ทุนวิจัย กลุ่มเรื่องนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาพื้นที่ ปีงบประมาณ ๒๕๕๙

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
MRCF การเชื่อมโยงแนวทางการส่งเสริมการเกษตร
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
โครงการส่งเสริมการเกษตร ในรูปแบบแปลงใหญ่จังหวัดชัยภูมิ ปี 2558
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทย บริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัด.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวน ยุทธศาสตร์จังหวัด จังหวัดบึง กาฬ 1.
สร้างชุมชน เข้มแข็ง ด้วยเครื่องมือแผน ชุมชน นายอาจณรงค์ สัตยพานิช ผู้อำนวยการสำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
แนวทางการนำเสนอข้อมูลต่อ รวอ. ในวันที่ 2 พฤศจิกายน 2560
วัตถุประสงค์ กรอบแนวคิดการส่งเสริมการท่องเที่ยว ชุมชนคุณธรรมฯ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
กลุ่มที่ 7 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด นครราชสีมา.
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
(โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
นโยบายขับเคลื่อนงานวิจัย และจริยธรรมการวิจัย กรมอนามัย
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
สำนักวิชาสหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
โครงการ “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่)
ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทุนวิจัย กลุ่มเรื่องนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาพื้นที่ ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ การพัฒนาระบบการจัดการงานวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่ จังหวัดนนทบุรี สุพรรณบุรี และพระนครศรีอยุธยา หน่วยวิจัยนวัตกรรมเพื่อสังคมและชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ทุนวิจัย กลุ่มเรื่องนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาพื้นที่ ปีงบประมาณ ๒๕๕๙

ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในจังหวัดต่อหัวต่อหนึ่งปี ปี พ.ศ. 2557 มทร. จะมีบทบาทอย่างไร หลุดจากประเทศที่มีรายได้ปานกลาง ลดความเหลื่อมล้ำ ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติสำนักนายกรัฐมนตรี

.........เป็นกลไกหนึ่งเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่บนฐานความรู้ มทร. กับการพัฒนาเชิงพื้นที่.......พันธกิจมหาวิทยาลัยกับสังคม .........เป็นกลไกหนึ่งเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่บนฐานความรู้ มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ยกระดับคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม สร้างนวัตกรรมเพื่อการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ สร้างฐานข้อมูล ความรู้เพื่อพัฒนาเชิงพื้นที่ ศึกษาบริบทพื้นที่ ชุมชน ตำบล อำเภอ จังหวัด กลุ่มจังหวัด

กรอบแนวคิดสำหรับงานวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่ บริบทชุมชนและสังคม ว&ท  นวัตกรรม  ความเป็นผู้ประกอบการ ฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการและวางแผนพัฒนาพื้นที่ ฐานการผลิตในชุมชน การสร้างมูลค่าเพิ่มจากอัตลักษณ์ของชุมชน การเชื่อมโยงทางการตลาด การแลกเปลี่ยนเรียนรู้สังคมภายนอก ความมั่นคงอาชีพ

การยกระดับการทำงานวิจัย กระบวนการนวัตกรรม นวัตกรรม สร้างการเปลี่ยนแปลง บูรณาการความรู้ ปัญหา ความต้องการ ผู้เกี่ยวข้อง บริบท เงื่อนไข วิชาการ ภูมิปัญญา วัฒนธรรม ผลผลิตใหม่ กระบวนการใหม่ วิธีจัดการใหม่ การจัดการความรู้ การกำหนดเป้าหมายร่วมกับพื้นที่ จากข้อมูล ความรู้ที่ได้ดำเนินงานในระยะ 2 ปีที่ผ่านมา นักวิจัย นักจัดการงานวิจัย  ผู้นำการเปลี่ยนแปลง

การนำไปใช้ประโยชน์และยกระดับการวิจัย การลดต้นทุนการผลิต การผลิตให้ได้มาตรฐาน GAP นวัตกรรมการผลิตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต Smart Farmer วิเคราะห์ value chain อาหารสุขภาพ พัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีเอกลักษณ์ในชุมชน ยกระดับการแปรรูปผลผลิตที่ได้มาตรฐาน และความเป็นผู้ประกอบการ

สิ่งแวดล้อมชุมชน การจัดการน้ำตลอดคลองโพธิ์ การสร้างมูลค่าจากสารสำคัญ ยกระดับการผลิต การแปรรูป การเชื่อมโยงสู่การท่องเที่ยวในท้องถิ่น

การผลิตให้ได้มาตรฐาน GAP นวัตกรรมการผลิตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต Smart Farmer พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆที่มีเอกลักษณ์ในชุมชน ยกระดับการแปรรูปผลผลิตที่ได้มาตรฐาน และความเป็นผู้ประกอบการ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ พื้นที่ตั้ง ศูนย์หันตรา ศูนย์วาสุกี พระนครศรีอยุธยา ศูนย์สุพรรณบุรี ศูนย์นนทบุรี วิสัยทัศน์ “มหาวิทยาลัยชั้นนําด้านวิชาชีพและเทคโนโลยีเพื่อชุมชน สังคม ประเทศ และนานาชาติ”

เป้าหมายการพัฒนามหาวิทยาลัย Position การจัดการศึกษา นักวิชาชีพชั้นสูง ที่สร้างนวัตกรรม ในระบบ “บัณฑิตนักปฏิบัติ เป็นคนดี มีความรู้ รักสู้งาน” นอกระบบ เพิ่มทักษะแรงงาน สร้างผู้ประกอบการ Reprofile  Mega project / First & New S curve การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำและสิ่งแวดล้อม / เกษตรและอาหาร พันธกิจมหาวิทยาลัยกับสังคม เพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่

ระบบ กลไก งานวิจัยเพื่อพัฒนาเชิงพื้นที่ กำหนดประเด็น พื้นที่ วิเคราะห์บริบท และความต้องการร่วมกับภาคี ทุนวิจัย ประกาศ ประชาสัมพันธ์ Input บูรณาการสาขาวิชา กระบวนการมีส่วนร่วม การทำงานร่วมกับภาคี Process รายงานผล ติดตามประเมินผลเพื่อพัฒนา การนำไปใช้ประโยชน์ Output ประเมินประโยชน์และผลกระทบ Feedback หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ศูนย์พื้นที่/สวพ./คณะ/สาขาวิชา ภาคีเครือข่าย ผู้รับประโยชน์

การยกระดับการพัฒนาระบบ กลไก การจัดการงานวิจัย ยกระดับการทำงาน ABC / SeS / KM / CM วิเคราะห์ปัญหาและความต้องการ เป้าหมายเพื่อตอบโจทย์การพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด R&I RUS Province TumBon การขยายผลสู่ชุมชนอื่น

การพัฒนาระบบ กลไก การจัดการงานวิจัยเพื่อพัฒนาเชิงพื้นที่ บูรณาการกับงานบริการวิชาการ และการเรียนการสอน งานวิจัย แผนงานวิจัยบูรณาการเพื่อพัฒนาพื้นที่ พื้นที่ทำงาน คณะ 1 คณะ 2 คณะ 3 R&I Unit คณะ 4 - พัฒนาคน (นักวิจัยและผู้ประสานงาน) - พัฒนากลไกการบริหารจัดการ - พัฒนาเครื่องมือการทำงาน - พัฒนาชุดความรู้และข้อมูลเพื่อพัฒนาพื้นที่ สร้างภาคี เครือข่าย ฐานข้อมูลความรู้และการจัดการความรู้ กลุ่มวิจัย นักฝึกอบรม นักวิจัย นักพัฒนา

การยกระดับการทำงาน ด้วย Output /outcome ของงานในระยะ 2 ปี “ถ้ามีหน่วยวิจัยฯ แล้วงานวิชาการเพื่อสังคมในมหาวิทยาลัย จะมีเพิ่มขึ้นต่อเนื่องและ มหาวิทยาลัยจะเป็นที่ยอมรับของสังคม” ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง การอยู่รอด และเข้มแข็ง ของหน่วย วิจัยฯ จะต้องทำอย่างไร วางกลไกการทำงานร่วมกับคณะ และพัฒนาผู้ประสานงานในพื้นที่ พัฒนาระบบพี่เลี้ยง วิเคราะห์โจทย์ ชี้เป้าการพัฒนามหาวิทยาลัยฯให้สอดคล้องกับความต้องการของพื้นที่ ยกระดับการทำงาน จัดการความสัมพันธ์กับภาคีเครือข่าย ตลอดห่วงโซ่คุณค่า สร้างต้นแบบการพัฒนา ฐานข้อมูล ความรู้ ตอบความต้องการพัฒนาระดับจังหวัด กลุ่มจังหวัด

เป้าหมาย วัตถุประสงค์ และกิจกรรม ผลงานวิจัยเป็นประโยชน์ พัฒนาระบบ กลไก การจัดการ หน่วยวิจัยนวัตกรรมเพื่อสังคม พัฒนาผู้ประสานงานระดับคณะ พัฒนาเครื่องมือและกลไกการทำงาน แก้ไข กฏระเบียบ นโยบาย พัฒนานักวิจัย ทักษะการวิจัย และทัศนคติ ทักษะทำงานร่วมกับชุมชน และภาคี นักวิชาการเพื่อสังคมและผู้นำการเปลี่ยนแปลง พัฒนางานวิจัย นวัตกรรม พัฒนาเป้าหมายร่วมในพื้นที่ พัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรมเพื่อพัฒนาพื้นที่ สนับสนุนและร่วมทำงานกับเครือข่ายนักวิจัยท้องถิ่น ฐานข้อมูล ความรู้เพื่อการพัฒนาระดับจังหวัด

เป้าหมายและตัวชี้วัด วัตถุประสงค์ ผลผลิต ผลลัพธ์ พัฒนาระบบการจัดการงานวิจัย -หน่วยวิจัยนวัตกรรมเพื่อชุมชนและสังคม 1 หน่วยงาน -ระบบการจัดการที่เป็นนวัตกรรม -มีระบบบริหารจัดการงานวิจัยเป็นที่ยอมรับทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย -เป็นแหล่งข้อมูลและความรู้ นวัตกรรม เพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ พัฒนาผู้จัดการงานวิจัย -บรรยากาศทางวิชาการในคณะ -มีการทำงานร่วมกันภายใน ภายนอกมหาวิทยาลัยฯ -ระบบมีความเข้มแข็ง ทำงานได้ต่อเนื่อง

เป้าหมายและตัวชี้วัด วัตถุประสงค์ ผลผลิต ผลลัพธ์ พัฒนานักวิจัย -นักวิจัยใหม่เพิ่มขึ้น 20 คน -นักวิจัยทำงานวิจัยเชิงพื้นที่ต่อเนื่องและมีผลงานวิชาการรับใช้สังคม -สร้างการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ พัฒนางานวิจัย -แผนงานวิจัยเพื่อพัฒนาเชิงพื้นที่ 4 แผนงาน -โครงการวิจัย 30 โครงการ - ร้อยละ 50 ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ ผลงานวิจัยถูกนำไปใช้ประโยชน์และเกิดการเปลี่ยนแปลง

ขอบคุณครับ สวัสดี