หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ตำบลวังหิน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
โดย งานการเงินและ บัญชี. งบประจำ / ลงทุน ล้านบาท งบประจำ / ลงทุน ล้านบาท เบิกจ่าย / ก่อหนี้ ล้านบาท เบิกจ่าย / ก่อหนี้ ล้านบาท.
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการ กรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สระบุรี ( กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม โครงการตามนโยบายรัฐบาล.
ณ 31 พฤษภาคม
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
การติดตามประเมินผล และรายงาน.
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
ยินดีต้อนรับคณะกรรมการ ติดตามและประเมินผล กองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี ติดตามงานแผนกล ยุทธ์ ปี เจ้าภาพ กบส./ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างดำเนินการยังไม่ดำเนินการ.
กิจกรรม การนำกองทุนฯ ไปใช้ประโยชน์ - ช่วยเหลือการบำบัดผู้เสพฯ ที่อยู่ในหมู่บ้าน / ชุมชน - กรรมการชุมชน... - ระเบียบชุมชน... ทุนปัญญา ทุนศรัทธา ทุนขวัญถุง.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชีและ ถ่ายทอดเทคโนโลยี. สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชีและถ่ายทอดเทคโนโลยี ลำ ดับ หลักสูตร คน : รุ่น ว / ด / ป ที่ ดำเนินการ 1.ข้าราชการใหม่40.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
กลุ่มนโยบายและแผนงาน ฝ่ายแผนและพัฒนา
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ พ.ศ นายอัษฎาวุธ.
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงใหม่
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
4.2.3แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กรณีศึกษา การจัดทำข้อเสนอโครงการที่ดี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น นำเสนอโดย นายบุญเลิศ นิลละออง ผู้ช่วยสาธารณสุขอำเภอหนองสองห้อง

ระดับการประเมิน ระดับ A+ คะแนน 90-100 = ศักยภาพสูง และสามารถเป็น แหล่งเรียนรู้ ระดับ A คะแนน 70-89 = มีศักยภาพดี ระดับ B คะแนน 50-69 = ศักยภาพปานกลาง ระดับ C คะแนน น้อยกว่า 50 = ขาดความพร้อมต้องเร่ง พัฒนา

หมวด ก. การบริหารจัดการกองทุน (30 คะแนน) 1. ศักยภาพคณะกรรมการฯ (12 คะแนน) 1.1 มีความรู้ เข้าใจวัตถุประสงค์ เป้าหมาย หน้าที่ 1.2 กรรมการผ่านการพัฒนาความรู้ 1.3 ประชุมคณะกรรมการ (กรรมการเข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) 1.4 มีการประเมินผลการบริหารจัดการกองทุน (ตามแบบประเมินที่กำหนด)

หมวด ก. การบริหารจัดการกองทุน (30 คะแนน) ต่อ 2. กระบวนการใช้จ่ายงบประมาณ (9 คะแนน) 2.1 มีการจัดทำระเบียบ ข้อบังคับ ของกองทุนฯ 2.2 แผนงาน/โครงการ มีหลักฐานการอนุมัติ จากที่ประชุม 2.3 โครงการ ไม่ขัดต่อระเบียบการใช้เงินกองทุนฯ 2.4 มีหลักฐาน - โครงการที่ได้รับอนุมัติแล้ว - มีการทำ MOU (ข้อตกลง) - มีหลักฐานการรับ – จ่ายเงิน 2.5 งบบริหารจัดการฯ มีบันทึกมติคณะกรรมการ, จ่ายตามระเบียบกองทุน มีหลักฐานการรับ-จ่าย ครบถ้วน

หมวด ก. การบริหารจัดการกองทุน (30 คะแนน) ต่อ 3. ระบบควบคุม ตรวจสอบ ติดตามและประเมินผลด้านการเงิน (6 คะแนน) 3.1 มีการรายงานด้านการเงินเสนอต่อคณะกรรมการทุกครั้ง 3.2 มีการรายงานใช้จ่ายเงินทุกโครงการ ครบถ้วน ใน Web 3.3 มีการสรุปรายงานการรับ-จ่าย-เงินคงเหลือ ทุกไตรมาส

หมวด ก. การบริหารจัดการกองทุน (30 คะแนน) ต่อ 4. ระบบควบคุม ตรวจสอบ ติดตามประเมินผล ด้านการดำเนินงานโครงการ ( 3 คะแนน) 4.1 มีการ ติดตาม ประเมินผล การดำเนินงานโครงการ

หมวด ข การมีส่วนร่วม ( 30 คะแนน)

หมวด ข. การมีส่วนร่วม (30 คะแนน) 1. การคัดเลือกคณะกรรมการกองทุน ( 13 คะแนน) 1.1 มีคำสั่งบทบาทหน้าที่ ของกคณะกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงานที่ชัดเจน 1.2 คณะกรรมการมีการประชุมอย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี 1.3 มีบันทึกรายงานการประชุมคณะกรรมการทุกครั้ง 1.4 มีที่ปรึกษากองทุน เข้าร่วมประชุมอย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี 1.5 คณะกรรมการ อนุกรรมการ มีการประชุม และปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย

หมวด ข. การมีส่วนร่วม (30 คะแนน) ต่อ 2. การสร้างการรับรู้ ความสนใจของชุมชน (11 คะแนน) 2.1 มีการประกาศทางหอกระจายข่าว ฯลฯ 2.2 มีการเผยแพร่ ทางวิทยุชุมชน, Web ฯลฯ 2.3 มีการสำรวจความพึงพอใจของ ปชช.

หมวด ข. การมีส่วนร่วม (30 คะแนน) ต่อ 3. การสร้าง การมีส่วนร่วมของประชาชน 3.1 มีการสมทบเงินเข้ากองทุน จาก ปชช. (หลักพัน 1 คะแนน หลักหมื่น 2 คะแนนเต็ม)

หมวด ข. การมีส่วนร่วม (30 คะแนน) ต่อ 4. การนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ( SRM ) หรือแผนสุขภาพชุมชนมาใช้ในการบริหารจัดการ ( 2 คะแนน) - โดยมีกระบวนการ การจัดทำแผน แบบมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน

หมวด ค. ผลลัพธ์การดำเนินงาน (40 คะแนน) หมวด ค. ผลลัพธ์การดำเนินงาน (40 คะแนน) 1. มีโครงการ/กิจกรรมที่สอดคล้องกับนโยบายระดับประเทศ ได้แก่ 1.1 โรคเบาหวาน 1.2 โรคความดันโลหิตสูง 1.3 ดูแลผู้พิการ 1.4 ดูแลผู้สูงอายุ (ครบ 4 โครงการ/กิจกรรม 5 คะแนนเต็ม

หมวด ค. ผลลัพธ์การดำเนินงาน (40 คะแนน) ต่อ หมวด ค. ผลลัพธ์การดำเนินงาน (40 คะแนน) ต่อ 2. มีโครงการ/กิจกรรม ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ - ศูนย์เด็กเล็ก - ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟู ผู้สูงอายุ - ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟู คนพิการ (ครบ 3 อย่าง = 5 คะแนนเต็ม)

หมวด ค. ผลลัพธ์การดำเนินงาน (40 คะแนน) ต่อ หมวด ค. ผลลัพธ์การดำเนินงาน (40 คะแนน) ต่อ 3. มีการใช้งบประมาณ ในหมวด - สนับสนุนศูนย์เด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาฟื้นฟูผู้สูงอายุ ศูนย์พัฒนาฟื้นฟูคนพิการ ร้อยละ 1-3 = 1 คะแนน ร้อยละ 4-6 = 2 คะแนน ร้อยละ 7-10 = 3 คะแนน ร้อยละ 11-14 = 4 คะแนน ร้อยละ 15 = 5 คะแนนเต็ม

หมวด ค. ผลลัพธ์การดำเนินงาน (40 คะแนน) ต่อ หมวด ค. ผลลัพธ์การดำเนินงาน (40 คะแนน) ต่อ 4. มีการใช้งบประมาณอย่างน้อยร้อยละ 80 ของเงินในบัญชีในปีงบประมาณนั้นๆ ( 8 คะแนนเต็ม) ใช้เงินไม่ถึง 70% = 0 คะแนน ใช้เงิน 70-74% = 4 คะแนน ใช้เงิน 75-79% = 6 คะแนน ใช้เงิน 80% = 8 คะแนน

หมวด ค. ผลลัพธ์การดำเนินงาน (40 คะแนน) ต่อ หมวด ค. ผลลัพธ์การดำเนินงาน (40 คะแนน) ต่อ 5. ใช้เงินหมวด สนับสนุนภาคประชาชน ใช้เงินไม่ถึง 30% = 0 คะแนน ใช้เงิน 31-34% = 1 คะแนน ใช้เงิน 35-39% = 2 คะแนน ใช้เงิน 40% = 3 คะแนน

หมวด ค. ผลลัพธ์การดำเนินงาน (40 คะแนน) ต่อ หมวด ค. ผลลัพธ์การดำเนินงาน (40 คะแนน) ต่อ 6. โครงการมีความสอดคล้อง กับแผนงาน ( 4 คะแนน) 7. มีการรายงานผลการดำเนินงาน แต่ละโครงการ ( 5 คะแนน) - ให้คณะกรรมการรับทราบ - บันทึกผล ใน Web Site น้อยกว่า 50% = 0 50-59% = 1 60-69% =2 70-79% = 3 80-99 = 4 100% = 5 คะแนน

หมวด ค. ผลลัพธ์การดำเนินงาน (40 คะแนน) ต่อ หมวด ค. ผลลัพธ์การดำเนินงาน (40 คะแนน) ต่อ 8. มีการสร้างนวตกรรมด้านสุขภาพอย่างเป็นรูปธรรม - สามารถบอกเล่านวตกรรมได้ - มีเอกสารสรุป - มีการเผยแพร่นวตกรรม - สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ ครบ 4 ประเด็น ได้ 5 คะแนนเต็ม

สรุป หมวด ก : การบริหารจัดการกองทุน = 30 คะแนน หมวด ก : การบริหารจัดการกองทุน = 30 คะแนน หมวด ข : การมีส่วนร่วม = 30 คะแนน หมวด ค : ผลลัพธ์ = 40 คะแนน รวม 100 คะแนน ระดับ A+ คะแนน 90-100 = ศักยภาพสูง และสามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ ระดับ A คะแนน 70-89 = มีศักยภาพดี ระดับ B คะแนน 50-69 = ศักยภาพปานกลาง ระดับ C คะแนน น้อยกว่า 50 = ขาดความพร้อมต้องเร่งพัฒนา