กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก / กรมควบคุมโรค / กรมอนามัย คณะ 4 การตรวจราชการแบบบูรณาการ กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก / กรมควบคุมโรค / กรมอนามัย
ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานเมืองสมุนไพร ปี 2561 ปี 2562 ต้นทาง มีพื้นที่ปลูกสมุนไพร ผ่านมาตรฐาน GAP 250 ไร่ มีกลุ่มแกนนำด้านสมุนไพร 4 กลุ่ม ที่ผ่าน GAP มีข้อมูลความต้องการวัตถุดิบสมุนไพร เพื่อส่งเสริมการใช้ยาระดับเขต จำนวน 20 ชนิด ขยายพื้นที่ปลูกสมุนไพรมาตรฐาน GAP 100 ไร่ สำนักงานจังหวัดจัดอบรมเกษตรกรเรื่องการปลูกแบบอินทรีย์ สสจ. ร่วมกับรพ มหาสารคาม และศูนย์พืชไร่ ลงพื้นที่ตรวจวิเคราะห์ดินและให้ความรู้การปลูกแก่เกษตรกร กลางทาง มีโรงงานผลิตยาผ่านมาตรฐาน GMP 2 แห่ง ได้แก่ รพ.มหาสารคาม และคณะเภสัชศาสตร์ ม.มหาสารคาม การผลิตยาแผนไทย (ยาน้ำ) รองรับการใช้ของสถานบริการสาธารณสุข เขต 7 จำนวน 13 รายการ กำลังก่อสร้างโรงงานผลิตยามาตรฐาน GMP เพิ่มอีก 1 แห่ง ปลายทาง มีร้านค้าจัมปาศรี เป็น Shop/Outlet ด้านผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร มีการให้บริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในสถานบริการทุกระดับ มีผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรในท้องถิ่น 7 อำเภอ รวม 21 รายการ พัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรในท้องถิ่น 7 อำเภอ รวม 21 รายการ ให้ได้มาตรฐานและขึ้นทะเบียนจดแจ้งผลิตภัณฑ์ ส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรตามบัญชียาหลักแห่งชาติ ทดแทนยาแผนปัจจุบัน เช่น ยาธาตุบรรจบ และฟ้าทลายโจรที่จะนำมาใช้ใน RDU ในรูป “มูลนิธิ” พัฒนาการบริหารจัดการธุรกิจสมุนไพร รง.GMP แห่งใหม่ และแปลงปลูกสมุนไพรด้านหลัง จุดเด่นคือ
ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานเมืองสมุนไพร (ต่อ) ปัจจัยความสำเร็จ ผู้บริหารทุกระดับให้ความสำคัญ มีการประชุมคณะกรรมการเมืองสมุนไพรอย่างต่อเนื่อง เพื่อติดตามและขับเคลื่อนงาน มีการกำหนดให้ “Herbal City” เป็น PA ของจังหวัด ทำให้เกิดการดำเนินงานในระดับอำเภออย่างต่อเนื่อง เสนอแผนงาน/โครงการเพื่อดำเนินงานเมืองสมุนไพรอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการขยายผลการดำเนินงาน มี พชอ. จำนวน 2 อำเภอ ให้ความสนใจและเลือกดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับ Herbal City เกษตรจังหวัด ช่วยสนับสนุนการดำเนินงานเรื่องโรงแปรรูปสมุนไพร เกษตรกรผู้ปลูกสมุนไพรให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี มีการกำหนดแผนการปลูกสมุนไพรในแต่ละอำเภอ เพื่อลดปัญหาการปลูกซ้ำซ้อน และผลผลิตล้นตลาด ศูนย์พืชไร่ ให้ความร่วมมือในการตรวจรับรอง GAP และให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกสมุนไพรที่เหมาะสม ข้อเสนอแนะ ควรให้การสนับสนุนอัตรากำลังคนเพิ่มเติม เพื่อขับเคลื่อนงานให้เป็นไปตามเป้าหมาย กรณีที่โรงงานแห่งใหม่เปิดดำเนินการ อาจพิจารณาขยาย Line การผลิตเพิ่มเติม ควรกำหนดแผนงาน/โครงการ Herbal City เป็นแผนงานของจังหวัด ระยะ 3 -5 ปี เพื่อการพัฒนาที่ต่อเนื่อง ปัญหา/อุปสรรค กระบวนการรับรองมาตรฐานการปลูกกแบบเกษตรอินทรีย์มีขั้นตอนการดำเนินงานค่อนข้างมาก บุคลากรด้านเภสัชกรรม และด้านการแพทย์แผนไทย อาจไม่เพียงพอต่อการรองรับภาระงานที่เกิดจากการเปิดโรงงานผลิตยาแผนไทยมาตรฐาน GMP แห่งใหม่
สถานการณ์ ความสำคัญสภาพปัญหา มาตรการป้องกันการขาดสารไอโอดีน ส่งเสริมการบริโภคไอโอดีนและการให้ความรู้แก่พ่อแม่เด็กในด้านโภชนาการที่เหมาะสม สถานการณ์ ความสำคัญสภาพปัญหา 1. หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน ร้อยละ 79.7(100) มาตรการป้องกันการขาดสารไอโอดีน ยุทธศาสตร์ที่ 1 ขับเคลื่อนการดำเนินงาน -ประกาศวาระจังหวัด Smart Kids Taksila 4.0 ภาคีเครือข่ายร่วม 36 หน่วยงาน สนับสนุนให้หมู่บ้านใช้งบตามโครงการพระราชดำริฯ ยุทธศาสตร์ที่ 2 เฝ้าระวัง/ติดตาม เกลือเสริมไอโอดีน ผลิต -> คุณภาพ ณ จุดผลิต กระจาย->ร้านค้า ,กองทุน บริโภค->ความครอบคลุมการใช้ในครัวเรือน(>90%) ยาเม็ดเสริมไอโอดีน - การได้รับยา “ติดตามการกินยา” Urine Iodine TSH ยุทธศาสตร์ที่ 3 ประชาสัมพันธ์และรณรงค์ให้ความรู้ - รร พ่อแม่ - หลักสูตร ใน รร.ทุกระดับ ชุมชนโดยภาคีเครือข่าย “ร้านหนูณิชย์”ใช้เกลือเสริมไอโอดีน ยุทธศาสตร์ที่ 4 วิจัย/นวัตกรรม - สำรวจปริมาณไอโอดีนในไข่ ในจังหวัด - เกลือเสริมไอโอดีน “สารคามซอลท์” ตามมาตรฐาน MSK 2. Urine Iodine หญิงตั้งครรภ์ >150 g/L ร้อยละ 36.6(>50) พยัคฆภูมิพิสัย 18.1% ชื่นชม เชียงยืน 4.5% โกสุมพิสัย 5.8% กุดรัง กันทรวิชัย 18.6% เมือง 6.4% แกดำ 11.1% บรบือ 12.5% วาปีปทุม 10.9% นาเชือก 0.0% นาดูน 8.3% ยางสีสุราช รพ.สารคามอินเตอร์ 18.5% 3. ค่า TSH >11.25 mU/L ร้อยละ 8.8 (< ร้อยละ3) ไม่มีห้องคลอด น้อยกว่า ร้อยละ 3 ร้อยละ 3-10 มากกว่า ร้อยละ 10 Best practice อำเภอนาเชือก และยางสีสุราช ติดตามการกินยาเม็ดเสริมไอโอดีน ธาตุเหล็ก และโฟลิก ด้วยการ DOT ยาโดย อสม. หรือคนในครอบครัว และมีกลุ่มไลน์ในการติดตาม ข้อเสนอแนะ -ติดตาม คุณภาพการดำเนินงานตามตัวชี้วัดรายหน่วยงาน และจัดทำแผนแก้ไขปัญหา -การสร้างความรอบรู้แก่พ่อแม่เด็กในด้านโภชนาการที่เหมาะสม เพื่อป้องกันการขาดสารไอโอดีน
อัตราตายมะเร็งตับและมะเร็งท่อน้ำดี ประเทศ ภาค และเขตปี พ.ศ.2554-2558 การพัฒนาระบบป้องกันและควบคุมโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดีในพื้นที่เสี่ยง มาตรการดำเนินงาน ความชุกโรคพยาธิใบไม้ตับในประชาชน เขตสุขภาพที่ 7 ปี 2557-2560 การจัดการสิ่งแวดล้อม - ร่วมมือกับท้องถิ่นขยายการจัดการสิ่งปฏิกูล เพิ่ม อีก 1 / 4 ( ผลงานเดิม 3 แห่ง) การจัดการเรียนการสอนเรื่อง OV CCA ในโรงเรียน - ขยายการจัดการเรียนการสอนเรื่อง OV CCA ใน รร. 102 แห่ง (96.07%) ( 110 แห่ง) 3. การคัดกรองด้วยอุจจาระในประชาชน 15 ปีขึ้นไป - ขยายพื้นที่เป้าหมายเพิ่ม 25 ตำบล ( เดิม 15 ตำบล) 4. การตรวจคัดกรอง CCA ในประชาชน 40 ปีขึ้นไป - อบรมแพทย์/พยาบาลในการตรวจคัดกรอง การจัดการฐานข้อมูล Isan cohort -on the job training จนท.ผู้รับผิดชอบทุกพื้นที่ อัตราตายมะเร็งตับและมะเร็งท่อน้ำดี ประเทศ ภาค และเขตปี พ.ศ.2554-2558 Best Practice (อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย) รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การประกวดตำบลต้นแบบฯ ปี 2561 รางวัล Good Practice ยอดเยี่ยม ด้านการตรวจคัดกรอง OV ปี 2561 รางวัล Good Practice ดีเด่นด้านการลงทะเบียนกลุ่มเสี่ยง CCA 01 ปี 2561 ข้อเสนอแนะ - ติดตาม การจัดการเรียนการสอน OV CCA ใน รร - การพัฒนาศักยภาพของจุลทัศนากรสำหรับการตรวจคัดกรองหนอนพยาธิ