กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก / กรมควบคุมโรค / กรมอนามัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การบริหารจัดการงบค่าเสื่อม ปี 2561
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
กลุ่มเกษตรกร.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวปลอดภัยและการบริหารจัดการเชิงคุณภาพ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
4.2.3แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก / กรมควบคุมโรค / กรมอนามัย คณะ 4 การตรวจราชการแบบบูรณาการ กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก / กรมควบคุมโรค / กรมอนามัย

ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานเมืองสมุนไพร ปี 2561 ปี 2562 ต้นทาง มีพื้นที่ปลูกสมุนไพร ผ่านมาตรฐาน GAP 250 ไร่ มีกลุ่มแกนนำด้านสมุนไพร 4 กลุ่ม ที่ผ่าน GAP มีข้อมูลความต้องการวัตถุดิบสมุนไพร เพื่อส่งเสริมการใช้ยาระดับเขต จำนวน 20 ชนิด ขยายพื้นที่ปลูกสมุนไพรมาตรฐาน GAP 100 ไร่ สำนักงานจังหวัดจัดอบรมเกษตรกรเรื่องการปลูกแบบอินทรีย์ สสจ. ร่วมกับรพ มหาสารคาม และศูนย์พืชไร่ ลงพื้นที่ตรวจวิเคราะห์ดินและให้ความรู้การปลูกแก่เกษตรกร กลางทาง มีโรงงานผลิตยาผ่านมาตรฐาน GMP 2 แห่ง ได้แก่ รพ.มหาสารคาม และคณะเภสัชศาสตร์ ม.มหาสารคาม การผลิตยาแผนไทย (ยาน้ำ) รองรับการใช้ของสถานบริการสาธารณสุข เขต 7 จำนวน 13 รายการ กำลังก่อสร้างโรงงานผลิตยามาตรฐาน GMP เพิ่มอีก 1 แห่ง ปลายทาง มีร้านค้าจัมปาศรี เป็น Shop/Outlet ด้านผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร มีการให้บริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในสถานบริการทุกระดับ มีผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรในท้องถิ่น 7 อำเภอ รวม 21 รายการ พัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรในท้องถิ่น 7 อำเภอ รวม 21 รายการ ให้ได้มาตรฐานและขึ้นทะเบียนจดแจ้งผลิตภัณฑ์ ส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรตามบัญชียาหลักแห่งชาติ ทดแทนยาแผนปัจจุบัน เช่น ยาธาตุบรรจบ และฟ้าทลายโจรที่จะนำมาใช้ใน RDU ในรูป “มูลนิธิ” พัฒนาการบริหารจัดการธุรกิจสมุนไพร รง.GMP แห่งใหม่ และแปลงปลูกสมุนไพรด้านหลัง จุดเด่นคือ

ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานเมืองสมุนไพร (ต่อ) ปัจจัยความสำเร็จ ผู้บริหารทุกระดับให้ความสำคัญ มีการประชุมคณะกรรมการเมืองสมุนไพรอย่างต่อเนื่อง เพื่อติดตามและขับเคลื่อนงาน มีการกำหนดให้ “Herbal City” เป็น PA ของจังหวัด ทำให้เกิดการดำเนินงานในระดับอำเภออย่างต่อเนื่อง เสนอแผนงาน/โครงการเพื่อดำเนินงานเมืองสมุนไพรอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการขยายผลการดำเนินงาน มี พชอ. จำนวน 2 อำเภอ ให้ความสนใจและเลือกดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับ Herbal City เกษตรจังหวัด ช่วยสนับสนุนการดำเนินงานเรื่องโรงแปรรูปสมุนไพร เกษตรกรผู้ปลูกสมุนไพรให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี มีการกำหนดแผนการปลูกสมุนไพรในแต่ละอำเภอ เพื่อลดปัญหาการปลูกซ้ำซ้อน และผลผลิตล้นตลาด ศูนย์พืชไร่ ให้ความร่วมมือในการตรวจรับรอง GAP และให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกสมุนไพรที่เหมาะสม ข้อเสนอแนะ ควรให้การสนับสนุนอัตรากำลังคนเพิ่มเติม เพื่อขับเคลื่อนงานให้เป็นไปตามเป้าหมาย กรณีที่โรงงานแห่งใหม่เปิดดำเนินการ อาจพิจารณาขยาย Line การผลิตเพิ่มเติม ควรกำหนดแผนงาน/โครงการ Herbal City เป็นแผนงานของจังหวัด ระยะ 3 -5 ปี เพื่อการพัฒนาที่ต่อเนื่อง ปัญหา/อุปสรรค กระบวนการรับรองมาตรฐานการปลูกกแบบเกษตรอินทรีย์มีขั้นตอนการดำเนินงานค่อนข้างมาก บุคลากรด้านเภสัชกรรม และด้านการแพทย์แผนไทย อาจไม่เพียงพอต่อการรองรับภาระงานที่เกิดจากการเปิดโรงงานผลิตยาแผนไทยมาตรฐาน GMP แห่งใหม่

สถานการณ์ ความสำคัญสภาพปัญหา มาตรการป้องกันการขาดสารไอโอดีน ส่งเสริมการบริโภคไอโอดีนและการให้ความรู้แก่พ่อแม่เด็กในด้านโภชนาการที่เหมาะสม สถานการณ์ ความสำคัญสภาพปัญหา 1. หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน ร้อยละ 79.7(100) มาตรการป้องกันการขาดสารไอโอดีน ยุทธศาสตร์ที่ 1 ขับเคลื่อนการดำเนินงาน -ประกาศวาระจังหวัด Smart Kids Taksila 4.0 ภาคีเครือข่ายร่วม 36 หน่วยงาน สนับสนุนให้หมู่บ้านใช้งบตามโครงการพระราชดำริฯ ยุทธศาสตร์ที่ 2 เฝ้าระวัง/ติดตาม เกลือเสริมไอโอดีน ผลิต -> คุณภาพ ณ จุดผลิต กระจาย->ร้านค้า ,กองทุน บริโภค->ความครอบคลุมการใช้ในครัวเรือน(>90%) ยาเม็ดเสริมไอโอดีน - การได้รับยา “ติดตามการกินยา” Urine Iodine TSH ยุทธศาสตร์ที่ 3 ประชาสัมพันธ์และรณรงค์ให้ความรู้ - รร พ่อแม่ - หลักสูตร ใน รร.ทุกระดับ ชุมชนโดยภาคีเครือข่าย “ร้านหนูณิชย์”ใช้เกลือเสริมไอโอดีน ยุทธศาสตร์ที่ 4 วิจัย/นวัตกรรม - สำรวจปริมาณไอโอดีนในไข่ ในจังหวัด - เกลือเสริมไอโอดีน “สารคามซอลท์” ตามมาตรฐาน MSK 2. Urine Iodine หญิงตั้งครรภ์ >150 g/L ร้อยละ 36.6(>50) พยัคฆภูมิพิสัย 18.1% ชื่นชม เชียงยืน 4.5% โกสุมพิสัย 5.8% กุดรัง กันทรวิชัย 18.6% เมือง 6.4% แกดำ 11.1% บรบือ 12.5% วาปีปทุม 10.9% นาเชือก 0.0% นาดูน 8.3% ยางสีสุราช รพ.สารคามอินเตอร์ 18.5% 3. ค่า TSH >11.25 mU/L ร้อยละ 8.8 (< ร้อยละ3)  ไม่มีห้องคลอด  น้อยกว่า ร้อยละ 3  ร้อยละ 3-10  มากกว่า ร้อยละ 10 Best practice อำเภอนาเชือก และยางสีสุราช ติดตามการกินยาเม็ดเสริมไอโอดีน ธาตุเหล็ก และโฟลิก ด้วยการ DOT ยาโดย อสม. หรือคนในครอบครัว และมีกลุ่มไลน์ในการติดตาม ข้อเสนอแนะ -ติดตาม คุณภาพการดำเนินงานตามตัวชี้วัดรายหน่วยงาน และจัดทำแผนแก้ไขปัญหา -การสร้างความรอบรู้แก่พ่อแม่เด็กในด้านโภชนาการที่เหมาะสม เพื่อป้องกันการขาดสารไอโอดีน

อัตราตายมะเร็งตับและมะเร็งท่อน้ำดี ประเทศ ภาค และเขตปี พ.ศ.2554-2558 การพัฒนาระบบป้องกันและควบคุมโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดีในพื้นที่เสี่ยง มาตรการดำเนินงาน ความชุกโรคพยาธิใบไม้ตับในประชาชน เขตสุขภาพที่ 7 ปี 2557-2560 การจัดการสิ่งแวดล้อม - ร่วมมือกับท้องถิ่นขยายการจัดการสิ่งปฏิกูล เพิ่ม อีก 1 / 4 ( ผลงานเดิม 3 แห่ง) การจัดการเรียนการสอนเรื่อง OV CCA ในโรงเรียน - ขยายการจัดการเรียนการสอนเรื่อง OV CCA ใน รร. 102 แห่ง (96.07%) ( 110 แห่ง) 3. การคัดกรองด้วยอุจจาระในประชาชน 15 ปีขึ้นไป - ขยายพื้นที่เป้าหมายเพิ่ม 25 ตำบล ( เดิม 15 ตำบล) 4. การตรวจคัดกรอง CCA ในประชาชน 40 ปีขึ้นไป - อบรมแพทย์/พยาบาลในการตรวจคัดกรอง การจัดการฐานข้อมูล Isan cohort -on the job training จนท.ผู้รับผิดชอบทุกพื้นที่ อัตราตายมะเร็งตับและมะเร็งท่อน้ำดี ประเทศ ภาค และเขตปี พ.ศ.2554-2558 Best Practice (อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย) รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การประกวดตำบลต้นแบบฯ ปี 2561 รางวัล Good Practice ยอดเยี่ยม ด้านการตรวจคัดกรอง OV ปี 2561 รางวัล Good Practice ดีเด่นด้านการลงทะเบียนกลุ่มเสี่ยง CCA 01 ปี 2561 ข้อเสนอแนะ - ติดตาม การจัดการเรียนการสอน OV CCA ใน รร - การพัฒนาศักยภาพของจุลทัศนากรสำหรับการตรวจคัดกรองหนอนพยาธิ