กระบวนการและขั้นตอนในการกำหนดนโยบาย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโครงร่างวิจัย
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
บทที่ 6 การจัดการองค์การ.
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
บทที่ 1 ความหมายและแนวคิดของการวิจัยการตลาด
LOGO แนวคิดเกี่ยวกับระบบ สารสนเทศ นางสาวกนกรัตน์ นพ โสภณ SMET
“ การประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ของพนักงานส่วน ท้องถิ่น ” ในระบบจำแนก ตำแหน่งเป็นประเภท ตามลักษณะงาน จัดทำโดย ฝ่ายส่งเสริมและ พัฒนาบุคลากร กองการเจ้าหน้าที่
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
โดย อาจารย์เสาวณีย์ พุ่มท้วม
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บทที่ 5 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
SMS News Distribute Service
การโฆษณา การประชาสัมพันธ์
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Supply Chain Management
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
โดย นายธนารัฐ สายเทพ กลุ่มงานวางแผนฯ กองการเจ้าหน้าที่ นอ
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
Supply Chain Logistics
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
เอกสารประกอบการบรรยาย การประชุมเชิงปฎิบัติการ การจัดทำแผนฯ
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กระบวนการและขั้นตอนในการกำหนดนโยบาย โดย ดร.เตือนใจ ดลประสิทธิ์

กระบวนการและขั้นตอนในการกำหนดนโยบาย นโยบายที่กำหนดขึ้นในสังคมหรือในองค์การใดๆนั้น เพื่อเป็นแนวคิดในการดำเนินงานเพื่อสนองความต้องการ หรือความประสงค์ของบุคคลในองค์การนั้น ลักษณะของนโยบายจะสอดคล้องกับความเชื่อ และลัทธิการปกครองของ องค์การนั้นๆ

กระบวนการและขั้นตอนในการกำหนดนโยบาย องค์การที่มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย นโยบายที่ กำหนดขึ้นมักจะได้ข้อมูล และมีการกลั่นกรองข้อมูลจากบุคคล หลายฝ่าย นโยบายที่เกิดขึ้นก็มักจะสนองความต้องการของบุคลส่วน ใหญ่ในองค์การ

กระบวนการและขั้นตอนในการกำหนดนโยบาย ในทางตรงข้ามกัน องค์การที่มีลัทธิการปกครองแบบอัตตาธิปไตย นโยบายที่ กำหนดมักจะทำขึ้นเพื่อสนองความต้องการของบุคคลบางกลุ่มเท่านั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือกลุ่มชนชั้นปกครอง

แนวคิดของกระบวนการในการกำหนดนโยบาย โดยปกติการกำหนดนโยบายเป็นหน้าที่ของผู้บริหารระดับสูง เช่น คณะกรรมการบริหารหน่วยงาน พรรคการเมือง ซึ่งทำหน้าที่เป็นรัฐบาล การนำนโยบายไปปฏิบัติ เป็นหน้าที่ของผู้บริหารอีกระดับหนึ่งที่ต่ำกว่า หรือ เป็นข้าราชการประจำ ถ้าเป็นนโยบายรัฐบาล

การกำหนดนโยบายที่ดีและถูกต้อง จะต้องเป็นการกระทำร่วมกันทั้งผู้บริหารระดับสูง และผู้นำนโยบายไปปฏิบัติ

การกำหนดนโยบาย เป็นกระบวนการ ของแนวคิดที่มีรากฐาน จากความ เชื่อในทฤษฎีทางสังคมศาสตร์ 2 ประเภทคือ ทฤษฎีทางการบริหาร ทฤษฎีการปกครองของในระบอบประชาธิปไตย

1. ทฤษฏีทางการบริหาร มีแนวคิดและความเชื่อว่า นโยบายจะต้องเกิดจากผู้บริหารระดับสูง และกระจายนโยบายไปยัง หน่วยงานต่างๆในระดับต่ำลงไป หน่วยงานระดับกลางจะเป็นผู้ประสานนโยบาย นโยบายลักษณะนี้จะเน้นวัตถุประสงค์ และแนวทางในการปฏิบัติเป็นสำคัญ เป็นแนวคิดการกำหนดนโยบายแบบดั้งเดิมที่เชื่อว่านโยบายเป็นภารกิจของ ผู้บริหารเท่านั้น

2. ทฤษฎีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย มีแนวคิดและความเชื่อว่า นโยบายจะต้องเกิดจากบุคคลทุกระดับชั้นในหน่วยงานหรือองค์การ ทุกคนหรือทุกกลุ่มบุคคลมีอำนาจในการต่อรองเพื่อผลประโยชน์ของ ตน ไม่จำเป็นต้องมีหน่วยกลางทำหน้าที่ผู้ประสานงาน เป็นนโยบายเน้นอำนาจต่อรองและผลประโยชน์ของกลุ่ม

เอทซิโอนี (Amiti Etzioni) นักสังคมวิทยาชาวเยอรมัน ได้ผสมผสานความเชื่อและ แนวคิดทั้งสองทฤษฎีเข้าด้วยกัน เป็นวิธีที่เหมาะสม คือให้มีหน่วยงานกลางทำหน้าที่ประสานนโยบาย มีการส่งเสริมให้ทุกหน่วยงานมีส่วนร่วมในการกำหนด นโยบาย และต่อรองผลประโยชน์ เพื่อหน่วยงานของตนเอง

ขั้นตอนการกำหนดนโยบาย แลสส์เวลล์ (Harold D.Lasswell) จำแนกกระบวนการในการกำหนดนโยบาย ออกเป็น 7 ขั้นตอน 1. ขั้นตอนการค้นหาและรวบรวมข้อมูล 2. ขั้นตอนการรับรองและสนับสนุนการกำหนดนโยบาย 3. ขั้นตอนการดำเนินงานการกำหนดนโยบาย 4. ขั้นตอนการกำหนดนโยบายให้สอดคล้องกับสิ่งแวดล้อม 5. ขั้นตอนการนำเอานโยบายไปประยุกต์ปฏิบัติ 6. ขั้นตอนการประเมินผลของนโยบาย 7. ขั้นตอนการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงนโยบาย

ขั้นตอนการกำหนดนโยบาย ดรอร์ (Yehehel Dror) จำแนกนโยบายออกเป็น 5 ขั้นตอน 1. ขั้นตอนการศึกษาปัญหา 2. ขั้นตอนการกำหนดคุณค่า และความสำคัญของเป้าหมายในการกำหนดนโยบาย 3. ขั้นตอนการแสวงหาทางเลือก เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ต้องการ 4. ขั้นตอนการเปรียบเทียบข้อดีและข้อเสียของแต่ละทางเลือก 5. ขั้นตอนการตัดสินใจเลือกหนทางที่ดีที่สุดเพื่อปฏิบัติงาน

ขั้นตอนการกำหนดนโยบาย บอยเยอร์(William W.Boyer) ได้เสนอขั้นตอนดังนี้ 1. ขั้นตอนเสนอความคิดริเริ่ม 2. ขั้นตอนการยกกร่างนโยบายขั้นต้น 3. ขั้นตอนการเข้ามามีส่วนร่วมของสาธารณชน 4. ขั้นตอนการยกร่างนโยบายขั้นสุดท้าย 5. ขั้นตอนการประเมินผลทบทวนนโยบาย

ขั้นตอนการกำหนดนโยบาย ดลูไฮ(Milan J.Dluhy) และ ลินด์ (Roger R.Lind) จำแนกกระบวนการในการ กำหนดนโยบายออกเป็น 4 ขั้นตอน 1. ขั้นตอนการวิจัย และ การวิเคราะห์นโยบาย 2. ขั้นตอนการพัฒนา และการกำหนดโครงสร้างนโยบาย 3. ขั้นตอนการเสนอใช้และการนำนโยบายไปปฏิบัติ 4. ขั้นตอนการประมาณการและการประเมินผลนโยบาย

ขั้นตอนการกำหนดนโยบาย ดลูไฮ(Milan J.Dluhy) และ ลินด์ (Roger R.Lind) จำแนกกระบวนการในการ กำหนดนโยบายออกเป็น 4 ขั้นตอน 1. ขั้นตอนการวิจัย และ การวิเคราะห์นโยบาย (Policy Research and Analysis) การกำหนดนโยบายไม่ว่าจะเป็นการกำหนดโดยบุคคล กลุ่มบุคคล หรือโดย คณะรัฐบาล ย่อมต้องอาศัย ข้อมูล (Data) เอกสาร (Documents) ข่าวสาร (Information) *เพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความถูกต้องน่าเชื่อถือ

การวิเคราะห์นโยบาย มีจุดมุ่งหมาย 2 ประการ คือ 1. เพื่อเสนอทางเลือกในการตัดสินใจ 2. เพื่อเป็นการค้นหาทางเลือกที่ดีที่สุด หรือปรับปรุงทางเลือกบางแนวทาง สำหรับใช้กำหนดนโยบาย

การวิเคราะห์นโยบาย ดรอร์ (Yehehel Dror) ได้เสนอแนวคิด 4 ประการ ในการวิเคราะห์วิจัยนโยบาย คือ 1. การสำรวจค่านิยม(value exploration) ของบุคคล/กลุ่มบุคคล 2. การกำหนดสมมุติฐานในเชิงปฏิบัติ (operational code assumption) หมายถึง การ คาดการณ์ล่วงหน้าถึงพฤติกรรมของบุคคลหรือกลุ่มบุคคลในสังคม 3. ความเป็นไปได้ทางการเมือง(political feasibility) หมายถึง อำนาจหรือ อิทธิพล ทาง การเมืองที่จะช่วยให้นโยบายได้รับการยอมรับ 4. ขอบข่ายการวิเคราะห์นโยบาย (political analysis network)

ขั้นตอนการกำหนดนโยบาย 2. ขั้นตอนการพัฒนาและกำหนดโครงสร้างนโยบาย (Policy Development and Structuring) ประกอบด้วย การได้รับสนับสนุนจากบุคคล และสภาพแวดล้อมต่างๆ ปัญหาและอุปสรรคต่างๆที่เกิดขึ้น และเป็นเครื่องกีดขวางความคิดริเริ่มต่างๆ

ขั้นตอนการพัฒนาและกำหนดโครงสร้างนโยบาย อมร รักษาสัตย์ ได้ชี้ให้เห็นว่าสิ่งที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาและจัดโครงสร้าง ของนโยบาย ได้แก่ 1.หลักวิชา หมายถึงความรู้ที่จะนำมาจัดทำ และพัฒนานโยบาย เช่น วิชานโยบาย ศาสตร์(Policy Science) สนเทศน์ศาสตร์(Information Science) ความรู้เกี่ยวกับเครื่องคำนวณกล สังคมศาสตร์ พฤติกรรมศาสตร์

ขั้นตอนการพัฒนาและกำหนดโครงสร้างนโยบาย 2.เทคนิคปฏิบัติ คือความรู้ ความสามารถ และความชำนาญที่จะต้องนำมาเพื่อใช้ในการ วิเคราะห์นโยบาย เช่น การวิเคราะห์ระบบ การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ วิธีการทางสถิติ การวิจัยต่างๆ

ขั้นตอนการพัฒนาและกำหนดโครงสร้างนโยบาย 3.อุปกรณ์ ได้แก่ เครื่องมือ เครื่องใช้ ต่างๆ ในการติดต่อสื่อสาร และเครื่องคำนวณ สมองกล 4. สถาบันและองค์กร ที่ทำหน้าที่ในการกำหนดและพัฒนานโยบายโดยเฉพาะ เช่น สำนักนโยบายและแผน กองวางแผนอื่นๆ

ขั้นตอนการพัฒนาและกำหนดโครงสร้างนโยบาย 5. บุคคลและกลุ่มบุคคล หมายถึง เจ้าหน้าที่หรือผู้ที่มีความรู้ ความสามารถให้การ กำหนด วิเคราะห์และพัฒนานโยบาย ได้แก่ นักการเมือง ข้าราชการ นักวิชาการ ประชาชน ฯลฯ

ขั้นตอนการพัฒนาและกำหนดโครงสร้างนโยบาย 6. ความมุ่งมั่นของผู้บริหารระดับสูง หมายถึง ความตั้งใจจริงของผู้บริหารระดับสูง ทั้งที่เป็นข้าราชการและนักการเมือง ที่จะยินยอมให้มีนโยบายในการปฏิบัติงายโดย มุ่งหวังผลประโยชน์ของบุคคลส่วนใหญ่ เป็นสำคัญ

ขั้นตอนการพัฒนาและกำหนดโครงสร้างนโยบาย การพัฒนาและการจัดโครงสร้างของนโยบายมีหลายขั้นตอน ได้แก่ การสร้างสถานการณ์เพื่อทำให้เกิดนโยบาย เช่น นโยบายการสร้างลูกเสือชาวบ้าน การริเริ่มนโยบาย การก่อรูปของนโยบาย การวิเคราะห์นโยบาย การกำหนดทางเลือกนโยบาย ทางออกของนโยบาย การกำหนดนโยบาย ผลของนโยบาย เป็นกระบวนการสุดท้ายซึ่งจะออกมาในรูปของระเบียบ ข้อบังคับ กฎหมาย การจัดทรัพยากรต่างๆ

ขั้นตอนการกำหนดนโยบาย 3. ขั้นตอนการเสนอใช้และการนำนโยบายไปปฏิบัติ(Policy Purveyance and Implementation) “ เป็นกระบวนการผสมผสาน แนวคิดต่างๆให้สอดคล้องกับทรัพยากร และ ความสามารถของบุคคล ที่มีส่วนร่วมเกี่ยวกับการใช้นโยบายนั้น แล้วพยายามควบคุม ปริมาน ปรับปรุงและเสริมแต่งให้นโยบายที่นำไปปฏิบัติบรรลุถึงเป้าหมายที่ต้องการ โดยให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีความพึงพอใจ”

ขั้นตอนการกำหนดนโยบาย 4. ขั้นตอนการประมาณการและการประเมินผลนโยบาย(Policy Assessment and Evaluation) หมายถึง กระบวนการในการตรวจสอบผลของนโยบาย มีการประเมิน 3วิธี คือ การวิเคราะห์ราคาและคุณค่า การวิเคราะห์ระบบ การวิเคราะห์งบประมาณ

การประมาณการและการประเมินผลนโยบาย การวิเคราะห์ราคาและคุณค่า เป็นการวิเคราะห์ว่าการลงทุนกับผลประโยชน์มีความ สมดุลกันหรือไม่ เพื่อหาประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานมี 4 ลักษณะ ประสิทธิภาพบริสุทธิ์ ลงทุนน้อยได้ประโยชน์มากที่สุด ประสิทธิภาพผสม เกิดจากความพายามที่จะบรรลุเป้าหมายเท่าที่ทรัพยากรมีอยู่ ประสิทธิภาพจำกัด เป็นแบบบริสุทธิ์ และผสม ประสิทธิภาพรวม ใช้ทรัพยากรกับจุดมุ่งหมายมีความสอดคล้องกัน

การประมาณการและการประเมินผลนโยบาย การวิเคราะห์ระบบ เป็นการวิเคราะห์ขอบข่ายปฏิสัมพันธ์ระหว่าง 3 ส่วน ของ ระบบคือ สิ่งนำเข้า(Input) กระบวนการ(Process) ผลผลิต(Output) การวิเคราะห์ระบบจะมีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับความรู้ ความสามารถ ของผู้วิเคราะห์ระบบ

การประมาณการและการประเมินผลนโยบาย การวิเคราะห์งบประมาณ เป็นกระบวนการในการตัดสินใจจัดสรรงบประมาณให้กับการ ปฏิบัติงานโดยเน้นผลงานหรือความสำเร็จตามวัตถุประสงค์เป็นสำคัญ มีขั้นตอนดังนี้ การเก็บรวบรวมข้อมูล จัดทำรายการ จัดทำประมาณการ จัดสรุปผลโครงการ วิเคราะห์ความคุ้มค่า วิเคราะห์โครงสร้างของโครงการ การประสานงานและควบคุมโครงการ การจัดทำงบประมาณโดยเริ่มจากฐานเป็นศูนย์

การสื่อความและการเผยแพร่นโยบาย มี 2 วิธี คือ การเผยแพร่ด้วยวาจา การเผยแพร่ด้วยลายลักษณ์อักษร การเผยแพร่ทั้ง 2 ทางจะสนับสนุนซึ่งกันและกัน การ เผยแพร่ ด้วยลายลักษณ์อักษรเป็นเอกสารที่ถูกต้องตาม กฎหมาย

ท่านมีความเข้าใจ กับสิ่งต่อไปนี้อย่างไร การวิเคราะห์ราคาและคุณค่า การวิเคราะห์ระบบ การวิเคราะห์งบประมาณ ประสิทธิภาพ ระบบ