งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการตรวจราชการ ปี 2561

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการตรวจราชการ ปี 2561"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการตรวจราชการ ปี 2561
คณะที่ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ นพ.ณรงค์ สายวงศ์ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 7 Promotion Prevention & Protection Excellence

2 การตรวจราชการและกำกับติดตามนโยบายสำคัญปี 2561 คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการจัดการสุขภาพ

3 คณะที่ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการจัดการสุขภาพ ( 5 ประเด็นหลัก /12 KPIs)
ตัวชี้วัด (*) หมายถึง ลำดับตัวชี้วัดตาม Template กยผ. หน่วยงานหลัก 1.การพัฒนาสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย 1 (2) อัตราส่วนการตายมารดาไทย กรมอนามัย 2 (3) ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย 3 (4) ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่ อายุ 5 ปี 2.การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยเรียนและวัยรุ่น 4 (8) ร้อยละเด็กกลุ่มอายุ 0-12 ปีฟันดีไม่มีผุ (Cavity free) 5 (9) อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี 3.การพัฒนาสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุ 6 (11) ร้อยละของตำบลที่มีระบบ Long Term Care ผ่านเกณฑ์ 4.การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ 7 (13) ร้อยละของ คกก.พัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ที่มีคุณภาพ กบส./สสว. 5. การลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ 8 (14) ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง กรมควบคุมโรค 9 (17) อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี 10 (18) อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน 11 (19) อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน และอัตรากลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน 12 (23) ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN and CLEAN Hospital

4 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
การตรวจราชการและกำกับติดตามนโยบายสำคัญปี 2561 คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการจัดการสุขภาพ สถานการณ์ อัตราส่วนการตายมารดาต่อแสนการเกิดมีชีพในปีงบประมาณ 2558–2559 เท่ากับ และ ตามลำดับ สถานการณ์มารดาตายตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 – มิถุนายน 2560 มีรายงานมารดาตาย จำนวน 88 ราย คิดเป็นอัตราส่วนการตายมารดาเท่ากับ ต่อการเกิดมีชีพแสนคน (ไม่รวมกรุงเทพมหานคร) ประเด็น รายละเอียด ตัวชี้วัดที่ 1 อัตราส่วนการตายมารดาไทย (ไม่เกิน 20 ต่อแสนการเกิดมีชีพ) การตรวจราชการ ที่มุ่งเน้น 1.มีระบบบริหารจัดการ MCH Board คุณภาพ และขับเคลื่อนการดำเนินงาน 2.มีการจัดการการตั้งครรภ์เสี่ยง และลดปัจจัยเสี่ยงอย่างมีคุณภาพ 3.มีการสร้างภาคีเครือข่าย (Zoning) 4.มีระบบบริการที่มีคุณภาพ (ANC, LR, PP) 5.มารดาตายจากการป้องกันได้ลดลง (PPH, PIH) เป้าหมาย หญิงตั้งครรภ์ คลอด และหลังคลอดภายใน 42 วัน หน่วยงานที่รับผิดชอบ กรมอนามัย การจัดเก็บข้อมูล 1. โรงพยาบาลที่เกิดกรณีแม่ตายรายงาน สสจ.ภายใน24 ชั่วโมง สสจ.รายงานศูนย์อนามัยภายใน7วัน 2. รายงานสืบสวนการตาย (CE) จาก สสจ.ไปยังศูนย์อนามัยและกรมอนามัยภายใน 30 วัน 3. รายงานผลการ Conference maternal death case

5 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
การตรวจราชการและกำกับติดตามนโยบายสำคัญปี 2561 คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการจัดการสุขภาพ การตรวจราชการและกำกับติดตามนโยบายสำคัญปี 2561 คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการจัดการสุขภาพ สถานการณ์ พัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย ในเวลา 18 ปีที่ผ่านมามีปัญหา เมื่อพบว่าเด็กปฐมวัยร้อยละ 30 มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า (Denver II) ผลการคัดกรองพัฒนาการในช่วงรณรงค์เดือนกรกฎาคม พบว่า ในปี 2560 ความครอบคลุมการคัดกรอง ร้อยละ 94.9 พัฒนาการสงสัยล่าช้า ร้อยละ 24.1 (DSPM) ประเด็น รายละเอียด ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย (ร้อยละ 85) การตรวจราชการ ที่มุ่งเน้น 1.ความครอบคลุมในการตรวจ 4 ช่วงอายุ 9, 18, 30, 42 เดือน 2.ค้นหาพัฒนาการสงสัยล่าช้าไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 3.เด็กพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการติดตามและกระตุ้นร้อยละ 100 เป้าหมาย เด็กไทยอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน ทุกคนที่อยู่อาศัยในพื้นที่รับผิดชอบ หน่วยงานที่รับผิดชอบ กรมอนามัย การจัดเก็บข้อมูล 1. บันทึกข้อมูลในโปรแกรมหลักของสถานบริการใน 4 ช่วงอายุ 9, 18, 30, 42 และได้รับการตรวจอย่างมีประสิทธิภาพ ส่งออกข้อมูลตามมาตรฐานโครงสร้าง 43 แฟ้ม 2. ศูนย์อนามัย รวมรวบข้อมูล วิเคราะห์ เขียนรายงานรายไตรมาส ส่งกรมอนามัย

6 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
การตรวจราชการและกำกับติดตามนโยบายสำคัญปี 2561 คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการจัดการสุขภาพ การตรวจราชการและกำกับติดตามนโยบายสำคัญปี 2561 คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการจัดการสุขภาพ สถานการณ์ จากรายงาน HDC ไตรมาส 4 ปี 2560 เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วนร้อยละ ซึ่งยังต่ำกว่าค่าเป้าหมายปี 2560 (ร้อยละ 51) ประเด็น รายละเอียด ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละของเด็ก สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี (ร้อยละ 54) การตรวจราชการ ที่มุ่งเน้น 1.ระบบและกลไกการบริหารจัดการและการขับเคลื่อนงาน 2.การพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกระดับ 3.ส่งเสริม กิน กอด เล่น เล่า นอน เฝ้าดูฟัน เป้าหมาย เด็กอายุ 0-5 ปี หน่วยงานที่รับผิดชอบ กรมอนามัย การจัดเก็บข้อมูล 1) รพ.สต. และ PCU ของโรงพยาบาลนำข้อมูลน้ำหนักส่วนสูงของเด็กบันทึกในโปรแกรมหลักของสถานบริการ เช่น JHCIS, HosXP PCU เป็นต้น และส่งออกข้อมูลตามโครงสร้างมาตรฐาน 43 แฟ้ม 2) การสำรวจทุก 3 ปี

7 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
การตรวจราชการและกำกับติดตามนโยบายสำคัญปี 2561 คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการจัดการสุขภาพ การตรวจราชการและกำกับติดตามนโยบายสำคัญปี 2561 คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการจัดการสุขภาพ สถานการณ์ จากข้อมูลรายงาน HDC ปี 2560 พบว่าเด็กกลุ่มอายุ 3 ปี ปราศจากฟันผุร้อยละ 71.7 ส่วนเด็กกลุ่มอายุ 12 ปี ปราศจากฟันผุร้อยละ เด็ก 12 ปีฟันดีไม่มีผุ ร้อยละ 71.9 ประเด็น รายละเอียด ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็กกลุ่มอายุ 0-12 ปีฟันดีไม่มีผุ (cavity free) (ร้อยละ 54) การตรวจราชการ ที่มุ่งเน้น 1.สร้างการมีส่วนร่วมกับ สพป./ภาคีเครือข่ายในการพัฒนาโมเดลต้นแบบ 2.จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อทันตสุขภาพ เป้าหมาย เด็กกลุ่มอายุ 12 ปี หน่วยงานที่รับผิดชอบ กรมอนามัย การจัดเก็บข้อมูล เจ้าหน้าที่หน่วยบริการบันทึกข้อมูลในแฟ้ม Service และ Dental ในฐานข้อมูล 43 แฟ้ม

8 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
การตรวจราชการและกำกับติดตามนโยบายสำคัญปี 2561 คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการจัดการสุขภาพ การตรวจราชการและกำกับติดตามนโยบายสำคัญปี 2561 คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการจัดการสุขภาพ สถานการณ์ อัตราการคลอดของวัยรุ่นอายุ ปีต่อประชากรหญิงอายุ ปี 1,000 คน นั้นพบว่า มีแนวโน้มลดลงเรื่อยๆ ในระยะ 5 ปีที่ผ่านมาอัตราการคลอด พ.ศ เท่ากับ 53.4, 51.2, 47.9, 44.8 และ 42.5 ตามลำดับ โดยอัตราการคลอดในปี สูงกว่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ไม่เกิน 42 ต่อประชากรหญิงอายุไม่เกิน ปี 1,000 คน รายงาน HDC ปี 2560 วัยรุ่นอายุน้อยกว่า 20 ปี ตั้งครรภ์ซ้ำสูงถึง ร้อยละ 16.9 ประเด็น รายละเอียด ตัวชี้วัดที่ 5 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ15-19 ปี (ไม่เกิน 40 ต่อประชากรหญิงอายุ ปี 1,000 คน) การตรวจราชการ ที่มุ่งเน้น 1.ดำเนินการตาม พรบ.การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 2.พัฒนาโรงพยาบาลตามมาตรฐาน (YFHS) และอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ 3.อัตราการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นลดลง เน้น การคุมกำเนิดกึ่งถาวร เป้าหมาย ผู้หญิงอายุ 15–19 ปี ที่มีการคลอดบุตรมีชีพในระหว่างปีที่ทำการเก็บข้อมูล หน่วยงานที่รับผิดชอบ กรมอนามัย การจัดเก็บข้อมูล เก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้หญิง อายุ 15 – 19 ปี จากข้อมูลในระบบ HDCในรอบการคำนวณนั้นนำมาปรับ (adjusted) กับค่าสัดส่วนระหว่างข้อมูลการคลอดมีชีพจากฐานทะเบียนราษฎร์หารด้วยข้อมูลการคลอดในระบบ HDC ในปีที่ผ่านมา

9 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
การตรวจราชการและกำกับติดตามนโยบายสำคัญปี 2561 คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการจัดการสุขภาพ การตรวจราชการและกำกับติดตามนโยบายสำคัญปี 2561 คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการจัดการสุขภาพ สถานการณ์ ตำบลทั่วประเทศประมาณ 7,255 ตำบล แต่การดำเนินงาน Long Term Care ตั้งแต่ ปี พ.ศ จนถึงปัจจุบัน พบว่า มีจำนวนตำบลที่เข้าร่วมโครงการฯ ทั้งสิ้น 4,512 ตำบล และผ่านเกณฑ์ตำบล Long Term Care มีจำนวนทั้งสิ้น 3,718 ตำบลคิดเป็นร้อยละ 82.4 ประเด็น รายละเอียด ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละตำบลที่มีระบบ Long Term Care ผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ 60) การตรวจราชการ ที่มุ่งเน้น 1.พัฒนา CG, CM, Care plan 2.เพิ่มการเบิกจ่ายของกองทุน LTC เป้าหมาย ผู้สูงอายุทุกคนทั่วประเทศ ดำเนินการทุกจังหวัด ทุกอำเภอทั่วประเทศ หน่วยงานที่รับผิดชอบ กรมอนามัย การจัดเก็บข้อมูล 1. พื้นที่จังหวัด รายงานทาง หรือระบบการรายงานข้อมูล Long Term Care ให้กับศูนย์อนามัยเขต ที่ 1 – /สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง /ศูนย์อนามัยกลุ่มชาติพันธุ์ ชายขอบและแรงงานข้ามชาติ ตามรอบการรายงาน 3, 6, 9, 12 เดือน 2. ศูนย์อนามัยเขตที่ 1 – 12 /สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง / ศูนย์อนามัยกลุ่มชาติพันธุ์ ชายขอบและแรงงานข้ามชาติ รายงานข้อมูลให้สำนักอนามัยผู้สูงอายุ (หน่วยงานเจ้าภาพหลัก) ตามรอบการรายงาน 3, 6, 9, 12 เดือน

10 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
การตรวจราชการและกำกับติดตามนโยบายสำคัญปี 2561 คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการจัดการสุขภาพ การตรวจราชการและกำกับติดตามนโยบายสำคัญปี 2561 คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการจัดการสุขภาพ สถานการณ์ พื้นที่นำร่อง ในปี 2559 จำนวน 73 อำเภอ MOU ใน 73 พื้นที่สู่การขยายผลเป็น 200 พื้นที่ ประเด็น รายละเอียด ตัวชี้วัดที่ 7 ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)ที่มีคุณภาพ (ร้อยละ 50) การตรวจราชการ ที่มุ่งเน้น 1.คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ(พชอ.) 2.แผนปฏิบัติการแก้ปัญหาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ 3.การบริหารจัดแก้ไขปัญหาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอด้วยกระบวนการ UCCARE เป้าหมาย อำเภอที่มีคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) หน่วยงานที่รับผิดชอบ กองบริหารการสาธารณสุข การจัดเก็บข้อมูล การรายงาน สำนักงานเขตสุขภาพ / สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด /สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ/โรงพยาบาล

11 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
การตรวจราชการและกำกับติดตามนโยบายสำคัญปี 2561 คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการจัดการสุขภาพ การตรวจราชการและกำกับติดตามนโยบายสำคัญปี 2561 คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการจัดการสุขภาพ สถานการณ์ ปี 2560 ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง(ขั้นพื้นฐาน) ร้อยละ 100 ประเด็น รายละเอียด ตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้ สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง (ร้อยละ 85) การตรวจราชการ ที่มุ่งเน้น 1.พัฒนาผู้บัญชาการเหตุการณ์ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) ระดับจังหวัด 2.จัดเตรียมการเฝ้าระวังและประเมินสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ และทีมปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระดับจังหวัด 3.ซ้อมแผนและการเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) เน้นคุณภาพระบบ EOC เป้าหมาย ทุกจังหวัด หน่วยงานที่รับผิดชอบ กรมควบคุมโรค การจัดเก็บข้อมูล รวบรวมข้อมูลจากผลการดำเนินงานระดับจังหวัด

12 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
การตรวจราชการและกำกับติดตามนโยบายสำคัญปี 2561 คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการจัดการสุขภาพ การตรวจราชการและกำกับติดตามนโยบายสำคัญปี 2561 คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการจัดการสุขภาพ สถานการณ์ เด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี เสียชีวิตจากการจมน้ำสูงเป็นอันดับ 1 เฉลี่ยปีละ 1,016 คน (ปี พ.ศ ) ซึ่งลดลงมากกว่าร้อยละ 50 นับตั้งแต่ปลายปี 2549 ปี พ.ศ (ข้อมูล ณ วันที่ 9 ตุลาคม 2560) เท่ากับ 713 คน หรืออัตราต่อประชากรแสนคน เท่ากับ 6.2 ประเด็น รายละเอียด ตัวชี้วัดที่ 9 อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี (< 4.5) ต่อประชากรเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี แสนคน การตรวจราชการ ที่มุ่งเน้น ดำเนินการทีมผู้ก่อการดี 2.เฝ้าระวังครัวเรือนที่มีเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี 3.สอบสวนการจมน้ำของเด็กทุกราย เป้าหมาย เด็กที่มีอายุต่ำกว่า 15 ปี หน่วยงานที่รับผิดชอบ กรมควบคุมโรค การจัดเก็บข้อมูล รวบรวมข้อมูลการแจ้งตายจากฐานข้อมูลการตายทะเบียนราษฎร์ของกระทรวงมหาดไทย โดยกองยุทธศาสตร์และแผนงาน

13 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
การตรวจราชการและกำกับติดตามนโยบายสำคัญปี 2561 คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการจัดการสุขภาพ การตรวจราชการและกำกับติดตามนโยบายสำคัญปี 2561 คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการจัดการสุขภาพ สถานการณ์ ปี 2556 ประเทศไทยมีอัตราการเสียชีวิตเป็นอันดับ 2 ของโลก อัตราตาย 36.2 รายต่อแสนประชากร (ประมาณ 24,237 คน) และประเทศไทยยังเป็นอันดับ 1 ของเอเชียและอาเซียน ที่มีอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนสูงที่สุด และในปีงบประมาณ 2560 ที่ผ่านมา จากข้อมูลมรณะบัตร พบว่าอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนอยู่ที่ ต่อประชากรแสนคน ประเด็น รายละเอียด ตัวชี้วัดที่ 10 อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน (ไม่เกิน 16 ต่อประชากรแสนคน) การตรวจราชการ ที่มุ่งเน้น 1.มาตรการข้อมูล 4I (Integration of Data 3 ฐาน/ IS online/ Investigation/ information ) 2.มาตรการป้องกัน ACDR (Ambulance Safety/ Community Checkpoint/ DHS-RTI/ RTI officer) 3.มาตรการรักษา 2EIR (EMS/ ER/ In-hos คุณภาพ/ Referral System) เป้าหมาย ประชากรไทยทุกกลุ่มอายุ หน่วยงานที่รับผิดชอบ กรมควบคุมโรค การจัดเก็บข้อมูล รวบรวมข้อมูลการตายจากอุบัติเหตุทางถนนแยกเป็นรายเขต/จังหวัด กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

14 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
การตรวจราชการและกำกับติดตามนโยบายสำคัญปี 2561 คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการจัดการสุขภาพ การตรวจราชการและกำกับติดตามนโยบายสำคัญปี 2561 คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการจัดการสุขภาพ สถานการณ์ สถานการณ์ : ปี 2556 มีผู้เสียชีวิตจากโรคเบาหวานทั้งหมด 9,647 ราย หรือเฉลี่ยวันละ 27 คน คิดเป็นอัตราตายด้วยโรคเบาหวาน อัตราตายของโรคความดันโลหิตสูง ต่อประชากรแสนคน ปี พ.ศ.2556 มีผู้เสียชีวิตจำนวน 5,165 อัตราตาย 7.99 อัตราผู้ป่วย DM รายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จากรายงาน ปี 2560 HDC ร้อยละ (HT ตชว.ใหม่) ประเด็น รายละเอียด ตัวชี้วัดที่ 11 19. อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ไม่เกินร้อยละ 2.40 และอัตรากลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้านหิตสูง ในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน ≥ร้อยละ 10 การตรวจราชการ ที่มุ่งเน้น 1.การคัดกรองโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มเป้าหมาย 2.สื่อสารสาธารณะ การเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยง เป้าหมาย 1.ประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไปในเขตรับผิดชอบ ที่ได้รับการคัดกรองว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงเบาหวานในปีงบประมาณที่ผ่านมา 2.ประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไปในเขตรับผิดชอบ ที่ได้รับการคัดกรองว่าเป็นกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ของปีงบประมาณ หน่วยงานที่รับผิดชอบ กรมควบคุมโรค การจัดเก็บข้อมูล ฐานข้อมูล HDC กระทรวงสาธารณสุข/โปรแกรมของสถานบริการสาธารณสุข 1. รายงานผลการคัดกรองการประเมินในผู้ป่วยโรคเบาหวาน ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงจากฐานข้อมูล HDC กระทรวงสาธารณสุข

15 การตรวจราชการและกำกับติดตามนโยบายสำคัญปี 2561 คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการจัดการสุขภาพ
สถานการณ์ โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขจำนวน 959 แห่ง โดยโรงพยาบาลสามารถพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital จำนวน 884 แห่ง คิดเป็น ร้อยละ แบ่งเป็นระดับพื้นฐานร้อยละ 498 แห่ง คิดเป็นร้อยละ ระดับดี 285 แห่ง คิดเป็นร้อยละ ระดับดีมาก 101 แห่ง คิดเป็นร้อยละ (ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2560) ประเด็น รายละเอียด ตัวชี้วัดที่ 12 ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital 1. โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ฯ ระดับพื้นฐานขึ้นไป ร้อยละ 100 2. โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ฯ ระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 50 3. โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ฯ ระดับดีมาก ร้อยละ 20 4. โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ฯ ระดับดีมาก อย่างน้อย จังหวัดละ 1 แห่ง ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น 1. พัฒนาตามมาตรฐาน GREEN&CLEAN Hospital 2. พัฒนา Model Development เป้าหมาย โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข (รพศ. รพช. รพท. และรพ.สังกัดกรมวิชาการ) หน่วยงานที่รับผิดชอบ กรมอนามัย การจัดเก็บข้อมูล 1. โรงพยาบาลทุกแห่งประเมินตนเองและบันทึกข้อมูลในแบบรายงานผลการดำเนินงานส่งให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 2. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ตรวจประเมินและรวบรวมข้อมูลการประเมินโรงพยาบาลในพื้นที่ วิเคราะห์แล้วส่งรายงานให้ศูนย์อนามัย (พร้อมแนบไฟล์แบบรายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ ตามที่กรมอนามัยกำหนด) เดือนละ 1 ครั้ง ภายในวันที่ 20 ของทุกเดือน 3. ศูนย์อนามัยสุ่มประเมินและรวบรวมข้อมูลจากจังหวัดในพื้นที่ วิเคราะห์ภาพรวมของเขต และส่งรายงานรายเดือนให้กรมอนามัย (พร้อมแนบไฟล์แบบรายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ ที่กรมอนามัยกำหนด) ผ่านระบบรายงาน ดังนี้ 1) ระบบศูนย์ติดตามผลการปฏิบัติการ (DOC) กรมอนามัย ตามรอบการประเมิน 2) ระบบศูนย์ข้อมูล cluster อนามัยสิ่งแวดล้อมเดือนละ 1 ครั้ง ภายในวันที่ 25 ของทุกเดือน

16 คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและ การจัดการสุขภาพ (ตัวชี้วัดติดตาม 12 KPI)
ค่าเป้าหมาย หน่วยงาน หลัก 1 ร้อยละสถานบริการสุขภาพมีการคลอด มาตรฐาน รพ.ระตับ A, S ร้อยละ 80 (ปี 60 = 88.97) ระตับ Ml, M2, F1, F2 ร้อยละ 40 กรมการแพทย์ 2 ร้อยละของเด็กที่มีความฉลาดทาง สติปัญญาต่ำกว่าเกณฑ์ได้รับการพัฒนาและ ดูแลช่วยเหลืออย่างต่อเนื่องเพื่อนำไปสู่เด็กไทยมีระดับสติปัญญาเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 100 เดีกกสุ่มเสียงได้ร้บติดตามกระดุ้นพัฒนาการและ ดูแลต่อเนื่องด้วยเครื่องมือมาตรฐาน ร้อยละ 60 (ตชว.ใหม่) กรมสุขภาพจิต 3 ร้อยละของเดีกวัยเรียน สูงดีสมส่วน ร้อยละของเดีกวัยเรียนสูงดีสมส่วน ร้อยละ 66 (ปี 60 = 65.05) กรมอนามัย 4 ร้อยละของเดีกไทยมีความฉลาดทาง อารมณ์ (EQ) อยู่ในเกณฑ์ปกติขึ้นไป เดีกไทยมีความฉลาดทาง อารมณ์ (EQ) อยู่ในเกณฑ์ปกติขึ้นไป ร้อยละ 70 (ปี 60 = 77.23) 5 ร้อยละของ Healthy Ageing ร้อยละของ Healthy Ageing ได้ร้บการคัดกรองและมีฐานข้อมูลสถานะสุขภาพ ผู้สูงอายุ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 (ปี 60 = 26.87) 6 ร้อยละของตำบลจัดการสุขภาพในการ เฝ้าระวัง ป้องกันแก้ไขปัญหาโรคพยาธิ ใบไม้ตับและมะเร็งท่อนำดี ร้อยละของดีาบลจัดการสุขภาพในการเฝ้า ระวัง ป้องกันแก้ไขปัญหาโรดพยาธิใบไม้ตับ และมะเริงท่อนาดี ร้อยัละ 80 (ทั้งหมด 209 ตำบล ทำได้ 201 ตำบล ปี 60 = 96.17) กรมควบคุมโรค 7 ร้อยละของประชาชนวัยทำงานอายุ 30-44 ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ ร้อยละของประชาชนวัยทำงานอายุ ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ ร้อยละ 55 (ปี 60 = 51.80)

17 คณะกรรมการ อาหารและยา กรมสนับสนุน บริการสุขภาพ
คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและ การจัดการสุขภาพ (ตัวชี้วัดติดตาม 12 KPI ) ต่อ ตัวชี้วัดติดตาม ค่าเป้าหมาย หน่วยงานหลัก 8 ร้อยละของกลุ่มประชากรหลักที่เข้าถึงบริการป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เชิงรุก ■ร้อยละของกลมประชากรหลักทีเข้ากึง บริการป้องกันโรดเอดส์และโรดติดต่อทาง เพศสัมพันธ์เชิงรุก ร้อยละ 87 (ปี 60=42) กรมควบคุมโรค 9 ร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหาร แปรรูป มีความปลอดกัย ■ร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารสดและ อาหารแปรรูป มีดวามปลอดภัย ร้อยละ 75 (ปี 60 =97.51*ข้อมูลไม่ครบทุกเขต) คณะกรรมการ อาหารและยา 10 ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพทีได้รับการ ดรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด ■ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพทีได้ร้บการ ตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ ทีกำหนด ร้อยละ 96 (ปี 60=97.60) คณะกรรมการ อาหารและยา 11 ร้อยละของสถานพยาบาลและสถาน ประกอบการเพื่อสุขภาพผ่านเกณฑ์ มาตรฐานตามทีกฎหมายกำหนด ■ร้อยละของสถานพยาบาลและสถาน ประกอบการเพื่อสุขภาพผ่านเกณฑ์ มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด ร้อยละ 100 (ปี60=90.38) กรมสนับสนุน บริการสุขภาพ 12 ร้อยละของจังหวัดทีมีระบบจัดการปัจจัย เสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ อย่าง บูรณาการที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน -รุ้อยละของจังหวัดทีมีระบบจัดการปัจจัย เสี่ยงจากสิงแวดล้อมและสุขภาพ อย่าง บูรณาการที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน ร้อยละ 90 ของจังหวัดผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน (ปี 60 =60.53) กรมอนามัย

18 รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน
สถานการณ์ GREEN & CLEAN Hospital ร้อยละ แบ่งเป็นระดับพื้นฐาน ระดับดี ร้อยละ ระดับดีมาก ร้อยละ 10.53 เป้าหมาย : 1. โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ฯ ระดับพื้นฐานขึ้นไป ร้อยละ 100 2. โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ฯ ระดับดีมาก ร้อยละ 20 3. โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ฯ ระดับดีมาก อย่างน้อย จังหวัดละ 1 แห่ง ประเด็น 1. กระบวนการพัฒนา 2. การสร้างความยั่งยืน ตัวชี้วัดติดตาม -ร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูป มีความปลอดภัย -ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด -ร้อยละของสถานพยาบาลและสถานประกอบการเพื่อสุขภาพผ่านเกณฑ์ มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด -ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ อย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน สิ่งสนับสนุน มาตรการสำคัญ สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพบุคลากรอย่างต่อเนื่อง สนับสนุนให้เกิดระบบการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในพื้นที่ระหว่างโรงพยาบาล สร้างเครือข่ายการพัฒนา GREEN&CLEAN Hospital สู่ชุมชน เพื่อให้เกิด GREEN Community 1. โรงพยาบาลประเมินตนเองเพื่อวางแผนพัฒนาโรงพยาบาล 2. ทีมประเมินระดับจังหวัดทำการประเมินเพื่อให้คำแนะนำและรับรองโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัย สิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital 3. ผลงานเปรียบเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส Small Success รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ฯ ระดับพื้นฐานขึ้นไป ร้อยละ 90 1. โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ฯ ระดับพื้นฐานขึ้นไป ร้อยละ 95 2.โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ฯ ระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 50 ระดับพื้นฐานขึ้นไป ร้อยละ 100 1. โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ฯระดับดีมากร้อยละ 20 2.โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ฯระดับดีมาก อย่างน้อยจังหวัดละ 1 แห่ง


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการตรวจราชการ ปี 2561

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google