โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง (TOR) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม . . ฝ่ายวิชาการ . .
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง (TOR)
1 2 3 หลักการและเหตุผล ดำเนินโครงการโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง มุ่งเน้นให้นำนวัตกรรม ทรัพยากร ความรู้ทางวิชาการ ช่วยพัฒนาโรงเรียน 2 มุ่งเน้นพัฒนาศักยภาพครูในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่สอดคล้อง นโยบายด้านการศึกษา 3 มุ่งแก้ปัญหาการศึกษาของชาติ (การอ่านออกเขียนได้, ยกระดับความรู้ภาษาอังกฤษ, การจัดการเรียนการสอน STEM, การคืนครูสู่ห้องเรียน)
เน้น ประเภทขนาดโรงเรียน เขตพื้นที่ในการคัดสรรโรงเรียน โรงเรียนขนาดเล็ก ข้อเสนอแนะในการคัดสรรโรงเรียน เน้น โรงเรียนที่ต้องการความช่วยเหลือ โรงเรียนด้อยโอกาส/ขาดแคลน ประเภทขนาดโรงเรียน โรงเรียนขนาดเล็ก เขตพื้นที่ในการคัดสรรโรงเรียน โรงเรียนในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคเหนือตอนล่าง เนื่องจากมีสถาบันเครือข่ายอุดมศึกษาภูมิภาค
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ การจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย STEM PBL ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ PLC
1 2 วัตถุประสงค์ ส่งเสริมการสร้างความเข้มแข็งของโรงเรียนในท้องถิ่น สร้างความร่วมมือระหว่างสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เครือข่ายอุดมศึกษาภูมิภาค 9 เครือข่าย และศึกษาธิการจังหวัด
โรงเรียนในสังกัด สพฐ. / อปท. / ตชด. เป้าหมายโครงการ โรงเรียนในสังกัด สพฐ. / อปท. / ตชด. เป้าหมายโครงการ สถาบันอุดมศึกษา โรงเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน นักเรียน ครู 154 สถาบัน 1,540 โรงเรียน 184,800 คน 15,400 คน สถาบันอุดมศึกษา 154 สถาบัน โรงเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป้าหมายโครงการ 1,540 โรงเรียน นักเรียน 184,800 คน ครู 15,400 คน
เป้าหมายกิจกรรมที่สอดคล้องนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ 7 กิจกรรม ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ STEM English คุณธรรม จริยธรรม ภาษาไทย กิจกรรมอื่นๆ พัฒนาศักยภาพครู ** ทั้งนี้สถาบันอุดมศึกษาพี่เลี้ยง ต้องมีกิจกรรมที่จะดำเนินการแต่ละโรงเรียน อย่างน้อย 2 ใน 7 กิจกรรม
เครือข่ายอุดมศึกษาภูมิภาค 9 เครือข่าย ภาคเหนือตอนบน ภาคเหนือตอนล่าง ภาคกลางตอนบน ภาคกลางตอนล่าง ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน เครือข่ายอุดมศึกษาภูมิภาค 9 เครือข่าย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ภาคใต้ตอนบน ภาคใต้ตอนล่าง
งบประมาณสำหรับการจัดโครงการฯ โรงเรียนละ เป้าหมาย โรงเรียนสังกัด สพฐ. 60,000 บาท อย่างน้อย 10 โรงเรียน
ขั้นตอนการดำเนินการ 9 ขั้นตอน ขั้นตอนการดำเนินการ 9 ขั้นตอน 7. คณะอนุกรรมการอำนวยการ กำกับ ติดตาม และประเมินผลโครงการฯ ตรวจเยี่ยมเครือข่าย 9 ภูมิภาค ร่วมกับ กศจ. 8. สถาบันฯ ส่งรายงานผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน ไปยังสถาบันอุดมศึกษาแม่ข่าย และเครือข่ายภูมิภาค 9 เครือข่าย 9. ประชุมวิชาการ จัดนิทรรศการ และสรุปผลการดำเนินโครงการฯ 4. สกอ. โอนเงินงบประมาณ ผ่าน สถาบันอุดมศึกษาแม่ข่าย ของเครือข่ายภูมิภาค 9 เครือข่าย 5. เครือข่ายอุดมศึกษา ดำเนินโครงการที่ได้รับอนุมัติ ตามข้อกำหนดโครงการฯ 6. กศจ. ให้คำแนะนำ ติดตามการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาเป็นระยะ 1. ประชุมเครือข่ายอุดมศึกษาภูมิภาค เพื่อชี้แจงข้อกำหนดโครงการ (TOR) 2. สถาบันฯ ประสาน กศจ./โรงเรียน/หน่วยงานเพื่อ สำรวจความต้องการของโรงเรียนในท้องถิ่น 3. เครือข่ายอุดมศึกษา รวบรวมและส่งข้อเสนอโครงการเพื่อให้คณะอนุกรรมการเครือข่ายพิจารณา
2. ระดับเครือข่ายอุดมศึกษาภูมิภาค ดัชนีวัดความสำเร็จ (KPI) 2. ระดับเครือข่ายอุดมศึกษาภูมิภาค A-NET ผลสัมฤทธิ์ KPI NT จิตพิสัย 1. ระดับโครงการฯ สถาบันฯ แม่ข่าย จัดประชุม รวมไม่น้อยกว่า 2 ครั้ง/ปี สถาบันฯ แม่ข่าย รายงานผลการดำเนินงาน และส่ง Final Report
การพัฒนาศักยภาพโรงเรียน นักเรียน ครู 15,400 คน ผลผลิต (Output) การพัฒนาศักยภาพโรงเรียน นักเรียน ครู 15,400 คน 184,800 คน ได้รับการพัฒนาศักยภาพในการใช้นวัตกรรมการสอน การวิจัย 1,540 โรงเรียน ได้รับการพัฒนาทักษะทางวิชาการ การคิด ภาษา การสื่อสาร
ผลลัพธ์ (Outcome) ผลการสอบประเมินคุณภาพระดับชาติขั้นพื้นฐาน เครือข่ายอุดมศึกษาภูมิภาค 9 เครือข่าย คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถาบันฯ แม่ข่าย เป็นศูนย์กลางการพัฒนาคุณภาพวิชาการ คัดสรรสถาบันฯพี่เลี้ยง คุณภาพการศึกษาในภาพรวม NT O-net A-net ดีขึ้น อย่างต่อเนื่อง
กรอบระยะเวลาดำเนินการ