หัวหน้ากลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพวัยรุ่น ศูนย์อนามัยที่1 เชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
Advertisements

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
สกลนครโมเดล.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
คลินิกวัยรุ่น YFHS : แนวทางการดำเนินงานและมาตรฐาน
โครงการ เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
กลุ่มที่ 7 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด นครราชสีมา.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แนวทางการดำเนินงานตามตัวชี้วัด 1
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2562
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สรุปภาพรวมผลการดำเนินงาน
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หัวหน้ากลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพวัยรุ่น ศูนย์อนามัยที่1 เชียงใหม่ คลินิกให้บริการที่เป็นมิตร(yfhs)& อำเภออนามัยเจริญพันธุ์ สู่ ศูนย์พึ่งได้ สายสุทธี ร่มเย็น หัวหน้ากลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพวัยรุ่น ศูนย์อนามัยที่1 เชียงใหม่

อัตราคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15 – 19 ปี สถาน การณ์ อัตราคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15 – 19 ปี : ข้อมูลจาก HDC วันที่ 30 มีนาคม 2561

อัตราการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุ 15-19 ปี : ข้อมูลจาก HDC วันที่ 30 มีนาคม 2561

การคุมกำเนิดในหญิงอายุ< 20 ปี ร้อยละของหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ที่ได้รับบริการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ (Modern Methods) หลังคลอดหรือหลังแท้ง เขตสุขภาพที่ 1 ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด รวมทั้งปีงบประมาณ B A ร้อยละ เชียงใหม่ 497 106 21.33 ลำพูน 80 7 8.75 ลำปาง 156 93 59.62 แพร่ 78 21 26.92 น่าน 119 20 16.81 พะเยา 117 14 11.97 เชียงราย 444 88 19.82 แม่ฮ่องสอน 176 75 42.61 รวม 1,667 424 25.43  : ข้อมูลจาก HDC วันที่30 มีนาคม 2561

อัตราคลอดแม่วัยรุ่น 15-19ปี Gap Analysis MCH Bord ระดับเขต 1.การตั้งครรภ์ซ้ำ 1.การขับเคลื่อน การดำเนินงานของภาคส่วนต่างๆตามพ.ร.บ.ฯป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่นยังไม่เป็นรูปธรรม อัตราคลอดแม่วัยรุ่น 15-19ปี ขาดการเข้าถึงบริการคุมกำเนิด 1.สร้างความเข้าใจในบทบาทของคณะอนุกรรมการระดับจังหวัด ในการดำเนินงานชี้นำ ชี้แนะ 2. คืนข้อมูล/ สถานการณ์ปัญหา เพื่อสร้างความตระหนักถึงปัญหาและผลเสียของการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ให้กับภาคีเครือข่าย เพื่อให้เกิดการทำงานร่วมกัน 3.กระตุ้น ติดตามการดำเนินงานของหน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่ตาม พ.ร.บ.ฯ พัฒนาบุคลากรให้มีทักษะในการให้คำปรึกษา -จัดหาเวชภัณฑ์คุมกำเนิดวิธีสมัยใหม่ และกึ่งถาวร(ยาฝังคุมกำเนิด) -กำกับ ติดตาม พัฒนาระบบส่งต่อ ผู้รับบริการนอกเขตให้มีประสิทธิภาพ - ตรวจสอบระบบการลงรายงานการใช้วิธีคุมกำเนิดหลังคลอดในแม่วัยรุ่นให้ครบถ้วน 2.การเข้าไม่ถึงบริการคลินิควัยรุ่น เพิ่มการประชาสัมพันธ์ มีระบบการช่วยเหลือ ส่งต่อ/การยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยด้วยยา เพิ่มช่องทางการเข้าถึง ปชส/บริการเชิงรุก

คลินิกวัยรุ่น : มาตรฐานการดำเนินงาน YFHS

วัยรุ่นและเยาวชนเข้าถึงบริการสุขภาพทั้งเชิงรับและเชิงรุก การเยี่ยมสำรวจและประเมินรับรองรพ.ตามมาตรฐานYFHS พัฒนารพ.ทุกแห่งมีระบบส่งต่อและช่วยเหลือแม่วัยรุ่น พัฒนาระบบบริการ มีความเชื่อมโยง เป็นมิตร รักษาความลับ วัยรุ่นเข้าถึงง่ายและเข้าถึงบริการคุมกำเนิดและมี การจัดบริการเชิงรุก

มาตรฐานคุณภาพ มีนโยบายที่เป็นมิตร 2. กระบวนการให้บริการที่ เป็นมิตร YFHS : Youth Friendly Health Service มีนโยบายที่เป็นมิตร 2. กระบวนการให้บริการที่ เป็นมิตร 3. ผู้ให้บริการที่เป็นมิตร 4. ทีมสนับสนุนบริการที่เป็นมิตร 5. สถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวก 6. วัยรุ่นมีส่วนร่วม 7. มีการสื่อสารและการมีส่วนร่วมของชุมชน แหล่งข้อมูล: WHO 2003 The WHO Orientation Programme on Adolescent Health for Health-Care Providers The WHO Orientation Programme on Adolescent Health for Health-Care Providers แหล่งข้อมูล: Karl L. Delhne , Gabriele Riedner , 2005 และ McIntyre P.,2002 10/07/62

ระบบบริการที่มีประสิทธิภาพ และเป็นมิตรต่อวัยรุ่น 2.1 เครือข่าย 2.2 การประชาสัมพันธ์ 2.3 การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย องค์ประกอบที่ 2 การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย และการสร้างความต้องการ ในการใช้บริการ องค์ประกอบที่ 1 การบริหารจัดการ มาตรฐาน บริการสุขภาพ ที่เป็นมิตรสำหรับ วัยรุ่นและเยาวชน องค์ประกอบที่ 3 บริการที่ครอบคลุม ความต้องการ ของกลุ่มเป้าหมาย 1.1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และนโยบาย 1.2 คณะทำงาน/คณะกรรมการ 1.3 แผนปฏิบัติงาน หรือโครงการ/กิจกรรม 1.4 ระบบข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการความรู้ 1.5 การสื่อสารภายใน 1.6 การสนับสนุนทรัพยากร 1.7 การกำกับ ติดตาม และประเมินผล 3.1 บริการให้ข้อมูล 3.2 บริการให้การปรึกษา 3.3 บริการครอบคลุมการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน รักษา และฟื้นฟู 3.4 การดูแลต่อเนื่องและการส่งต่อ องค์ประกอบที่ 4 ระบบบริการที่มีประสิทธิภาพ และเป็นมิตรต่อวัยรุ่น 4.1 ระบบบริการ 4.2 สถานที่ให้บริการ 4.3 บุคลาการผู้ให้บริการ 11 11 11 10/07/62 11

“อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์” อำเภอที่ดำเนินงานเรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ ในวัยรุ่นและเยาวชน กระตุ้นและผลักดันให้วัยรุ่น และเยาวชนมีพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่ เหมาะสม โดยบูรณาการและเสริมสร้างความเข้มแข็ง ขององค์กรพื้นที่ในงานอนามัยวัยรุ่น ทั้งสถานบริการสาธารณสุข ครอบครัว และชุมชน มีแนวทางการดำเนินงานที่สอดคล้องและมีเอกภาพ เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นและเยาวชน อย่างครอบคลุม ลดปัญหาและผลกระทบ ต่อเยาวชนและสังคม

องค์ประกอบของอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ จากกรอบแนวคิดการดำเนินงานการแก้ไขปัญหาอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น เราได้มีจัดทำโครงการอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ เพื่อเป็นการให้กำลังใจและประกาศเกียรติคุณคนทำงานในพื้นที่ โดยมีเงื่อนไขว่า ใน 1 อำเภอ จะต้องมี setting ของสถานศึกษา สถานบริการสาธารณสุข ทั้งในระดับ รพช. และรพ.สต. และครอบครัวชุมชน รวมทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และมี 5 องค์ประกอบ คือ 1.คณะกรรมการ/คณะทำงานจากทุกภาคส่วน 2. แผนและการดำเนินการตามแผนพัฒนา 3.การประชุมและการติดตามผลอย่างสม่ำเสมอ 4.ฐานข้อมูลเรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ 5.การสื่อสารเพื่อสร้างกระแสสังคม

กรอบแนวคิดอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ สถานศึกษา สถานบริการ สาธารณสุข สาธารณสุข อปท. มีการสอนเพศศึกษารอบด้านหรือหลักสูตรใกล้เคียง จัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีระบบการดูแล ช่วยเหลือนักเรียน รพช. มีการจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นและเยาวชนตามเกณฑ์มาตรฐาน รพ.สต. มีข้อมูลแผนงาน และ กิจกรรมป้องกันการตั้งครรภ์ โรคทางเพศสัมพันธ์และเอดส์ รพ.มีระบบการดูแล/ส่งต่อการตั้งครรภ์ มีแผนและดำเนินการ ตามแผน สนับสนุนทรัพยากร มีฐานข้อมูลเรื่องเพศและRH การสื่อสารเพื่อสร้างกระแสสังคม ชุมชน ครอบครัวได้รับการอบรมความรู้เรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ ผลลัพธ์ วัยรุ่นและเยาวชนมีพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม การตั้งครรภ์ซ้ำในแม่วัยรุ่นไม่เกินร้อยละ 10 การป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่นและเยาวชนลดลง ผลผลิต อำเภอผ่านเกณฑ์มาตรฐานอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์

อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ มี 5 องค์ประกอบ 1.ระดับอำเภอ 2. ระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3. ระดับครอบครัว/ชุมชน 4. ระดับสถานศึกษา 5. ระดับสถานบริการสาธารณสุข

แบบประเมิน มาตรฐานอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ อำเภอที่รับการประเมิน...............................................................จังหวัด.................................... มาตรฐานอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ ระดับคะแนน คะแนน หมายเหตุ องค์ประกอบ ตัวชี้วัด 1 2 3 4 5 ที่ได้ รวม 1. อำเภอ 1.1 คณะกรรมการ/คณะทำงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์   1.2 แผนและการดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ 1.3 .ฐานข้อมูลเรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ 1.4 การสื่อสารเพื่อสร้างกระแสสังคม 2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2.1 แผนและการดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ อบต./เทศบาล : ........................ 2.2 สนับสนุนทรัพยากรดำเนินงาน 2.3 ฐานข้อมูลเรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ 2.4 การสื่อสารเพื่อสร้างกระแสสังคม 3. ครอบครัว / ชุมชน จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องอนามัย คะแนนที่ได้คูณ 4 การเจริญพันธุ์สำหรับครอบครัว 4. สถานศึกษา กิจกรรมด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ โรงเรียน : ................................ 5. สถานบริการสาธารณสุข โรงพยาบาล :.............................

องค์ประกอบที่1. อำเภอ องค์ประกอบที่2 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อบต./เทศบาลตำบล ) องค์ประกอบที่3 ครอบครัว/ชุมชน 1. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องอนามัยการเจริญพันธุ์ 2.จำนวนครอบครัวที่เข้ารับอบรมความรู้เกี่ยวกับอนามัยการ เจริญพันธุ์

องค์ประกอบ 4. สถานศึกษา 1. กิจกรรมการเรียนรู้เรื่องเพศศึกษา 2 องค์ประกอบ 4. สถานศึกษา 1.กิจกรรมการเรียนรู้เรื่องเพศศึกษา 2.ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหา 4.ระบบส่งต่อไปยังสถานบริการสาธารณสุข องค์ประกอบที่5. สถานบริการสาธารณสุข มีการจัดตั้งคลินิกวัยรุ่น/มีบริการเชิงรุก/มีการประชาสัมพันธ์กลุ่มเป้าหมาย

(District Health Board : DHB) แนวคิดการบูรณาการการขับเคลื่อนงานร่วมกับ กลไกคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (District Health Board : DHB)

ที่มา:สไลด์นำเสนอเกี่ยวกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต(DHB:District Health Board) ของอ.นพ.ยงยศ ธรรมวุฒิและอ.นพ.สุวัฒน์ วิริยพงษ์สุกิ FB: DHB:District Health Board)

การบูรณาการกลไกคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (District Health Board : DHB) กับอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ การสนับสนุนให้พื้นที่มีการส่งเสริมและเสริมพลังในการจัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาและสนับสนุนให้ภาคีเครือข่ายในระดับพื้นที่ ท้องถิ่น และชุมชน มีแนวทางการทำงานร่วมกัน เกิดการบูรณาการการทำงาน โดยสามารถบูรณางานอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์กับกลไกการขับเคลื่อนการดำเนินงานคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (District Health Board : DHB) ที่มุ่งเน้นให้เกิดการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนโดยมีพื้นที่เป็นฐานและประชาชนเป็นศูนย์กลาง มีความเป็นเจ้าของและภาวะการนำร่วมกัน โดยบูรณาการเป้าหมาย ทิศทางและยุทธศาสตร์ร่วมกันระหว่างหน่วยงานของรัฐ ภาคเอกชน และประชาชนอย่างเป็นองค์รวม เพื่อให้มีรูปแบบการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาอย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (District Health Board : DHB) หลักการ “พื้นที่เป็นฐาน ประชาชนเป็นศูนย์กลาง” โดยมีจุดมุ่งเน้น อยู่ที่ประชาชนและสามารถตอบสนองต่อปัญหาของพื้นที่ที่มีความจำเพาะแตกต่าง และหลากหลาย DHB คือการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิตในระดับพื้นที่ที่อยู่ใกล้ชิดกับประชาชนเกิดการบูรณาการเป้าหมาย ทิศทางและยุทธศาสตร์ร่วมกันระหว่างหน่วยงานของรัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนอย่างเป็นองค์รวม เน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน โดยมีพื้นที่เป็นฐานและประชาชนเป็นศูนย์กลาง มีความเป็นเจ้าของและภาวะการนำร่วมกัน โดยบูรณาการและประสานความร่วมมือในการนำไปสู่การสร้างเสริมให้บุคคล ครอบครัว และชุมชน มีสุขภาวะทางกาย จิต และสังคมเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีและเกิดความยั่งยืน วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนและบูรณาการร่วมกันในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสุขภาพประชาชน 2.เพื่อจัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (District Health Board : DHB) 3.เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการระบบสุขภาพอำเภอที่เหมาะสมกับพื้นที่ 4.เพื่อให้มีการจัดการทรัพยากร ด้านบุคลากร เทคโนโลยี สารสนเทศ องค์ความรู้ และงบประมาณร่วมกัน องค์ประกอบ ทั่วไป (โดยตำแหน่ง 2 และการคัดเลือก 19) 1.ภาครัฐ (6) - ส่วนราชการ - ส่วนท้องถิ่น (อปท. กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน 2. เอกชน และผู้ประกอบวิชาชีพ (6) 3. ประชาสังคม (7) : ประธาน นายอำเภอ เลขานุการ สสอ. ที่มา:สไลด์นำเสนอเกี่ยวกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต(DHB:District Health Board) ของอ.นพ.ยงยศ ธรรมวุฒิและอ.นพ.สุวัฒน์ วิริยพงษ์สุกิ FB: DHB:District Health Board)

การขับเคลื่อนพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น

ยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับชาติ พ. ศ ยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับชาติ พ.ศ.2560-2569 พัฒนาระบบการศึกษาที่ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านเพศวิถีศึกษาและ ทักษะชีวิตที่มีคุณภาพ และมีระบบการดูแลช่วยเหลือที่เหมาะสม ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมบทบาทครอบครัว ชุมชน และสถานประกอบกิจการในการเลี้ยงดูสร้างสัมพันธภาพ และการสื่อสารด้านสุขภาวะทางเพศของวัยรุ่น ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบบริการสุขภาพทางเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ ที่มีคุณภาพและเป็นมิตร ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือ การคุ้มครองสิทธิอนามัยการเจริญพันธุ์ และการจัดสวัสดิการสังคมในกลุ่มวัยรุ่น ยุทธศาสตร์ที่ 4 ส่งเสริมการบูรณาการการจัดการฐานข้อมูล งานวิจัย และการจัดการความรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 5

Thankyou for your Attendtion