การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โทร. ๐-๔๕๗๙-๕๐๖๑ “ สุขภาพดีวิถีไทย สมุนไพร ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ”
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
การดำเนินการเยี่ยมบ้าน ของศูนย์สุขภาพชุมชน
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ประชุมติดตามผลการดำเนินงานเกณฑ์มาตรฐานระบบงานเยี่ยมบ้าน
รายงานผลการดำเนินงาน
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
การประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
กิจกรรมเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ หน่วยงานสนับสนุน สสส
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
คณะที่ ๒ : การพัฒนาและจัดระบบบริการฯ หัวข้อ : ระบบบริการปฐมภูมิ
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุไทย 2547
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
คลินิกบริการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS โรงพยาบาลเขาสมิง จังหวัดตราด
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ข้อมูลทั่วไปอำเภอเมืองระยอง
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
งาน Palliative care.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
RF COC /Palliative care.
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กระบวนงานการให้บริการ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
แพทย์หญิงดนุชา ช่อเฟื้อง
ถอดรหัสตัวชี้วัด Service plan สาขา Palliative care
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
Service Profile : งานกายภาพบำบัด กลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
พญ.สุพรรณี สุดสา โรงพยาบาลอุดรธานี
งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม
PRIMARY CARE PRIMARY CARE Primary care.
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา ความเสี่ยง/ความท้าทาย
ประเด็นติดตาม Palliative care.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายโดยความร่วมมือของทุกภาคส่วน พญ. ดนุชา ช่อเฟื้อง

วิวัฒนาการทางการแพทย์ ความก้าวหน้าอย่างมากของเทคโนโลยี ทีมผู้รักษามีความเชี่ยวชาญมากขึ้น การดูแลเฉพาะส่วนตามความเชี่ยวชาญ ผู้ป่วยรอดชีวิตมากขึ้น

การรักษาเริ่มตั้งแต่ก่อนเกิด วงจรชีวิตมนุษย์ ใช้ชีวิตอย่างเต็มที่ ไม่เคยดูแลสุขภาพ โรคเรื้อรัง ภาวะเสื่อม คุณภาพชีวิต? การรักษาเริ่มตั้งแต่ก่อนเกิด รอดชีวิต

ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีจำนวนมากขึ้น สถานการณ์ปัจจุบัน ความดันโลหิตสูง ไตเสื่อม เบาหวาน ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีจำนวนมากขึ้น ไขมันในเลือดสูง มะเร็ง ความเสื่อมตามอายุ ถุงลมโป่งพอง

สถานการณ์ปัจจุบัน ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีจำนวนมากขึ้น เกิดโรคแทรกเพิ่มมากขึ้น อัมพาต ไตวาย โรคหัวใจ

สถานการณ์ปัจจุบัน ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีจำนวนมากขึ้น เกิดโรคแทรกเพิ่มมากขึ้น เกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรง

สถานการณ์ปัจจุบัน ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีจำนวนมากขึ้น เกิดโรคแทรกเพิ่มมากขึ้น เกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรง เข้าสู่ระยะท้ายของโรคอย่างทุกข์ทรมาน

ผู้ป่วยระยะท้าย ไม่รู้จะทำอะไรแล้ว เอากลับบ้าน ใกล้ตาย โรครักษาไม่หาย ช่วยไม่ได้ ผู้ป่วยระยะท้าย ใกล้ตาย โรครักษาไม่หาย รักษาตามอาการ

สถานการณ์ปัจจุบัน ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีจำนวนมากขึ้น เกิดโรคแทรกเพิ่มมากขึ้น เกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรง เข้าสู่ระยะท้ายของโรคอย่างทุกข์ทรมาน ผู้ป่วยเสียชีวิตอย่างทุกข์ทรมาน

ทุกคนบนผืนแผ่นดินไทยมีสุขภาวะในระยะท้ายของชีวิตและตายดี แผนยุทธศาสตร์ระดับชาติว่าด้วยการสร้างเสริม สุขภาวะในระยะท้ายของชีวิต พ.ศ. 2557-2559 ทุกคนบนผืนแผ่นดินไทยมีสุขภาวะในระยะท้ายของชีวิตและตายดี ระบบบริการการดูแลแบบประคับประคองในระยะท้ายของชีวิตอย่างทั่วถึง มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน ยุทธศาสตร์ที่2 การพัฒนาระบบบริการการดูแลแบบประคับประคอง ยุทธศาสตร์ที่3 การพัฒนาระบบสนับสนุน (กำลังคน, ระบบข้อมูล, ระบบการเงินการคลัง) ประชาชนไทยมีทัศนคติที่ดี มีความรู้ความเข้าใจ ยอมรับว่าความตายเป็นปกติของทุกชีวิต มีสิทธิ์ในการแสดงความต้องการของตนเองและได้รับการดูแลแบบประคับประคองในระยะท้ายของชีวิต ยุทธศาสตร์ที่1 การสร้างและจัดการความรู้, การสนับสนุนการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน

WHO Definition of Palliative Care Palliative care is an approach that improves the quality of life of patients and their families facing the problem associated with life-threatening illness, through the prevention and relief of suffering by means of early identification and impeccable assessment and treatment of pain and other problems, physical, psychosocial and spiritual. การดูแลผู้ป่วยที่เป็นโรครักษาไม่หายขาดและอาจคุกคามถึงชีวิต หรือป่วยด้วยโรคที่มีแนวโน้มทรุดลงจนเสียชีวิตจากตัวโรคในอนาคต การดูแลเริ่มตั้งแต่ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยว่าป่วยด้วยโรคที่คุกคามชีวิต จนกระทั่งผู้ป่วยอยู่ในระยะสุดท้ายของโรค เน้นการดูแลแบบองค์รวม ครอบคลุมมิติทั้งกาย ใจ สังคม และจิตวิญญาณของผู้ป่วย ครอบครัวและผู้ดูแล โดยมีเป้าหมายคือการเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัว ที่จะทำให้ผู้ป่วยได้เสียชีวิตอย่างสงบ สมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ตลอดจนดูแลครอบครัวและญาติภายหลังการจากไปของผู้ป่วย

การดูแลแบบประคับประคอง วางแผนการรักษาร่วมกัน การขอความช่วยเหลือ การแจ้งข่าวร้าย การดูแลแบบประคับประคอง การดูแลต่อเนื่องที่บ้าน วินิจฉัยผู้ป่วยระยะท้าย การประเมินแบบองค์รวม

ความร่วมมือร่วมใจในการดูแลผู้ป่วยระยะท้าย ครอบครัว ทีมสุขภาพ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรศาสนา คนในชุมชน จิตอาสา

ทุกคนมีสิทธิ์เลือกการดูแลในระยะท้ายของชีวิต

การแสดงเจตจำนงค์รับการดูแลแบบประคับประคองในระยะท้ายของชีวิต การแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นเพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตหรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บป่วย ตามมาตรา ๑๒ แห่ง พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๐ “สามารถเปลี่ยนแปลงหรือยกเลิกได้ตลอด”

แผนพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองจังหวัดเชียงใหม่ แนวทางการสร้างเครือข่ายงานการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองจังหวัดเชียงใหม่ แนวทางการจัดระบบการเข้าถึงยาและอุปกรณ์ที่จำเป็นในการดูแลแบบประคับประคอง แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองจังหวัดเชียงใหม่ แนวทางการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองจังหวัดเชียงใหม่ ตัวชี้วัดการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองจังหวัดเชียงใหม่ ตัวอย่างหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตหรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บป่วย