ของศูนย์ข้อมูลกลางกระทรวงมหาดไทยและจังหวัด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมขึ้นทะเบียนเกษตรกร ผู้ปลูกข้าวนาปี ปี 2557/58
Advertisements

การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
งานบุคลากร กลุ่มพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศการพัฒนาปศุสัตว์
การติดตามประเมินผล และรายงาน.
ระบบบริหารงานบุคคล.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
ความคืบหน้า การจัดทำฐานข้อมูลด้าน ความมั่นคง ระเบียบวาระ ที่ ๓. ๑.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
หนังสือ เข้า 1. หน่วยสาร บรรณ หรือ งานธุรการ ระบบสารบรรณกระดาษ - บันทึกรายละเอียดผ่านระบบ - สแกนเอกสารลงระบบ ( กรณีเร่งด่วน ) 2. หน่วยงาน ภายใน - ลงทะเบียนรับผ่านระบบ.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
การลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ความต้องการของระบบ GPP (System Requirement Specification : SRS)
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณ
การบริหารจัดการเว็บไซต์หน่วยงานในสังกัดกรมปศุสัตว์
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
กลุ่มเกษตรกร.
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
กรอบรายการตรวจรับ อุปกรณ์ Firewall สำหรับจังหวัด
SMS News Distribute Service
ข้อมูลการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก (PMTCT)
การประชุมเพื่อหารือเกี่ยวกับโครงการยกเลิกสำเนา
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
จังหวัดสมุทรปราการ.
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ของศูนย์ข้อมูลกลางกระทรวงมหาดไทยและจังหวัด มาตรฐานข้อมูล ของศูนย์ข้อมูลกลางกระทรวงมหาดไทยและจังหวัด โดย นางบุษราคัม หวังศิริจิตร นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ๘ วช. ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

ที่มาของโครงการ

ศูนย์ปฏิบัติการกระทรวงมหาดไทย MOI Operation Center เริ่มพัฒนาปี 2546

ศูนย์ข้อมูลกลาง (Information Center) ทำหน้าที่รวบรวมรายละเอียดข้อมูลในประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานในหน้าที่ขององค์กร นำข้อมูลที่รวบรวมมาจัดเก็บเข้าระบบฐานข้อมูล

Information Island สำนักงานปลัด กรมการปกครอง รัฐวิสาหกิจในสังกัด กรมในสังกัด 75 จังหวัด

ศูนย์ข้อมูลกลางสำนักงานปลัดฯ (Information Center) สถาบันดำรงราชานุภาพ สำนักพัฒนาและส่งเสริม การบริหารราชการจังหวัด กองคลัง ศูนย์ข้อมูลกลางฯ (สนผ. ศสส.) ศูนย์ต่อสู้ความยากจน หน่วยงานในสังกัด

ศูนย์ข้อมูลกลางจังหวัด (Information Center) คลังจังหวัด ตำรวจภูธรจังหวัด ศูนย์ข้อมูลกลาง จังหวัด พัฒนาชุมชนจังหวัด สาธารณสุขจังหวัด เกษตรฯ จังหวัด

ศูนย์ปฏิบัติการ (Operation Center) คัดเลือกข้อมูลจาก Information Center สรุปเฉพาะประเด็นสำคัญสำหรับผู้บริหาร (Executive Summary Report : ESR) ให้เห็นเป็นภาพรวม ในลักษณะของแผนภูมิ รูปภาพ ตาราง เพื่อใช้ประกอบการวางแผนและตัดสินใจ (Planning & Decision Making)

ศูนย์ปฏิบัติการกระทรวงมหาดไทย (Ministry Operation Center : MOC) ข้อมูลสรุป ศูนย์ปฏิบัติการ กระทรวงมหาดไทย (MOC) สำนักงานปลัด กรมการปกครอง ศูนย์ข้อมูลกลางกระทรวงฯ (Information Center) รัฐวิสาหกิจในสังกัด กรมในสังกัด 75 จังหวัด

ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัด (Provincial Operation Center : POC) ข้อมูลสรุป ศูนย์ปฏิบัติการ จังหวัด ศูนย์ข้อมูลกลางจังหวัด

การพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการจังหวัด

บทบาทศูนย์ปฏิบัติการ จัดทำข้อมูล ผู้บริหาร ศูนย์ปฏิบัติการนายกรัฐมนตรี (PMOC) นายกรัฐมนตรี ศูนย์ปฏิบัติการกระทรวง (MOC) รัฐมนตรีว่าการฯ, ปลัด,รองปลัด ศูนย์ปฏิบัติการกรม (DOC) อธิบดี/รอง

ข้อมูลของศูนย์ปฏิบัติการ ข้อมูลที่จำเป็นและสำคัญ มีการบริหารข้อมูลให้เป็นระบบ ข้อมูลมีความถูกต้อง เพียงพอ และทันสมัย มีมาตรฐานในการจัดเก็บ วิเคราะห์ ประมวลผล และนำเสนออย่างเป็นระบบ

ข้อมูลของศูนย์ปฏิบัติการ(ต่อ) มีระบบรักษาความปลอดภัยข้อมูล มีการบริหารข้อมูลให้เป็นระบบ มีการวิเคราะห์กลั่นกรองข้อมูลส่งให้ศูนย์ปฏิบัติการนายกรัฐมนตรี

การตั้งศูนย์ปฏิบัติการจังหวัด (POC) กระทรวงมหาดไทย มีหนังสือที่ มท 0210.3/ว 1927 ลงวันที่ 10 มิ.ย.46 ส่งแนวทางการดำเนินงานจัดทำข้อมูลศูนย์ปฏิบัติการจังหวัด

รายการข้อมูล มาจาก “คู่มือ การบริหารราชการจังหวัดแบบบูรณาการ ” “ชุดที่ ๒ การพัฒนาระบบฐานข้อมูลจังหวัด”

การตั้งศูนย์ปฏิบัติการจังหวัด (POC) จัดทำ Web Page ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดในระบบ Intranet กำหนดข้อมูลที่จังหวัดควรจะจัดเก็บ 45 ฐานข้อมูล ตัวชี้วัดการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (33 ตัวชี้วัด) เชื่อมโยงข้อมูลภายในจังหวัดและส่งผ่านข้อมูลมายัง (MOC) และ (PMOC)

การจัดทำเว็บไซต์จังหวัด สำหรับการเผยแพร่ข้อมูลของแต่ละจังหวัด ให้ประชาชนสามารถเรียกดูข้อมูลได้โดยผ่านทาง อินเตอร์เน็ต (Internet) http://www.ชื่อจังหวัดภาษาอังกฤษ.go.th

การสนับสนุนการพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศของจังหวัด 1. โครงการพัฒนาศูนย์ข้อมูลกลางกระทรวงมหาดไทยและจังหวัด ปีงบประมาณ 2547 วงเงิน 69 ล้านบาท ดำเนินการที่ส่วนกลาง และจังหวัดนำร่อง 6 จังหวัด ปีงบประมาณ 2548 ได้รับงบประมาณ 121.5 ล้านบาท ดำเนินการใน 30 จังหวัด รวมเป็น 36 จังหวัด ปีงบประมาณ 2549 ได้รับงบประมาณ 141 ล้านบาท เพื่อดำเนินการ ใน 39 จังหวัดที่เหลือ รวมเป็น 75 จังหวัด

การสนับสนุนการพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศของจังหวัด 2.โครงการพัฒนาระบบข้อมูลเพื่อสนับสนุนศูนย์ปฏิบัติการ กระทรวงมหาดไทย ปีงบประมาณ 2547 วงเงิน 2 ล้านบาท พัฒนาระบบข้อมูลที่เป็น ประโยชน์ต่อผู้บริหารของกระทรวงมหาดไทยและสามารถส่งผ่าน ข้อมูลที่จำเป็นและสำคัญต่อการบริหารประเทศไปยังศูนย์ปฏิบัติการ นายกรัฐมนตรี (PMOC)

การสนับสนุนการพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศของจังหวัด ตามโครงการมีการประมวลผลสรุปข้อมูล 45 ฐานข้อมูล และข้อมูล 33 ตัวชี้วัดในภาพ รวมประเทศ จึงให้ที่ปรึกษาพัฒนาระบบฐานข้อมูล 45 ฐานและข้อมูล 33 ตัวชี้วัด สำหรับ ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัด (POC) โดยใช้ระบบโปรแกรมที่ไม่ต้องเสียค่าลิขสิทธิ์(Free ware) เพื่อให้จังหวัดใช้แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างฐานข้อมูลของศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดกับฐานข้อมูล ของศูนย์ปฏิบัติการกระทรวงให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน และให้จังหวัดที่ไม่ได้พัฒนาระบบเอง หรือไม่ได้จ้างที่ปรึกษาพัฒนาระบบนำไปใช้งาน ก่อนที่โครงการพัฒนาศูนย์ข้อมูลกลาง กระทรวงมหาดไทยและจังหวัดจะดำเนินการครบทั้ง 75 จังหวัด ในปีงบประมาณ 2549 โดยมีรายการของข้อมูลตรงตามมาตรฐาน ที่โครงการพัฒนาศูนย์ข้อมูลกลางกระทรวง มหาดไทยและจังหวัดกำหนด

มาตรฐานของข้อมูล 45 ฐานข้อมูล และข้อมูล 33 ตัวชี้วัด ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ได้จัดให้มีการการประชุมสัมมนาระดมความคิดเห็น เพื่อกำหนดรายการข้อมูลที่เป็น มาตรฐาน โดยพิจารณาแหล่งที่มาของข้อมูล และรอบเวลาในการจัดเก็บข้อมูลแต่ละตัว ตามโครงการพัฒนาศูนย์ข้อมูลกลางกระทรวงมหาดไทยและจังหวัด ระยะที่ 2 เมื่อวันที่ 16-17 พฤษภาคม 2548 ผู้เข้าร่วมสัมมนาประกอบด้วย ผู้แทนจากสำนักงานจังหวัด 36 จังหวัด (6 จังหวัด ในปี 2547 และ 30 จังหวัด ในระยะที่ 2 ใน ปี 2548 ) หน่วยงานที่เป็นเจ้าของข้อมูล ได้แก่ผู้แทนจากกระทรวงกรมต่างๆ ในส่วนกลาง

ปัญหาและอุปสรรคในด้านการจัดการข้อมูล ของโครงการระยะที่ 1 และ 2 มีปัญหาอุปสรรคที่สำคัญ คือ 1. ข้อมูลที่จัดเก็บได้ไม่สามารถนำเข้าสู่ระบบฐานข้อมูลกลางของระบบได้ 2. ระบบฐานข้อมูลของแต่ละจังหวัดไม่เป็นระบบมาตรฐานเดียวกัน 3. ความเข้าใจคำจำกัดความหรือขอบเขตของข้อมูลที่จัดเก็บไม่ตรงกัน

มาตรฐานของข้อมูล 45 ฐานข้อมูล และข้อมูล 33 ตัวชี้วัด โครงการครุภัณฑ์สำหรับพัฒนาศูนย์ข้อมูลกลาง กระทรวงมหาดไทยและจังหวัด พร้อมติดตั้ง ระยะที่ 3 ก่อนการจัดเก็บนำเข้าข้อมูลมีการทบทวนมาตรฐานของข้อมูล โดย 1. การประชุมชี้แจงโครงการฯและการปรึกษาหารือด้านข้อมูล (Road Show ) ทุกจังหวัดที่อยู่ในโครงการ ระยะนี้ (39 จังหวัด) ประกอบด้วย สำนักงานจังหวัดและ หน่วยงานเจ้าของข้อมูลในจังหวัด 2. แต่งตั้งผู้แทนจากจังหวัดเป็นคณะทำงานเพิ่มเติม เพื่อให้ความคิดเห็นเสนอแนะ เกี่ยวกับข้อมูลที่มีอยู่จริงในจังหวัด

มาตรฐานของข้อมูล 45 ฐานข้อมูล และข้อมูล 33 ตัวชี้วัด หัวข้อการประชุมชี้แจง 1. ความเป็นมาของโครงการพัฒนาศูนย์ข้อมูลกลางกระทรวงมหาดไทยและจังหวัด 2. รายละเอียดเครื่องคอมพิวเตอร์ – อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องและระบบงานที่ติดตั้งจังหวัด 3. สรุปปัญหาและรายการที่ขอรับการสนับสนุนความร่วมมือจากจังหวัด 4. รายละเอียดรายการข้อมูล 45 กลุ่มเรื่อง และ 32 ตัวชี้วัด 5. สำรวจความต้องการรายงานสำหรับผู้บริหารระดับสูง 11 ด้าน 6. สอบถามปัญหา

วัตถุประสงค์ของโครงการฯ เพื่อจัดตั้งศูนย์ข้อมูลกลางกระทรวงมหาดไทย และจังหวัด จัดทำระบบมาตรฐานของข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลของกระทรวงมหาดไทยให้ เป็นรูปแบบมาตรฐาน จัดทำระบบการแลกเปลี่ยนข้อมูล นำเสนอข้อมูลแก่ นายกรัฐมนตรี ผู้บริหารของกระทรวงมหาดไทย/จังหวัดและให้บริการประชาชน บูรณาการข้อมูลจากฐานข้อมูลของส่วนราชการ จัดรูปแบบและแปลงข้อมูลให้อยู่ในมาตรฐานเดียวกันกับศูนย์ข้อมูลระดับชาติ และระดับกระทรวงต่างๆ

ขอบเขตการดำเนินงาน จัดหาระบบเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พร้อม ซอฟต์แวร์ จัดทำฐานข้อมูลกลางกระทรวงมหาดไทยและจังหวัด และพัฒนาหน้า Web ของจังหวัด จัดเก็บรวบรวมรายการข้อมูลตามกรอบโครงสร้างที่กำหนด จัดทำระบบข้อมูลสารสนเทศ สำหรับผู้บริหารของกระทรวงมหาดไทยและจังหวัด

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ภาครัฐ ผู้บริหาร นักวางแผนภาครัฐ เช่น อบต. อำเภอ จังหวัด กระทรวงฯ และ รัฐบาล มีข้อมูลที่ทันสมัยถูกต้องสมบูรณ์ครบถ้วน เพื่อใช้ในการตัดสินใจในการกำหนดนโยบาย วางแผนและบริหารงานในกิจกรรมต่างๆ ภาคเอกชน มีข้อมูลในการประกอบการตัดสินใจลงทุนในธุรกิจที่สนใจและกิจกรรมอื่นๆ ประชาชน เข้าถึงแหล่งข้อมูลได้สะดวกรวดเร็วและประหยัด สามารถนำข้อมูลไปวางแผนประกอบทางเลือกในการดำเนินชีวิตของตนเอง

การพัฒนาศูนย์ข้อมูลกลางฯ VS ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัด (POC) ประกอบด้วยฐานข้อมูล 3 ส่วนเหมือนกัน แต่รายการข้อมูลของศูนย์ข้อมูล กลางฯ มีมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศ แต่ POC แต่ละจังหวัดแตกต่างกัน ข้อมูลของศูนย์ข้อมูลกลางฯ สามารถสรุปเป็นภาพรวมของประเทศได้ มีผู้รับผิดชอบทางส่วนกลางดูแลร่วมด้วย ระดับของข้อมูลสามารถบันทึกได้ตามที่จังหวัดมีอยู่จริง

การพัฒนาการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูลของ มท.และจังหวัด ปี 33 ตัวชี้วัด สศช. ระบบฐานข้อมูลจังหวัด 45 กลุ่มเรื่อง มท.ดำเนินการ /เชื่อมโยง ตัวชี้วัด กพร. 2547 PMOC - MOC - POC เชื่อมโยงได้ 16 ตัวชี้วัด 1. PMOC - MOC – POC 2. โครงการระยะที่ 1 มท. และ6จังหวัด ไม่มี 2548 เชื่อมโยงได้ 32 ตัวชี้วัด 1.PMOC - MOC – POC 2.แลกเปลี่ยนข้อมูลได้ 6 จังหวัด 3.โครงการระยะที่ 2 30 จังหวัด 2549 2.แลกเปลี่ยนข้อมูลได้ 75 จังหวัด 3.ตรวจสอบการupdate ข้อมูล หยุดวัดผลเพราะบรรลุเป้าหมายแล้ว 2.แลกเปลี่ยนข้อมูลได้ 36 จังหวัด 3.โครงการระยะที่ 3 39 จังหวัด POC 36 จังหวัดแลกเปลี่ยนข้อมูลได้ครบ 45 กลุ่มเรื่อง

การพัฒนาการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูลของ มท.และจังหวัด ปี 33 ตัวชี้วัด สศช. ระบบฐานข้อมูลจังหวัด 45 กลุ่มเรื่อง มท.ดำเนินการ /เชื่อมโยง ตัวชี้วัด กพร. 2550 1.PMOC - MOC – POC 2.แลกเปลี่ยนข้อมูลได้ 75 จังหวัด 3.ตรวจสอบการupdate ข้อมูล หยุดวัดผลเพราะบรรลุเป้าหมายแล้ว ระดับการใช้ประโยชน์ของระบบฐานข้อมูลที่มีในศูนย์ปฏิบัติการกระทรวงมหาดไทย เพื่อใช้ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 2551 3.ตรวจสอบการ update ข้อมูล วัดผลการเผยแพร่ข้อมูลโดยจัดทำเป็นสถิติสำคัญกระทรวงรายไตมาส รายปี ให้ประชาชนใช้ประโยชน์ 2.ตรวจสอบการupdate ข้อมูล วัดผลการเผยแพร่ข้อมูลโดยจัดทำเป็นสถิติสำคัญกระทรวงรายไตมาส รายปีให้ประชาชนใช้ประโยชน์

ข้อมูลซึ่งผ่านเครือข่ายระบบสื่อสารความเร็วสูง ร ะ บ บ ค ลั ง ข้ อ มู ล ก ร ะ ท ร ว ง ม ห า ด ไ ท ย ( D a t a W a r e h o u s e ) ฐานข้อมูลกลาง (MOI DB) นำเข้า GDX รวบรวมและแลกเปลี่ยนข้อมูล สำนักงานปลัด กระทรวงมหาดไทย แหล่งข้อมูลต่างๆ ข้อมูลซึ่งผ่านเครือข่ายระบบสื่อสารความเร็วสูง ฐานข้อมูลจังหวัด (PDB 1) GDX ฐานข้อมูลจังหวัด (PDB 75) นำเข้า ฐานข้อมูลตามโครงการ 75 จังหวัด ข้อมูลที่ศูนย์ข้อมูลกลางมีการคัดแยกข้อมูลเป็น 2 ส่วน ข้อมูลสำหรับการบริหารราชการของส่วนราชการผ่านระบบ Intranet ข้อมูลสำหรับให้บริการแก่ประชาชนในระดับกระทรวง และระดับจังหวัดผ่านระบบ Internet

รายละเอียดรายการข้อมูล 45 กลุ่มเรื่อง และ 32 ตัวชี้วัด รายการข้อมูลที่สำคัญ 45 กลุ่มเรื่อง จำนวนรายการทั้งหมด 180 รายการ (N0101 – N4502) รายการข้อมูล 32 ตัวชี้วัด จำนวนรายการทั้งหมด 40 รายการ (K0101 – K3202)

39 จังหวัด (ระยะที่ 3) ใหม่ 36 จังหวัด (ระยะที่ 1และ 2) เดิม โครงการพัฒนาศูนย์ข้อมูลกลางของกระทรวงมหาดไทย และจังหวัด( 75 จังหวัด ) พ.ศ. 2549 39 จังหวัด (ระยะที่ 3) ใหม่ สป.มท. Appl Server DBServer Cache Server Firewall 39 จังหวัด Appl Server DBServer NMS Firewall ส่วนกลาง NMS Firewall 36 จังหวัด 36 จังหวัด (ระยะที่ 1และ 2) เดิม Appl Server DBServer NMS Cache Server 12 จังหวัด ระบบใหม่

รายการกรอบโครงสร้างข้อมูล 45 กลุ่มเรื่องและ 32 ตัวชี้วัด เอกสารที่แจกให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา รายการกรอบโครงสร้างข้อมูล 45 กลุ่มเรื่องและ 32 ตัวชี้วัด ศูนย์ข้อมูลกลางกระทรวงมหาดไทยและจังหวัด ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย กระทรวงมหาดไทย กรกฎาคม 2551

คำอธิบายสารบัญ แหล่งที่มาของข้อมูล รายการข้อมูลที่สำคัญของจังหวัด 45 กลุ่มเรื่อง รายการตัวชี้วัดการบริหารงานจังหวัดบูรณาการ 32 ตัวชี้วัดที่ปรับปรุงใหม่

(KPI_formula Description) ตัวอย่างรายการตัวชี้วัดการบริหารงานจังหวัดบูรณาการ 33 ตัวชี้วัดที่ปรับปรุงใหม่1/ ลำดับที่ รายการข้อมูล แหล่งข้อมูล/ หน่วยงานที่ รับผิดชอบ ความถี่ใน การจัดเก็บ สูตรคำนวณที่แก้ไข(=ส่วนที่เป็นตัวหนา) (KPI_formula Description)   1. อัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ตามราคาคงที่ 1 อัตราการขยายตัวของสาขาการผลิตที่ต้องการวัดการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตตามยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด ตามราคาคงที่ (เช่นภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม บริการ เป็นต้น) สนง.สถิติ จังหวัด ปีละ 1 ครั้ง (มูลค่าสาขาการผลิตในGPPปีนี้ -มูลค่าสาขาการผลิตGPPในปีก่อน) /มูลค่าสาขาการผลิตGPPในปีก่อน (เฉพาะสาขาการผลิตที่ต้องการวัดฯและเป็นราคาคงที่) 2. อัตราการขยายตัวของตัวชี้ทางเศรษฐกิจสาขาที่สำคัญ 2 อัตราการขยายตัวของการจดทะเบียน บริษัท/ห้างหุ้นส่วน สนง.พาณิชย์ฯ / สถิติ จังหวัด (จำนวนการจดทะเบียนบริษัท/ห้างหุ้นส่วน (ราย) ปีนี้ -จำนวนการจดทะเบียน บริษัท/ห้างหุ้นส่วน (ราย) 1 ปีก่อน) /จำนวนการจดทะเบียนบริษัท/ห้างหุ้นส่วน(ราย) 1 ปีก่อน รายละเอียดข้อมูล

รายการข้อมูลที่สำคัญของจังหวัด 45 กลุ่มเรื่อง รายละเอียดข้อมูล

ตัวอย่างตารางการจัดเก็บข้อมูลรายการ N0401 รายละเอียดข้อมูลแต่ละรายการ รายละเอียดคำอธิบายของข้อมูล

ตัวอย่างตาราง (Table) ฐานข้อมูล

โครงสร้างข้อมูล / ชื่อตาราง : N1003_2

ที่มาของข้อมูลในตาราง Table ที่ใช้ : TambonBMN2 Field ที่ใช้ : Year : ปีของข้อมูล VillID : รหัสหมู่บ้าน Q20A : ครัวเรือนนี้มีเด็กอายุระหว่าง 3 - 5 ปีเต็ม กี่คน Q21A : ครัวเรือนนี้มีเด็กอายุระหว่าง 6 - 15 ปี กี่คน Q24A : ครัวเรือนนี้มีคนอายุระหว่าง 15 - 60 ปี กี่คน

ตารางรหัสมาตรฐาน รายละเอียดข้อมูล

ตารางรหัสมาตรฐานทั้งหมด

ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลภาครัฐ (Government Data Exchange)

ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลภาครัฐ (Government Data Exchange)

ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลภาครัฐ การเข้าใช้บริการของระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลภาครัฐ ผู้ใช้จะต้องทำการ Login เข้าสู่ระบบก่อน ดังรูปจอภาพแสดงหน้า Login เพื่อเข้าสู่ระบบ โดยกรอกข้อมูลชื่อผู้ใช้ระบบ (Username) และรหัสผ่าน (Password)

เมนูแลกเปลี่ยนข้อมูล เป็นการโยนข้อมูลระหว่างส่วนกลางกับจังหวัด 1 เป็นการถ่ายโอนข้อมูลระหว่างเครื่องแม่ข่ายฐานข้อมูล(Server) กับผู้ใช้(Client) 2 ตรวจสอบผลการรับส่งข้อมูล ระหว่างส่วนกลางกับจังหวัด 3 การเชื่อมต่อเว็บเซอร์วิส 4 ส่งรายงานออกในรูป XML Schema 5

การแลกเปลี่ยนข้อมูลฯ 45 กลุ่มเรื่อง 1 แสดงหน้าจอเพื่อเลือกรายการข้อมูล 45 กลุ่มเรื่องที่ต้องการโอนย้ายข้อมูลไปยังจังหวัด

การ Export ข้อมูล 45 กลุ่มเรื่อง 2

รายการของงานที่กำหนด แสดงหน้าจอใช้จัดการเกี่ยวกับการกำหนดเวลาของการโอนย้ายข้อมูล 3

การเชื่อมต่อเว็บเซอร์วิส (WSDL) หมายถึง หน้าจอนี้จะอธิบายโครงสร้างของ Web Service โดยใช้ XML 4

รายการของการรับข้อมูล แสดงหน้าจอใช้ดูการรับข้อมูลการโยน รายการของการรับข้อมูล แสดงหน้าจอใช้ดูการรับข้อมูลการโยน

XML Schema ของข้อมูลฯ 45 กลุ่มเรื่อง

ตัวอย่าง XML ของตาราง N4001

การนำข้อมูลจากศูนย์ข้อมูลกลางกระทรวงมหาดไทยไปใช้ประโยชน์

รายงานผู้บริหารที่ได้พัฒนาไว้

ดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลแล้วใช้ Excel จัดทำรายงานและกราฟ ตารางแสดงจำนวนนักเรียน นิสิต นักศึกษา จำแนกรายภาค ปี พ.ศ.2549  2549 ภาค จำนวนนักเรียน นิสิต นักศึกษา ภาคเหนือ 563,584 ภาคกลาง 1,333,540 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1,940,941 ภาคใต้ 818,234

Q & A ขอบคุณ