Topic 13 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
“กลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ”
Advertisements

Your Investment Partner
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
การค้าระหว่างประเทศ.
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 101 หนี้สงสัยจะสูญ และหนี้สูญ
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
ขอบเขตของการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สาเหตุ ค่าเงินบาทแข็ง-อ่อน
1.
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด นราธิวาส 1.
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
บัญชี อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต นายยงยุทธ พันตารักษ์ พัฒนาการอำเภอเมือง พิจิตร จังหวัดพิจิตร.
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เรื่องที่ครอบคลุม การซื้อขายสินค้าในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
บทที่ 9 เศรษฐกิจการค้าและการเงินระหว่างประเทศ
การจัดการธุรกิจขนาดย่อม
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
บทที่ 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
International Economics Payment among Nation
การค้าระหว่างประเทศ International Trade
The Theory of Comparative Advantage: Overview
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
การเงินธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1104
ไฟฟ้า.
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
1. การสอบกลางภาค วันที่ 6 ตุลาคม เวลา น. เก็บ 40 % 2
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
การบริหารงานคลังสาธารณะ
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ระบบเศรษฐกิจ.
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
การวิเคราะห์องค์กร รู้จักตนเอง
องค์กรตรวจสอบการทำงานภาครัฐ (สตง. / ปปช. / ปปท. )
ประเด็นปัญหาที่ตรวจพบจากการตรวจสอบ
วิกฤตเศรษฐกิจของประเทศไทย ปี 2540
ดุลการชำระเงิน Balance of Payments Taweesak Gunyochai : Satit UP
“Thailand’s Sustainable Business” ณ โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท
รูปแบบ และ ประโยชน์การขายสินค้าออนไลน์
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
การปรับปรุงพื้นที่ทุรกันดาร 2559 นายแพทย์สงกรานต์ ไหมชุม
บทบาทขององค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่าง ๆ
การเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1103
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
ข้อดี ข้อเสีย ของ ค่าเงินบาทแข็ง
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
การวางแผนกำลังการผลิต
27 , 30 ตุลาคม 2549 ธนาคารแห่งประเทศไทย
รายได้ประชาชาติ รายวิชา : week 04.
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
การขายและการตลาดสำหรับธุรกิจโรงแรมและที่พัก
Topic 13 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Topic 13 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ รศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์ J.chontanawat@gmail.com

หัวข้อหลัก I. การค้าระหว่างประเทศ : II. การเงินระหว่างประเทศ : 1. ความหมายและความสำคัญของการการค้าต่างประเทศ 1.1 ทฤษฎีการการได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ 1.2 นโยบายการค้าระหว่างประเทศ II. การเงินระหว่างประเทศ : 1. การชำระเงินระหว่างประเทศ 2. ดุลการชำระเงิน

การค้าระหว่างประเทศ การค้าระหว่างประเทศ : การแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการซึ่งเกิดขึ้นในอาณาเขตระหว่างประเทศ สาเหตุการค้าระหว่างประเทศ - ความแตกต่างทางสภาพภูมิศาสตร์และภูมิอากาศ (ประเทศมี ทรัพยากรแตกต่างกัน) - ความแตกต่างในความมีทักษะ (Skill) ของประชากร - ประเทศมีรสนิยมในการบริโภคแตกต่างกัน - ประเทศผลิตสินค้าแต่ละชนิดโดยเสียต้นทุนแตกต่างกัน

ทฤษฎีการได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ (Theory of Comparative Advantage) David Ricardo : ประเทศต่างๆ ไม่ควรผลิตสินค้าทุกชนิดที่ตนต้องการเอง แต่ควรมุ่งผลิตสินค้าที่ตนสามารถผลิตได้โดยเสียต้นทุนต่ำกว่าเมื่อเปรียบเทียบ การกระทำเช่นนี้ ทำให้ทุกประเทศได้รับผลประโยชน์จากการแบ่งงานกันทำ (Division of Labor)

ประโยชน์ของการค้าระหว่างประเทศ 1. ประเทศสามารถใช้ปัจจัยการผลิตได้อย่างเต็มที่ 2. ประเทศสามารถนำเข้าสินค้าที่ต้องการได้ 3. เป็นการส่งเสริมการออมและการลงทุนภายในประเทศเพิ่มขึ้น 4. ช่วยให้มีการแข่งขันกันประกอบการมากขึ้น 5. ช่วยบรรเทาปัญหาด้านการคลังของรัฐบาล

ปัญหาที่เกิดจากการค้าระหว่างประเทศ ปัญหาการขาดดุลการค้า ปัญหาด้านอัตราการค้า ปัญหาการเลียนแบบการบริโภค

นโยบายการค้าเสรี (ใช้แนวทฤษฎีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ) นโยบายการค้าระหว่างประเทศ นโยบายการค้าเสรี (ใช้แนวทฤษฎีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ) - ไม่พยายามผลิตสินค้าทุกชนิดที่ต้องการเอง (ผลิตสินค้าที่ตนเอง มีความชำนาญและต้นทุนต่ำ) - ไม่มีการตั้งกำแพงภาษี - อัตราภาษีที่จัดเก็บเป็นอัตราเดียวกัน - ไม่มีข้อกำหนดทางการค้าอื่นๆ

นโยบายการค้าคุ้มกัน (ช่วยเหลือผู้ผลิต) นโยบายการค้าคุ้มกัน (ช่วยเหลือผู้ผลิต) - ผลิตสินค้าหลายชนิด เพื่อพึ่งตนเอง - ให้การคุ้มกันตลาดสินค้าภายในประเทศ โดยการตั้งกำแพงภาษี - มีการเก็บภาษีหลายอัตราเพื่อกีดกันทางการค้า - มีการกำหนดข้อจำกัดทางการค้าต่างๆ วัตถุประสงค์ของการดำเนินนโยบายการค้าคุ้มกัน - ส่งเสริมการผลิต การลงทุน และการจ้างงานในประเทศ - ป้องกันการทุ่มตลาดของผู้ผลิตต่างประเทศ

ตัวอย่างมาตรการของนโยบายการค้าคุ้มกัน 1. อากรขาเข้า (Import Tariffs) 2. โควต้าการนำเข้า (Import Quota) 3. อากรขาออกและโควต้าการส่งออก (Export Tariffs and Export Quotas)

ผลเสียของการดำเนินนโยบายการค้าคุ้มกัน สินค้าเข้ามีราคาแพง ผู้ผลิตในประเทศอาจผูกขาดการผลิต

การชำระเงินระหว่างประเทศและเงินตราต่างประเทศ (International Payments and Foreign Exchange) การดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ต้องใช้เงินเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน โดยใช้เงินตราสกุลหลักๆ ที่ต่างประเทศยอมรับ กิจกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ประกอบด้วย......... การค้า + การบริการ ,การชำระหนี้ , การกู้ยืมเงิน , การลงทุน , การบริจาค

♣ อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ คือ ราคาของเงินสกุลหนึ่งที่คิดเทียบค่าอยู่ในหน่วยของเงินอีกสกุลหนึ่ง ♣ อุปสงค์ของเงินตราต่างประเทศ ความต้องการเงินตราต่างประเทศเพื่อดำเนินกิจกรรมต่างๆ เช่นการซื้อสินค้าและบริการจากต่างประเทศ, การชำระเงินกู้ต่างประเทศ, การลงทุนในต่างประเทศ,การท่องเที่ยวต่างประเทศ, โดยอุปสงค์ของเงินตราจะมีความสัมพันธ์กับอัตราแลกเปลี่ยนในทิศทางตรงข้าม ♣ อุปทานของเงินตราต่างประเทศ ปริมาณของเงินตราต่างประเทศที่มีอยู่ ซึ่งได้มาจากการดำเนินกิจกรรมต่างๆ เช่นการขายสินค้าและบริการไปยังต่างประเทศ, รายรับจากต่างประเทศ เช่นกู้เงินจากต่างประเทศ, การลงทุนจากต่างประเทศ, การท่องเที่ยวจากต่างประเทศ, แรงงานไทยในต่างประเทศส่งเงินกลับมาให้ครอบครัว โดยอุปทานของเงินตราต่างประเทศจะมีความสัมพันธ์กับอัตราแลกเปลี่ยนในทิศทางเดียวกัน

อัตราแลกเปลี่ยนดุลยภาพ ถูกกำหนดโดยอุปสงค์และอุปทานของเงินตราต่างประเทศ S D 100 B/$ ปริมาณเงินดอลลาร์ 31

ดุลการชำระเงินของประเทศ (Balance of Payments) บันทึกทางการเงินเกี่ยวกับมูลค่าที่เป็นตัวเงินของรายการทางเศรษฐกิจทุกชนิด ระหว่างผู้มีถิ่นฐานของประเทศนั้นกับผู้มีถิ่นฐานของประเทศอื่นในช่วงระยะเวลาหนึ่ง รายการทางเศรษฐกิจ (Economic Transactions) : รายการที่ก่อให้เกิดการโอนอำนาจความเป็นเจ้าของสินค้าและทรัพย์สินต่างๆ จากผู้มีถิ่นฐานของประเทศหนึ่งไปยังอีกประเทศหนึ่ง ประกอบด้วย รายการทางการค้าบริการ , การชำระหนี้ , การกู้ยืม , การลงทุน , การบริจาค ผู้มีถิ่นฐานของประเทศ : บุคคล ห้างร้าน องค์การธุรกิจที่พำนักอาศัย หรือมีภูมิลำเนาในประเทศอย่างปกติและเป็นการถาวร

ผู้มีถิ่นฐานของประเทศ (Residents) รวมถึง ข้าราชการไทย นักศึกษา นักท่องเที่ยว และนักธุรกิจที่ไปทำงาน ศึกษา ท่องเที่ยว และประกอบธุรกิจในต่างประเทศเป็นการชั่วคราว ไม่รวม ห้างร้าน องค์การธุรกิจ ธนาคารที่ดำเนินการอยู่ในประเทศไทยแต่เป็นสาขาของต่างประเทศ นักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศ และสถาบันระหว่างประเทศที่มีสถานที่ทำการอยู่ในประเทศไทย (UN, NGOs, etc)

ส่วนประกอบของดุลการชำระเงิน (Balance of Payments) 1. บัญชีเดินสะพัด (Current Account) : บันทึกรายการสินค้าและบริการที่นำเข้าและส่งออกของประเทศ ☺บันทึกสินค้าเข้าและสินค้าออก เรียกว่า ดุลการค้า (Balance of Trade) ☺บันทึกรายการด้านบริการ เรียกว่า ดุลบริการ (Balance of Services) 2. บัญชีทุน (Capital Account) : บันทึกรายการเกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายเงินทุนทั้งระยะสั้นและระยะยาว

1. การลงทุนโดยตรง (Direct Investment) ☼ บัญชีทุน ประกอบด้วย 1. การลงทุนโดยตรง (Direct Investment) 2. การลงทุนในหลักทรัพย์ (Portfolio Investment) 3. เงินกู้ยืม (Loan) ☼ ทุนระยะสั้น : การเพิ่มขึ้นหรือลดลง ของยอดเงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวันในต่างประเทศ ตลอดจนเงินกู้ที่ให้หรือได้รับ หรือสินเชื่อทางการค้าที่ให้หรือได้รับ ที่มีกำหนดไถ่ถอนภายใน 1 ปี ☼ ทุนระยะยาว : การลงทุน หรือเงินกู้ หรือหนี้สินต่างๆ ที่กำหนดไถ่ถอนเกินกว่า 1 ปี

3. บัญชีเงินโอนหรือเงินบริจาค (Transfer Account) : บันทึกรายการเกี่ยวกับเงินบริจาค เงินช่วยเหลือ เงินที่ประเทศได้รับ และที่โอนให้ต่างประเทศ 4. บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ (International Reserve) : บันทึกการเคลื่อนไหวของทุนสำรองระหว่างประเทศ ซึ่งการเคลื่อนไหวเป็นไปเพื่อชดเชยความแตกต่างระหว่างยอดเงินตราต่างประเทศที่ได้รับ และที่ต้องจ่ายไปจาก 3 บัญชีข้างต้น บัญชีทุนสำรองประกอบด้วย 1. ทองคำ 2. เงินตราต่างประเทศสกุลหลัก ($ , เยน ,ปอนด์) 3. พันธบัตรต่างประเทศ

การบันทึกรายการในดุลการชำระเงิน ถ้าประเทศได้รับชำระเงินตราต่างประเทศ จะมีฐานะเป็นเจ้าหนี้ลงบัญชี ทางด้านเครดิต ถ้าประเทศต้องชำระเงินตราต่างประเทศ จะมีฐานะเป็นลูกหนี้ลงบัญชี ทางด้านเดบิต โดยผลรวมของ 3 บัญชีแรก คือ CU + CA + TR = IR ถ้ายอดเครดิตมากกว่าเดบิตแสดงว่า ดุลการชำระเงินเกินดุล (Surplus Disequilibrium) : รับเงินตราต่างประเทศ>ที่ต้องจ่ายออกไป, เงินทุน สำรองระหว่างประเทศจะเพิ่มขึ้น ถ้ายอดเดบิตมากกว่าเครดิต แสดงว่า ดุลการชำระเงินขาดดุล (Deficit Disequilibrium) : รับเงินตราต่างประเทศ<ที่ต้องจ่ายออกไป, เงินทุน สำรองระหว่างประเทศจะลดลง

มาตรการในการแก้ไขปัญหาการขาดดุลการชำระเงิน 1. การให้อัตราแลกเปลี่ยนแปลงโดยเสรี (Free Fluctuating Exchange Rate) 2. การลดค่า เงิน (Devalue) 3. การเปลี่ยนแปลงทางด้านราคาและรายได้ (Price and Income Changes) 4. การควบคุมของรัฐบาล (Government Control) - การควบคุมปริวรรตเงินตราต่างประเทศ (Exchange Rate Controls)ควบคุมการซื้อขายเงินตราต่างประเทศ - การควบคุมการค้า (Trade Controls) เพื่อลดการขาดดุลการค้า เช่น การเพิ่มภาษีขาเข้าและค่าธรรมเนียมในการนำเข้า, การกำหนดโค้วต้าการนำเข้า, การส่งเสริมการส่งออก

Any Questions ? j.chontanawat@gmail.com