พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์
ลำดับการนำเสนอ 1. ความหมาย แนวคิดการเกิดพฤติกรรมมนุษย์ 2. การศึกษาพฤติกรรมมนุษย์ 3. การวิเคราะห์สาเหตุการเกิดพฤติกรรม 4. ความหมายของจิตวิทยา 5. กลุ่มแนวคิดทางจิตวิทยา 6. สรุป 2
ความหมายของพฤติกรรม BEHAVIOR + HUMAN HUMAN BODY MIND 3
ความหมาย พฤติกรรม (BEHAVIOR) : หมายถึงอาการ กิริยา ท่าทาง การกระทำ หรือ กิจกรรมทุกอย่าง ซึ่งสามารถสังเกตได้โดยตรง หรือใช้เครื่องมือวัดได้ ผู้กระทำรู้สึกตัวหรือไม่ก็ได้
ประเภทของพฤติกรรม BEHAVIOR ภายนอก EXTERNAL / OVERT BEH MOLAR BEH MOLECULAR BEH ภายใน INTERNAL / COVERT BEH
พฤติกรรมของมนุษย์เกิดจากอะไร เกิดจากการทำงานของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย เกิดจากความคิด ความเข้าใจ เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม เกิดจากการเรียนรู้ (การเลียนแบบพฤติกรรม)
การวิเคราะห์สาเหตุการเกิดพฤติกรรม 1. รูปแบบจิตลักษณะ (Traits model) มีหลักการว่า บุคคลมีบุคลิกภาพต่างกัน ทำให้เกิดพฤติกรรมต่างกัน 2. รูปแบบพลวัตรทางจิต (Psychodynamic model) 3. รูปแบบสถานการณ์นิยม (Situationism model) 4. รูปแบบปฏิสัมพันธ์นิยม (Interaction model) Ego Id Super Ego
รูปแบบปฏิสัมพันธ์นิยม 1. รูปแบบจิตลักษณะ 3. รูปแบบสถานการณ์นิยม วิเคราะห์ทางสถิติ
การศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ พฤติกรรมการกินส้มตำ
การศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ ความชอบ หาซื้อง่าย อร่อย พฤติกรรมการกินส้มตำ เพื่อนชวน คนขายสวย ราคาถูก มีคุณค่าทางโภชนาการ พ่อแม่พากิน
การศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ สังคมวิทยา จิตวิทยา behavior มานุษยวิทยา ฯลฯ
Psychology = จิตวิทยา วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์ และสิ่งมีชีวิต มีจุดมุ่งหมายเพื่อ อธิบาย ทำนาย ควบคุมพฤติกรรมนั้นๆ
กระบวนทางวิทยาศาสตร์ 1. ขั้นปัญหา = ต้องการคำตอบในเรื่องอะไร 2. ขั้นสมมติฐาน = การคาดคะเนคำตอบล่วงหน้าโดยมีเหตุผลรองรับ 3. ขั้นรวบรวมข้อมูล = แสวงหาคำตอบ 4. ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล = ทดสอบสมมติฐานว่าเป็นจริงหรือไม่โดยใช้วิธีการทางสถิติ 5. ขั้นสรุป = การแปลความหมาย และรายงานผล 6. การนำไปใช้ = นำไปแก้ปัญหาต่างๆ
แนวคิดของนักจิตวิทยาในการศึกษาพฤติกรรม กลุ่มโครงสร้างทางจิต กลุ่มหน้าที่ของจิต กลุ่มจิตวิเคราะห์ กลุ่มพฤติกรรมนิยม กลุ่มเกสตอลท์ กลุ่มมนุษยนิยม กลุ่มปัญญานิยม
สรุป พฤติกรรมมนุษย์ หมายถึงการกระทำของมนุษย์ทั้งทางร่างกายและจิตใจโดยที่ผู้กระทำรู้สึกตัวหรือไม่ก็ได้ ทั้งที่สามารถสังเกตเห็นได้หรือไม่ก็ได้ พฤติกรรมมนุษย์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่พฤติกรรมภายใน และพฤติกรรมภายนอก
สรุป การศึกษาพฤติกรรมมนุษย์ต้องอาศัยศาสตร์หลากหลายสาขาวิชา มาอธิบายการเกิดพฤติกรรม ได้แก่จิตวิทยา สังคมวิทยา มานุษยวิทยา สรีรวิทยา และศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการค้นหาความจริง เพื่อให้ได้ผลสรุปที่เชื่อถือได้ ซึ่งกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ประกอบด้วย 5 ขั้น ได้แก่ 1 ขั้นปัญหา 2 ขั้นสมมติฐาน 3 ขั้นรวบรวมข้อมูล 4 ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล และ5 ขั้นสรุปและนำไปใช้
บรรณานุกรม ฤกษ์ชัย คุณูปการ และคณะ. (2546). พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน. กรุงเทพฯ : สำนักงานสภาสถาบันราชภัฏ วินัย เพชรช่วย.(2543). พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน. กรุงเทพฯ : สถาบันราชภัฏ สวนสุนันทา. เรียม ศรีทอง. (2542) . พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน. กรุงเทพฯ : สถาบันราชภัฏสวน ดุสิต. สมศรี ทองนุช. (2544). พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน. ภาควิชาจิตวิทยา คณะ ครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. http://www.bcnlp.ac.th/~sophon/my/whatpsy.html www.courseware.ssru.ac.th/2500101/N06.html http://www.geocities.com/TMCHOTE/Thumma/General/gn001.htm