02/08/62 การศึกษาพลังงานทางเลือกจากมูลช้างทำถ่านอัดแท่ง สู่ชุมชนท้องถิ่นในเขตจังหวัดสุรินทร์ The Study of Alternative Fuel From Elephant Dung Made Bar.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

นายชิดชัย อังคะ ไวมงคล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายมนัส ปรุง ทำนุ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ ร. อ. ปกรณ์เดช โลหิตหาญ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ.
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ ผู้วิจัย ถาวร ประรงค์ทอง.
ณ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
นางสาวสาวิตรี โยธาจันทร์ คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดน่าน
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ชุมพร ว่าง สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด ว่าง
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
ชลบุรี ว่าง นายชิดชัย อังคะไวมงคล
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
กาฬสินธุ์ ว่าง สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ระยอง นายสมชัย ฉายศรีศิริ นายปรพล เจริญพงษ์ นายสมหมาย เอี่ยมมงคลสกุล
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
นายอธิปัตย์ พ่วง ลาภ โยธาธิการและผัง เมืองจังหวัด นายอนุชา เจริญพันธ์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นายจรัส สุด จันทร์ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ นายพศิน.
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
ผู้วิจัย วัฒนาทร ชูใหม่ สาขาการบริหารการศึกษา ปีการศึกษา 2548
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
พระเครื่องเมืองกำแพงเพชร
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
รศ. ดร. สิทธิชัย แก้วเกื้อกูล คณบดี รศ. สุวรรณา สมบุญสุโข รองคณบดีฝ่ายบริหาร ผศ. ดร. คมกฤตย์ ชมสุวรรณ รองคณบดีฝ่ายวางแผน และพัฒนา รศ. ดร. กุลธิดา ธรรมวิภัชน์
ศักยภาพและการมีส่วนร่วมของ ชุมชนในโครงการเส้นทางการ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ในจังหวัด นครสวรรค์ พัชรี ดินฟ้า, ไชยา อู๋ชนะภัย, สุนันทา เทียมคำ สาขาภูมิศาสตร์
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
รายงานผลการปฏิบัติงาน เดือนมกราคม 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
วิทยาลัยเทคโนโลยี ดอนบอสโกสุราษฎร์
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
การขอโครงการวิจัย.
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. เข็มชาติ พิมพิลา รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียน เวียงเชียงรุ้งวิทยา.
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
โครงการ “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่)
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
อุปนายกสมาคมวิจัยและพัฒนาการศึกษา ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง (TOR) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม . . ฝ่ายวิชาการ . .
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

02/08/62 การศึกษาพลังงานทางเลือกจากมูลช้างทำถ่านอัดแท่ง สู่ชุมชนท้องถิ่นในเขตจังหวัดสุรินทร์ The Study of Alternative Fuel From Elephant Dung Made Bar of Compressive Coal for Local Community in Surin Province ผู้ช่วยศาสตราจารย์ว่าที่ร้อยตรี ดร.ชูชาติ พยอม นายศุภชัย แก้วจันทร์ นายวิทยา อินทร์สอน สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิต คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย 1. เพื่อศึกษา และออกแบบทดลอง การทำถ่านอัดแท่งจากมูลช้างในการนำไปใช้ในอุตสาหกรรมครัวเรือนทดแทนถ่านเชื้อเพลิงจากธรรมชาติ 2. เพื่อสร้างเครื่องต้นแบบทำถ่านอัดแท่งจากมูลช้าง สำหรับชุมชนท้องถิ่น ในเขตจังหวัดสุรินทร์ ขอบเขตของโครงการวิจัย 1. ขอบเขตทางด้านการสร้าง 1.1 โครงสร้างของเครื่องอัดเชื้อเพลิงจากมูลช้าง กว้าง 152 เซนติเมตร ยาว 100 เซนติเมตร สูง 127 เซนติเมตร 1.2 ขนาดของชุดผสม กว้าง 45 เซนติเมตร สูง 35 เซนติเมตร 1.2.1 ขนาดของถังผสม Ø 45 เซนติเมตร 1.2.2 ขนาดของใบพายผสม กว้าง 10 เซนติเมตร ยาว15เซนติเมตร 1.3 ขนาดของชุดกระบอกอัด กว้าง เซนติเมตร สูง 18 เซนติเมตร 1.3.1 ชุดเกลียวอัด 1 ชุด 1.3.2 กระบอกรีดเส้นผ่าศูนย์กลาง Ø 4 เซนติเมตร 2. ขอบเขตทางด้านวัตถุดิบ คณะผู้วิจัยได้ดัดแปลงสูตรผสมการทำถ่านอัดก้อนเชื้อเพลิงของ (จันทร์เทพ พยุงเกษมและสมเกียรติ ขรวนรัมย์. 2550) มูลช้างสับละเอียด 32.5 % ขี้เลื่อยบดละเอียด 15 % ชีวมวล(ผงถ่าน) บดละเอียด 17.5 % แป้งมัน 5 % น้ำ 30 % 3. ขอบเขตทางด้านประสิทธิภาพ 3.1 พิจารณาจากผลในการผสมมูลช้างที่คลุกเคล้าเข้ากันได้ดีจนสามารถอัดเป็นแท่งได้ 3.2 พิจารณาจากผลความสามารถในการอัดเป็นแท่งได้ 3.3 พิจารณาจากผลการเปรียบเทียบระหว่างเชื้อเพลิงจากมูลช้างกับถ่านไม้จบก ในด้านอุณหภูมิและเวลาในการให้ความร้อน แสดงขั้นตอนการหาประสิทธิภาพเครื่องอัดถ่านจากมูลช้าง ผลการดำเนินงานและอภิปรายผล ผลการทดสอบหาประสิทธิภาพเครื่องอัดเชื้อเพลิงจากมูลช้าง สามารถอัดได้ 10 กิโลกรัมต่อ 5.62 นาที หรือ 107 กิโลกรัมต่อชั่วโมง ผลการทดสอบหาค่าความหนาแน่น ที่เส้นผ่านศูนย์กลางจากปากกระบอกรีด 4.5 เซนติเมตร ความยาวของแท่งเชื้อเพลิงจากมูลช้างเฉลี่ย 10 เซนติเมตร น้ำหนักของแท่งเชื้อเพลิงจากมูลช้างเฉลี่ย 270 กรัม ค่าความหนาแน่นเฉลี่ย 0.34 กรัมต่อลูกบาศกเซนติเมตร การรักษาอุณหภูมิคงที่ของเชื้อเพลิงจากมูลช้างรักษาอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส ได้นานถึง 69.56 นาที จะเห็นได้ว่าถ่านจากเชื้อเพลิงจากมูลช้างจะให้ความร้อนได้เร็วกว่าถ่านไม้จบก 0.88 นาที และรักษาอุณหภูมิความร้อนที่ 100 องศาเซลเซียส ได้นานกว่าถ่านไม้จบก 11.33 นาที อธิบายได้ว่า ผลจากการอัดเชื้อเพลิงจากมูลช้างที่พัฒนาขึ้นโดยลดขนาดของกระบอกรีดให้มีเส้นผ่านศูนย์กลางเล็กลงกว่าเดิม มีความเหมาะสมมาใช้ในการอัดเชื้อเพลิงจากมูลช้างให้มีความหนาแน่นและสะสมอุณหภูมิได้นานขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับ วัฒนา หมุ่ยศรีและคณะ (2550) ผลอัดแท่งเชื้อเพลิงที่ความเร็วรอบ 106 รอบต่อนาที สามารถทำงานได้ดีที่สุด เนื่องจากแท่งเชื้อเพลิงที่อัดได้มีความหนาแน่นดีที่สุด แท่งเชื้อเพลิงจับกันได้ดี และควรลดขนาดของกระบอกรีดให้มีเส้นผ่านศูนย์กลางเล็กลงกว่าเดิม คือ จาก 5.1 เซนติเมตร เป็น 4.5 เซนติเมตร เพื่อให้มีปริมาตรเล็กลง การอัดจะแน่นขึ้น แนวทางการนำผลการดำเนินโครงการไปใช้ประโยชน์/แนวทางการพัฒนาต่อยอดโครงการวิจัย 1. ควรศึกษา เรื่อง การสร้าง และหาประสิทธิภาพเครื่องบดสับมูลช้างสด เพื่อผลิตถ่านอัดแท่ง สำหรับชุมชนคนเลี้ยงช้าง 2. ควรศึกษา เรื่อง การสร้าง และหาประสิทธิภาพเครื่องอบถ่านแท่งจากมูลช้าง เพื่อผลิตถ่านอัดแท่ง สำหรับชุมชนคนเลี้ยงช้าง กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยเรื่องการศึกษาพลังงานทางเลือกจากมูลช้างทำถ่านอัดแท่งสู่ชุมชนท้องถิ่นในเขตจังหวัดสุรินทร์ซึ่งคณะผู้วิจัยได้ดำเนินการจัดทำสำเร็จลุล่วงลงได้ เพราะได้รับการสนับสนุนงบประมาณการวิจัยจากสำนักบริหารโครงการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนา มหาวิทยาวิจัยแห่งชาติ สำนักคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ตามมติคณะรัฐมนตรี คำชี้แนะข้อมูลจากภูมิปัญญาท้องถิ่น อาทิ ชุมชนคนเลี้ยงช้างในท้องถิ่นจังหวัดสุรินทร์ นักวิชาการจากศูนย์คชศึกษาและเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบลกระโพ อำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ พร้อมทั้งให้ความอนุเคราะห์มูลช้างจำนวนมากในการทดสอบ ขอขอบคุณ ท่านสิทธิพร หวังดี รักษาราชการแทนอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ซึ่งได้มาตรวจเยี่ยมให้กำลังใจและคำแนะนำ ข้อเสนอแนะต่าง ๆ ในการดำเนินการวิจัย ในครั้งนี้ คณะผู้วิจัยจึง ขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ วิธีการดำเนินการวิจัย 1. ขั้นตอนการศึกษาข้อมูลและสภาพปัญหา 2. ขั้นตอนการออกแบบและสร้าง 3. ขั้นตอนการหาประสิทธิภาพเครื่องอัดถ่านจากมูลช้าง 4. ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล 5. ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล 6. ขั้นตอนการสรุปรายงาน