหวัดพิจิตร ดังนี้ การจัดระบบเฝ้าระวังยาเสพติดควรดำเนินการในทุกจังหวัดและ ประสานข้อมูลระหว่างกัน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ควร ให้ความสำคัญกับข้อมูล การจัดระบบเฝ้าระวัง รวมทั้งนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์อย่างจริงจัง การโยกย้ายของข้าราช ทำให้การจัดระบบเฝ้าระวังขาดความ ต่อเนื่องหรือขาดประสิทธิภาพ เห็นควรให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายา เสพติด จัดระบบงานเฝ้าระวังเป็นภารกิจหลักที่ต้องดำเนินการอย่าง ต่อเนื่อง นโยบายของรัฐบาลในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดควร เป็นไปในแนวทางเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน ไม่มุ่งเน้นการแก้ไข ปัญหาเฉพาะหน้า ปัจจัย เงื่อนไขต่อความสำเร็จเป็นส่วนสำคัญที่จะขับเคลื่อนการ จัดระบบเฝ้าระวังยาเสพติด ให้สัมฤทธิ์ผลหรือไปสู่เป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ฉะนั้น ทุก ฝ่ายควรให้ความสำคัญ เข้าใจและสนับสนุนในการทำงานของผู้ที่ รับผิดชอบ