บทที่ 2 การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการตลาด บทที่ 2 การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการตลาด
สิ่งแวดล้อมทางการตลาด สิ่งแวดล้อมมหภาค (ประชากรศาสตร์ เศรษฐกิจ ธรรมชาติ เทคโนโยลี การเมือง และกฎหมาย วัฒนธรรม และสังคม) สิ่งแวดล้อมจุลภาค (ลูกค้า ผู้จำหน่ายวัตถุดิบ และชิ้นส่วนประกอบ คนกลางและตัวแทนจำหน่าย สิ่งแวดล้อมของบริษัท ผู้อำนวยการ การตลาด
Marketing Organization & Implementation System Demographic & Economic Environment Technological & Natural (Physical) Environment Intermediaries Information System Marketing Planning System Marketing Product ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อกลยุทธ์การตลาดของบริษัท Marketing System Target Customers Suppliers Price Place Publics Promotion Marketing Control System Marketing Organization & Implementation System Political & Legal Environment Competitors Social & Cultural Environment 102304 การจัดการการตลาด
การวิเคราะห์ SWOT ( SWOT analysis ) สิ่งแวดล้อมภายใน : จุดแข็ง ( Strengths ) จุดอ่อน ( Weaknesses ) สิ่งแวดล้อมภายนอก : โอกาส (Opportunities) อุปสรรค ( Threats )
การวิเคราะห์ SWOT( SWOT analysis ) วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมภายใน จุดแข็ง ( Strengths ) 1.จุดแข็งทางการตลาด : 4Ps, การบริหารการตลาด,หน้าที่ ทางการตลาด 2.จุดแข็งด้านการเงิน 3.จุดแข็งด้านการผลิต 4.จุดแข็งด้านบุคลากร 5.จุดแข็งด้านอื่นๆ ภาพพจน์ จุดอ่อน ( Weaknesses ) 1.จุดอ่อนทางการตลาด: 4Ps, การบริหารการตลาด,หน้าที่ ทางการตลาด 2.จุดอ่อนทางการเงิน 3.จุดอ่อนทางด้านการผลิต 4.จุดอ่อนด้านบุคลากร 5.จุดอ่อนด้านอื่น ๆ ภาพพจน์
การวิเคราะห์ SWOT(SWOT analysis ) วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมภายนอก โอกาส ( Opportunities ) 1. สิ่งแวดล้อมจุลภาค : ตลาด , Supplier , คนกลาง,คู่แข่งขัน 2. สิ่งแวดล้อมมหภาค : ประชากร ,เศรษฐกิจ,เทคโนโลยี ,สังคมและวัฒนธรรม ,การเมืองและกฎหมาย ,สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ อุปสรรค ( Threats ) 1. สิ่งแวดล้อมจุลภาค : ตลาด , Supplier, คนกลาง,คู่แข่งขัน 2. สิ่งแวดล้อมมหภาค : ประชากร ,เศรษฐกิจ, เทคโนโลยี , สังคมและวัฒนธรรม ,การเมืองและกฎหมาย , สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมทางการตลาด ( Marketing environment ) หมายถึง สิ่งแวดล้อมภายนอกและสิ่งแวดล้อมภายในที่มีอิทธิพลต่อ การบริหารการตลาดของบริษัท ซึ่งอาจจะสร้างโอกาสหรือทำให้เกิดอุปสรรคกับธุรกิจก็ได้ แบ่งเป็น 2 ประเภท 1.1 สิ่งแวดล้อมมหภาค(Macroenvironment) 1.2 สิ่งแวดล้อมจุลภาค(Microenvironment)
1.1 สิ่งแวดล้อมจุลภาค(Microenvironment) ลูกค้า (Customers) ผู้จำหน่ายวัตถุดิบและชิ้นส่วนประกอบ (Suppliers) การเติบโตและการถดถอยของอุตสาหกรรมการจำหน่ายวัตถุดิบ การรวมตัวกันและการแยกตัวของอุตสาหกรรมการจำหน่ายวัตถุดิบ ผู้จำหน่ายวัตถุดิบที่สามารถประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ ๆ ได้ คนกลางและตัวแทนจำหน่าย (Intermediaries) คู่แข่งขัน (Competitors)
1.2 สิ่งแวดล้อมมหภาค(Macroenvironment) การวิเคราะห์ความต้องการและแนวโน้มในสิ่งแวดล้อมมหภาค Fad (ความเห่อ) สิ่งที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดคิดมาก่อน มีอายุสั้น Trends (แนวโน้ม) เกิดขึ้นทนทานกว่าและคาคคะแนได้ดีกว่า Megatrend (แนวโน้มขนาดใหญ่) เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี การเมือง เศรษฐกิจและสังคมอย่างมาก ก่อตัวขึ้นช้า ๆ แต่จะมีอิทธิพลต่อชีวิตเราเป็นเวลา 7-10 ปี
สิ่งแวดล้อมมหภาค สิ่งแวดล้อมทางด้านประชาการศาสตร์ การเติบโตของประชากรทั่วโลก ส่วนผสมของอายุของประชากร(generation Y) ตลาดเชื้อชาติ หรือคนกลุ่มน้อย กลุ่มผู้ศึกษา คือ อ่านหนังสือไม่ออก เรียนไม่จบมัธยม จบมัธยมปลาย จบมหาวิทยาลัยและจบทางด้านวิชาชีพ แบบของครัวเรือน การเปลี่ยนแปลงทางภูมิศาตร์ของประชากร(การย้ายถิ่นฐาน) การเปลี่ยนแปลงจากตลาดมวลชนมาเป็นตลาดเล็ก ๆ อ.จริยา ศรีจรูญ 102304 การจัดการการตลาด
สิ่งแวดล้อมมหภาค 2. สิ่งแวดล้อมทางเศษฐกิจ วัฎจักรของเศรษฐกิจ 4 ขั้นตอน วัฎจักรของเศรษฐกิจ 4 ขั้นตอน รุ่งเรือง (Boom) ถดถอย (Recession) ตกต่ำ (Depression) ฟื้นฟู (Recovery)
สิ่งแวดล้อมมหภาค การกระจายรายได้ กำหนดตามโครงสร้างของอุตสาหกรรม 4 ประเภท คือ เศษฐกิจพอเพียง เศษฐกิจการส่งออกวัตถุดิบ เศรษฐกิจที่เริ่มมีการทำอุตสาหกรรม เศรษฐกิจอุตสาหกรรม รวมทั้งนักการตลาดต้องคอยดู เรื่อง “การประหยัด หนี้สินและการให้สินเชื่อ”
สิ่งแวดล้อมมหภาค 3. สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ (Natural Environment) เกิดแนวโน้ม 4 ประการคือ การขาดแคลนวัตถุดิบ ต้นทุนพลังงานเพิ่มขึ้น ระดับมลภาวะเป็นพิษเพิ่มมากขึ้น การเปลี่ยนแปลงบทบาทของรัฐบาลในการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมมหภาค 4. สิ่งแวดล้อมทางเทคโนโลยี (Technology Environment) จากเทคโนโลยีใหม่ ทำให้เกิดแนวโน้มของเทคโนโลยี คือ การเพิ่มอัตราการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี โอกาสในการสร้างสิ่งประดิษฐ์ใหม่มีไม่จำกัด งบประมาณการวิจัยและพัฒนาที่แตกต่างกัน กฎหมายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีเพิ่มมากขึ้น
สิ่งแวดล้อมมหภาค 5. สิ่งแวดล้อมทางการเมืองและกฎหมาย การบัญญัติกฎหมายควบคุมธุรกิจ การเจริญเติบโตของกลุ่มพิทักษ์ผลประโยชน์ต่าง ๆ ผู้บริโภค (สคบ)
สิ่งแวดล้อมมหภาค 6. สิ่งแวดล้อมทางด้านสังคมและวัฒนธรรม คุณสมบัติทางวัฒนธรรมที่นักการตลาดให้ความสนใจ คือ การยึดมั่นในค่านิยมหลักสำคัญทางวัฒนธรรม คุณสมบติของวัฒนธรรมย่อย การเปลี่ยนแปลงค่านิยมรองตามกาลเวลา