Prevention & Promotion Excellence (ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
สภาพปัญหา / สาเหตุของปัญหา กระบวนการวางแผน/แนวทางการพัฒนา
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การขับเคลื่อนนโยบาย และการดำเนินงานแบบบูรณาการ ของกระทรวงสาธารณสุข ปี 2559 โดย : นายแพทย์โสภณ เมฆธน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
แนวทางการตรวจราชการคุณภาพ เขตสุขภาพที่1
คณะตรวจราชการและนิเทศงาน
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ 17 ตุลาคม 2560
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
VDO Conference 14 มี.ค.60 ประเด็น ติดตามผลการดำเนินงานตัวชี้วัด ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (PA) เขตสุขภาพที่ 8.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
แนวทางการตรวจราชการ ปี 2561
สรุปผลการตรวจราชการ กรณีปกติ รอบที่ 2 ประจำปี 2560 เขตสุขภาพที่ 1
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี และคำรบรองการปฏิฟ้ติราชการ
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
การตรวจราชการ ประจำปี 2560
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
43 แฟ้มกับงานทันตกรรม 1. Standard Data Set 43 แฟ้ม
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
คณะกรรมการพัฒนาสุขภาพระดับกลุ่มบริการ (คพสก.)
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
นายแพทย์ธีรพล โตพันธานนท์ รองอธิบดีกรมอนามัย
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บจากจราจรทางถนน
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ที่มีคุณภาพ ร้อยละ 50.
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 2 (1 ต.ค. 60 – 31 มี.ค. 61) เขตสุขภาพที่ 12.
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
P S G 5P MODEL Policy PASSION PLANNING PEOPLE PROCESS PERFORMANCE
ประเด็นและแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 ปีงบประมาณ 2560 การส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันโรค และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ.
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 1 (1 ต.ค. 60 – 31 ธ.ค. 60) เขตสุขภาพที่ 12.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
กำหนดการ การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับฯ รอบที่ 2 ประจำปี 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Key Performance Indicator ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงพยาบาลสันทราย อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่

Prevention & Promotion Excellence (ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค) 1 Prevention & Promotion Excellence (ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค) 2 Service Excellence (บริการเป็นเลิศ) 3 People Excellence (บุคลากรเป็นเลิศ) 4 Governance Excellence (บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล)

4 Excellence Excellence Prevention & Promotion Excellence คำรับรองการปฏิบัติราชการ กระทรวงสาธารณสุข (PA) ประเด็นตรวจราชการ Prevention & Promotion Excellence 12 ตัวชี้วัด 17 ตัวชี้วัด 29ตัวชี้วัด Service Excellence People Excellence 1 ตัวชี้วัด 3 ตัวชี้วัด 4ตัวชี้วัด Governance Excellence 5 ตัวชี้วัด 6 ตัวชี้วัด 11ตัวชี้วัด รวม 4 Excellence 30 ตัวชี้วัด 43 ตัวชี้วัด 73ตัวชี้วัด

1.Prevention & Promotion Excellence (ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค) แผนงานที่1 การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย (ด้านสุขภาพ) แผนงานที่2 การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ แผนงานที่3 การลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ แผนงานที่4 การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม PA = ตัวชี้วัดตามรับรองการปฏิบัติราชการปี 2560 I = ตัวชี้วัดตามประเด็นการตรวจราชการปี 2560 T = ตัวชี้วัดตามแผนพัฒนายุทธศาสตร์ 4

แผนที่1 การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย(ด้านสุขภาพ) ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย แหล่งข้อมูล 1.ร้อยละสถานบริการสุขภาพที่มีการคลอด มาตรฐาน ร้อยละ 60 - 2.อัตราส่วนการตายมารดาไทยไม่เกิน ๑๕: การเกิดมีชีพแสนคน (ปี 64 ) ไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน I 3.ร้อยละ เด็ก ๐-๕ ปีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 กิจกรรมบำบัด,PCU,รพ สต I , PA 4.ร้อยละ เด็ก ๐-๕ ปีสูงดีสมส่วนและส่วนสูง เฉลี่ยที่อายุ ๕ ปี ร้อยละ 51 1.การคลอดมาตรฐาน = 1.มีสถานที่และอุปกรณ์ได้มาตรฐาน 2.มีบุคลากรที่สามารถให้การดูแลผู้คลอดที่มีความเสี่ยงต่ำ/ความเสี่ยงสูง 3.มีระบบการให้บริการตามเกณฑ์ 4. มีการติดตามและประเมินผลการคลอดมาตรฐาน 5.มีการทบทวน การดูแลรักษามารดาตายที่เสียชีวิตจากการคลอดตามเกณฑ์ 2. ฐานข้อมูลการตายทะเบียนราษฎร์ , โรงพยาบาล. , สำรวจการตายโดยกรมอนามัย แบบรายงาย CE 4. ตัวชี้วัด สูงดีสมส่วน : A1 /B1* 100 (ร้อยละ 51) หน้า 25-31 A1 = จำนวนเด็กอายุ 0-5ปี สูงดีสมส่วน B 1= จำนวนเด็กอายุ 0-5ปี ที่ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงทั้งหมด เป้าหมาย : เด็กอายุ 0-5 ปี ระยะเวลาในการประเมิน : เด็กอายุ 0-5 ปี ไตรมาส 1234 / สำรวจภาวะการเจริญเติบโตเด็ก เด็กอายุ 0-5 ปี ทุกๆ 3 ปี รพ.สต และ PCU ของโรงพยาบาลบันทึกข้อมูลใน JHCIS HosXP และส่งใน 43 แฟ้ม

แผนที่1 การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย(ด้านสุขภาพ) ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย แหล่งข้อมูล 5.เด็กไทยมีระดับสติปัญญาเฉลี่ย ไม่ต่ำกว่า100 ปี 64 ไม่ต่ำกว่า 100 - 6.ร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน ร้อยละ 66 PCU , รพ สต I 7.ร้อยละของเด็กไทยมีความฉลาดทาง อารมณ์ (EQ) อยู่ในเกณฑ์ปกติขึ้นไป ปี 64 ร้อยละ 70 8.ร้อยละของเด็กกลุ่มอายุ 0-12 ปีฟันดีไม่มีผุ (cavity free) ร้อยละ 52 ทันตกรรม 1.การคลอดมาตรฐาน = 1.มีสถานที่และอุปกรณ์ได้มาตรฐาน 2.มีบุคลากรที่สามารถให้การดูแลผู้คลอดที่มีความเสี่ยงต่ำ/ความเสี่ยงสูง 3.มีระบบการให้บริการตามเกณฑ์ 4. มีการติดตามและประเมินผลการคลอดมาตรฐาน 5.มีการทบทวน การดูแลรักษามารดาตายที่เสียชีวิตจากการคลอดตามเกณฑ์ 2. ฐานข้อมูลการตายทะเบียนราษฎร์ , โรงพยาบาล. , สำรวจการตายโดยกรมอนามัย แบบรายงาย CE 4. ตัวชี้วัด สูงดีสมส่วน : A1 /B1* 100 (ร้อยละ 51) หน้า 25-31 A1 = จำนวนเด็กอายุ 0-5ปี สูงดีสมส่วน B 1= จำนวนเด็กอายุ 0-5ปี ที่ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงทั้งหมด เป้าหมาย : เด็กอายุ 0-5 ปี ระยะเวลาในการประเมิน : เด็กอายุ 0-5 ปี ไตรมาส 1234 / สำรวจภาวะการเจริญเติบโตเด็ก เด็กอายุ 0-5 ปี ทุกๆ 3 ปี รพ.สต และ PCU ของโรงพยาบาลบันทึกข้อมูลใน JHCIS HosXP และส่งใน 43 แฟ้ม

แผนที่1 การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย(ด้านสุขภาพ) ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย แหล่งข้อมูล 9. อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15 - 19 ปี ไม่เกิน50 ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี 1000 คน ห้องคลอด I , PA 10.ร้อยละของประชาชนวัยทำงาน มีค่าดัชนีมวลกายปกติ ร้อยละ 54 - 11.ประชากรไทยอายุตั้งแต่ 15 ปี ขึ้นไป มีกิจกรรมทางกาย เพียงพอต่อสุขภาพ ปี64 ร้อยละ 84 12.ร้อยละของตำบลที่มีระบบส่งเสริม สุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการและ ผู้ด้อยโอกาสและการดูแลระยะยาว ในชุมชน (Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ สสอ

แผนที่1 การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย(ด้านสุขภาพ) ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย แหล่งข้อมูล 13.ร้อยละของ Healthy Ageing อัตราของ Health aging เพิ่มขึ้นหรือคงที่จากปี 59 T 14.ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ ภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง I 15.อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วย วัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ ร้อยละ 85 TB I , PA 15. การจัดเก็บข้อมูล แบบฟอร์ม TB08 แหล่งข้อมูล แบบฟอร์ม TB08 , โปรแกรม TBCM2010 ,โปรแกรม TBCM online

แผนที่ 2 การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย แหล่งข้อมูล 16.ร้อยละของกลุ่มประชากรหลักที่ เข้าถึงบริการ ป้องกันโรคเอดส์และ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เชิงรุก ร้อยละ 85 AIDS - 17.ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรค พยาธิใบไม้ตับ(โครงการพระราชดำริ) ร้อยละ 80 NCD 18.อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของ เด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี น้อยกว่า หรือเท่ากับ 5 ER I 19.อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ ทางถนน ลดลง 30 % จากปี 2554 ไม่เกิน 24.49 ต่อแสนประชากร I , PA 16. การจัดเก็บข้อมูล จากระบบ RIHIS 17. การจัดเก็บข้อมูล โปรแกรม Isan-cohort 18. การจัดเก็บข้อมูล การแจ้งตายจากทะเบียนราษฎร์ของกระทรวงมหาดไทยโดย สนย , 43 แฟ้ม 19. แหล่งข้อมูล ข้อมูลการตายจากใบมรณะ , จากระบบ Polis ของำนักงานตำตรวจแห่งชาติ , ระบบ e-claim ของบริษัทกลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ

แผนที่ 3 การลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย แหล่งข้อมูล 20.อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือ เบาหวานรายใหม่ NCD I , PA 21.ร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหาร แปรรูปมีความปลอดภัย ร้อยละ 80 คบ. I , PA 22.ร้อยละของประชาชนที่มีพฤติกรรมการ บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง ร้อยละ 70 จังหวัด - 23.ความชุกของผู้สูบบุหรี่ของประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป ร้อยละ 18

แผนที่ 3 การลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย แหล่งข้อมูล 24.ปริมาณการบริโภคแอลกอฮอล์ต่อ ประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไป (ลิตรของแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ต่อคนต่อปี) ร้อยละ 6.81 จังหวัด - 25.ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพย์ติดที่หยุดเสพ ต่อเนื่อง3 เดือน หลังจำหน่ายจากการ บำบัดรักษาตามเกณฑ์กำหนด ร้อยละ 92 งานสุขภาพจิต I 26.ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการ ตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ 95 คบ I , PA

แผนที่ 4 การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย แหล่งข้อมูล 27.ร้อยละของสถานพยาบาลและสถาน ประกอบการเพื่อสุขภาพได้รับการตรวจสอบ มาตรฐานตาม เกณฑ์ที่กำหนด สถานประกอบการเพื่อสุขภาพได้รับการตรวจผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80 , สถานพยาบาลได้รับการตรวจผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 100 คบ. I , PA 28.ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัย สิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital ENV 29.จำนวนจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง จากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพอย่างบูรณาการมี ประสิทธิภาพและยั่งยืน จังหวัด - 28.ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital --หน้า 104---

2. Service Excellence (บริการเป็นเลิศ) แผนงานที่ 5 การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ Primary Care Cluster แผนงานที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ แผนงานที่ 7 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ แผนงานที่ 8 การพัฒนาคุณภาพหน่วยงานบริการด้านสุขภาพ แผนงานที่ 9 การพัฒนาตามโครงการพระราชดำริและพื้นที่เฉพาะ แผนงานที่ 10 ประเทศไทย 4.0 ด้านสาธารณสุข ตัวหนังสือสี่แดง = ตัวหนังสือที่แดงตัวหนา = 13

แผนที่ 5 การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย แหล่งข้อมูล 30. ร้อยละของพื้นที่ที่มีคลินิกหมอครอบครัว (Primary Care Cluster) ปี 61 I , PA 31.ร้อยละของอำเภอที่มี District Health System (DHS) คุณภาพ ร้อยละ 95 สสอ + รพ.สต -

แผนที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย แหล่งข้อมูล 32.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) มากกว่าหรือเท่ากับ 80 % NCD I 33. ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ ** เบาหวาน : (เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5 % จากปี 2559 หรือมากกว่า 40 %) ** ความดันโลหิตสูง : (เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5 % จากปี 2559 หรือมากกว่า 50 %) I , PA

แผนที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย แหล่งข้อมูล 34.อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ร้อยกว่าหรือเท่ากับร้อยละ7 งานหลอดเลือดสมอง I , PA 35.อัตราการเกิดการกำเริบเฉียบพลันในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ไม่เกิน 130 ครั้งต่อแสนประชากร COPD I 36.ร้อยละของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่าง สมเหตุสมผล เภสัช 37.ร้อยละการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตสุขภาพ ลดลง ร้อยละ 10 ต่อปี

แผนที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย แหล่งข้อมูล 38. อัตราตายทารกแรกเกิด อายุน้อยกว่าหรือ เท่ากับ 28 วัน ร้อยละ4 NICU I 39. ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีการดูแลแบบ ประคับประคอง (Palliative Care) HBS T 40. ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์ แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้ มาตรฐาน ร้อยละ18.5 แพทย์แผนไทย 41. ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ สุขภาพจิต ร้อยละ50 งานสุขภาพจิต ข้อมูลการตาย สนย , รายงาย รง506 S

แผนที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย แหล่งข้อมูล 42.อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ น้อยกว่าหรือเท่กับ 6.3 ต่อประชากรแสนคน I , PA 43. อัตราตายจากติดเชื้อ (Sepsis) อัตราเสียชีวิตจาก community-acquired sepsis 30 , อัตราเสียชีวิตจากhospital-acquired sepsis or healthcare-acquired sepsis 40 ข้อมูลการตาย สนย , รายงาย รง506 S

แผนที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย แหล่งข้อมูล 44. ร้อยละโรงพยาบาลตั้งแต่ระดับ F2 ขึ้นไป สามารถให้ยาละลายลิ่มเลือด (Fibrinolytic drug) ในผู้ป่วย STEMI ได้ ร้อยละ 100 หลอดเลือดหัวใจ/ ER I , PA 45.อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ ร้อยละ 28 หลอดเลือดหัวใจ -I , PA 46.ลดระยะเวลารอคอย ผ่าตัด เคมีบำบัด รังสี รักษา ของมะเร็ง 5 อันดับแรก 47.อัตราตายจากโรคมะเร็งตับ ร้อยละ 23.5 PA

แผนที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย แหล่งข้อมูล 48.อัตราตายจากมะเร็งปอด ร้อยละ 18 T 49.ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR<4 ml/min/1.73m2/yr มากกว่าหรือเท่ากับ 65 งานไต I , PA 50.ร้อยละหน่วยบริการปฐมภูมิจัดบริการ ทันตกรรม ร้อยละ 50 51.จำนวนการปลูกถ่ายไตสำเร็จ I

แผนที่ 7 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจร และระบบการส่งต่อ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย แหล่งข้อมูล 52.ร้อยละของ ER คุณภาพในโรงพยาบาล ระดับ F2 ขึ้นไป ร้อยละ 70 ER I , PA 53.ร้อยละของ ER คุณภาพในโรงพยาบาล ร้อยละ 75 T 54.ร้อยละ EMS คุณภาพใน รพ. ทุกระดับ เชิงคุณภาพ 55.อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ (Trauma) น้อยกว่าร้อยละ 1 I

แผนที่ 8 การพัฒนาคุณภาพหน่วยงานบริการด้านสุขภาพ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย แหล่งข้อมูล 56.ร้อยละหน่วยบริการผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 2P safety T 57.ร้อยละของหน่วยบริการที่ผ่านการรับรอง คุณภาพโรงพยาบาล (HA) HA I , PA 58.ร้อยละของ รพ.สต. ในแต่ละอำเภอที่ผ่าน เกณฑ์ระดับการพัฒนาคุณภาพ ร้อยละ 10 รพ สต สสอ

แผนที่ 10 ประเทศไทย 4.0 ด้านสาธารณสุข แผนที่ 10 ประเทศไทย 4.0 ด้านสาธารณสุข ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย แหล่งข้อมูล 59.ร้อยละของสถานพยาบาลกลุ่มเป้าหมายได้รับ การส่งเสริมพัฒนาระบบบริการสุขภาพให้มี มาตรฐานสากล

People Excellence (บุคลากรเป็นเลิศ) ตัวหนังสือสี่แดง = ตัวหนังสือที่แดงตัวหนา = 24

แผนที่ 11 การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย แหล่งข้อมูล 60.ร้อยละของหน่วยงานที่มีการนำดัชนีความสุข ของคนทำงาน (Happy Work Life Index) และ MOPH ไปใช้ ร้อยละ 50 HRD I , PA 61.ร้อยละของหน่วยงานที่มีการนำดัชนีองค์กร ที่มีความสุข (Happy work place index) ไปใช้ 62.อัตราการสูญเสียบุคลากรด้านสุขภาพ (Loss Rate) ตัวหนังสือสี่แดง = ตัวหนังสือที่แดงตัวหนา = 25

4. Governance Excellence (บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล)

แผนที่ 12 การพัฒนาระบบธรรมภิบาลและคุณภาพการบริการภาครัฐ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย แหล่งข้อมูล 63.ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวง สาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA I , PA 64.ร้อยละของการจัดซื้อร่วมของยา เวชภัณฑ์ที่ ไม่ใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์ และวัสดุทันตกรรม เภสัช I 65.ร้อยละของหน่วยงานภายในกระทรวง สาธารณสุขมีระบบการควบคุมภายในที่ได้ มาตรฐานตามที่สำนักการตรวจเงินแผ่นดิน กำหนด

แผนที่ 14 การบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย แหล่งข้อมูล 66.ร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ ฉุกเฉินปี 2560 ร้อยละ 95.5 I 67.ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤต ทางการเงิน I , PA