โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา 10 อันดับ (1 ม. ค. 60 – 25 ธ. ค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
Advertisements

สถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดเลย ปี 2556
นายชิดชัย อังคะ ไวมงคล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายมนัส ปรุง ทำนุ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ ร. อ. ปกรณ์เดช โลหิตหาญ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ.
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
การคัดเลือกพื้นที่เพื่อการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข ในชายแดนชนบท
การแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ด้านเฝ้าระวัง การ ป้องกัน ควบคุมโรคและภัย สุขภาพ ระหว่างจังหวัดและ สคร.8 วันที่ 1 ธันวาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์โรคไข้ชิคุนกุนยา ประเทศไทย (ข้อมูล ณ 25 พฤษภาคม 2552)
ชลบุรี ว่าง นายชิดชัย อังคะไวมงคล
พัทลุง นายเจษฎา ครรชิตานุรักษ์ -ว่าง- นายวีระยุทธ เมฆินทรางกูร
สระบุรี นายขจรศักดิ์ สถาวรจันทร์ น.ส.สถาพร ลิ่มพันธ์
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน สิงหาคม 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มิถุนายน 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา ธันวาคม 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 4 มกราคม 2552 _ 31 มกราคม 2552 สัปดาห์ที่ 4 ปี 2552 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
นายสรกฤษณ์ เมือง สนธิ์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายวิชัย เพ็ญดี หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นางสุภาภรณ์ ไชยเวช หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายจีระ.
การประชุม War Room กระทรวงสาธารณสุข ติดตามเฝ้าระวังแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก ครั้งที่ 7/2556 วันที่ 5 เมษายน 2556 เวลา – น. ณ ห้องประชุม.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน สิงหาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
วันที่ 26 มกราคม 2556 เวลา น. งานระบาดวิทยาอำเภอท่าอุเทน ได้รับแจ้งจากงานห้องอุบัติเหตุและ ฉุกเฉิน โรงพยาบาลท่าอุเทน มีนักเรียน โรงเรียนแห่งหนึ่ง.
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา เมษายน 2558 กลุ่มงานควบคุมโรค.
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
วาระการประชุม คปสจ. เดือน กันยายน 2560
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
สรุปงานระบาดวิทยาสถานการณ์โรคไข้มาลาเรีย ช่วงเดือนมกราคม - พฤษภาคม
สถานการณ์ ไข้เลือดออก อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2560
โรคไข้เลือดออกเขต 12.
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดสระบุรี
รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดสระบุรี
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
แผนการจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัวจังหวัดสตูล ปี
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 35
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
นโยบายระบบส่งน้ำและการกระจายน้ำ โครงการชลประทานเพชรบุรี
สถานการณ์โรค ประจำเดือน โรคไข้เลือดออก สถานการณ์โรคที่สำคัญ
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
“ถ้าหากบริษัทบุหรี่ต้องหยุดทำการตลาดที่พุ่งเป้าไปที่เด็กๆ บริษัทบุหรี่จะล้มละลายภายใน 25 – 30 ปี เพราะจะไม่มีลูกค้าเพียงพอที่ธุรกิจจะอยู่ได้”
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
การพัฒนาคุณภาพการดูแลโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 51
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
อำเภอวังทอง อ.วัดโบสถ์ อ.นครไทย อ.เมือง อ.เนินมะปราง อ.เมืองพิจิตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา 10 อันดับ (1 ม. ค. 60 – 25 ธ. ค โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา 10 อันดับ (1 ม.ค. 60 – 25 ธ.ค. 60) โรค/ กลุ่มอาการ อัตราป่วย ปี 2560 ค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง ที่มา : รายงาน 506 กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สสจ.พัทลุง

สถานการณ์โรคไข้เลือดออก 25 ธันวาคม 2560 นายกเทศมนตรีเมืองพัทลุง กับโครงการโรงเรียนปลอดยุงลาย 17 ส.ค. 60 รพ.พัทลุง รณรงค์ไข้เลือดออก เมื่อ 21 ก.ค. 60

สถานการณ์ไข้เลือดออก รายจังหวัด 20 อำเภอ FOCUS ของ สคร.12 สถานการณ์ไข้เลือดออก รายจังหวัด ที่มา : กลุ่มปฏิบัติการควบคุมโรคในพื้นที่เฉพาะ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา 25 ธ.ค. 2560

อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกรายเดือน จ อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกรายเดือน จ.พัทลุง เปรียบเทียบ ปี 2560 2559 และ ค่ามัธยฐาน ผู้ป่วยสะสม (1 ม.ค.2560 – 25 ธ.ค. 2560) 1,077 ราย อัตราป่วย 204.5 ต่อแสน ตาราง จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกรายเดือน จ.พัทลุง (1 มกราคม 2555 ถึง 25 ธันวาคม 2560) ปี พ.ศ. Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec 2555 33 21 75 85 53 42 57 83 210 212 2556 157 72 92 89 110 192 184 136 82 94 98 2557 49 56 38 30 28 86 51 76 61 101 91 70 2558 40 27 14 13 32 59 39 37 66 73 2559 41 31 24 20 116 258 266 227 255 205 Median 2560 194 151 119 96 54 50 ที่มา : รายงาน 506 กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สสจ.พัทลุง

อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก จำแนกรายอำเภอ จังหวัดพัทลุง ปี 2560 ผู้ป่วยสะสม (1 ม.ค.2560 – 25 ธ.ค. 2560) 1,077 ราย อัตราป่วย 204.5 ต่อแสน อัตราป่วยตามกลุ่มอายุ ปี 2560 (1 ม.ค. – 25 ธ.ค.60) ที่มา : รายงาน 506 กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สสจ.พัทลุง

20 ลำดับอัตราป่วยไข้เลือดออกรายตำบล สะสมปี 2560 (1 มกราคม 2560 – 25 ธันวาคม 2560) อำเภอ ตำบล ประชากร จำนวนป่วย อัตราต่อแสน 1 เมืองพัทลุง พญาขัน 5,798 62 1,069.3 2 ควนมะพร้าว 11,114 83 746.8 3 ลำปำ 8,991 52 578.4 4 ท่าแค 7,702 41 532.3 5 นาโหนด 8,384 35 417.5 6 คูหาสวรรค์ 32,736 127 388.0 7 นาท่อม 4,737 17 358.9 8 ปรางหมู่ 5,140 18 350.2 9 ชัยบุรี 8,347 25 299.5 10 เขาชัยสน หานโพธิ์ 8,642 289.3 11 ปากพะยูน เกาะหมาก 7,281 20 274.7 12 โคกม่วง 10,381 28 269.7 13 ควนขนุน ทะเลน้อย 6,688 269.1 14 8,521 21 246.5 15 หารเทา 9,954 23 231.1 16 ป่าพะยอม 6,188 226.2 เขาเจียก 8,932 223.9 กงหรา คลองเฉลิม 13,289 29 218.2 19 13,798 30 217.4 ดอนประดู่ 6,519 214.8 มากกว่า 150 ต่อแสน 100.1 - 150 ต่อแสน 50.1 – 100 ต่อแสน 0 – 50 ต่อแสน ที่มา : รายงาน 506 กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สสจ.พัทลุง

อัตราป่วยตามกลุ่มอายุ ปี 2560 (26 พ.ย. – 25 ธ.ค.60) อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก จ.พัทลุง ช่วง 4 สัปดาห์ (26 พ.ย. – 25 ธ.ค. 2560) ผู้ป่วยสะสม 4 สัปดาห์ (26 พ.ย. - 25 ธ.ค. 2560) 18 ราย อัตราป่วย 3.4 ต่อแสน อัตราป่วยตามกลุ่มอายุ ปี 2560 (26 พ.ย. – 25 ธ.ค.60) ที่มา : รายงาน 506 กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สสจ.พัทลุง

จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก รายอำเภอ จ. พัทลุง สะสมปี 2560 (1 ม. ค จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก รายอำเภอ จ.พัทลุง สะสมปี 2560 (1 ม.ค.2560 – 25 ธ.ค.2560) จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก รายอำเภอ จ.พัทลุง สะสม 4 สัปดาห์ (26 พ.ย. – 25 ธ.ค. 2560) ที่มา : รายงาน 506 กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สสจ.พัทลุง

อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกรายเดือน อำเภอเมือง เปรียบเทียบ ปี 2560 2559 และ ค่ามัธยฐาน ผู้ป่วยไข้เลือดออก อ.เมือง (1 ม.ค.60 ถึง 25 ธ.ค. 2560 จำนวน 523 ราย อัตราป่วย 417.1 ต่อแสนประชากร ตาราง จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกรายเดือน อ.เมืองพัทลุง (1 มกราคม 2555 ถึง 25 ธันวาคม 2560) ปี พ.ศ. Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec 2555 5 12 7 11 13 18 25 45 55 2556 46 24 27 20 22 36 29 19 30 2557 8 3 6 9 10 2558 16 4 17 1 2559 14 32 81 85 Median 2560 93 68 70 62 44 40 23 21 ที่มา : รายงาน 506 กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สสจ.พัทลุง

อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก จำแนกรายตำบล อำเภอเมือง จ.พัทลุง มากกว่า 150 ต่อแสน 100.1 - 150 ต่อแสน 50.1 – 100 ต่อแสน น้อยกว่า 50 ต่อแสน ที่มา : รายงาน 506 กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สสจ.พัทลุง

ลำดับผู้ป่วยไข้เลือดออก รายหมู่บ้าน อ.เมือง สถานบริการ จำนวนป่วย อัตราต่อแสน รพท.พัทลุง 127 393.5 รพ.สต.บ้านสวน 57 941.1 รพ.สต.เขาแดง 44 1406.6 รพ.สต.ลำปำ 29 1048.1 รพ.สต.นาโหนด 27 877.2 รพ.สต.ควนมะพร้าว 26 880.5 รพ.สต.บ้านไพ 22 840.3 รพ.สต.ปากประ 21 983.6 รพ.สต.หัวถนน 20 461.6 รพ.สต.ปลวกร้อน 19 609.0 รพ.สต.ปรางหมู่ 18 485.4 รพ.สต.ควนถบ 809.0 รพ.สต.นาท่อม 17 469.7 รพ.สต.ปากสระ 16 646.2 รพ.สต.น้ำเลือด 9 247.5 รพ.สต.ทุ่งลาน 418.4 รพ.สต.ต้นไทร 7 213.1 รพ.สต.โตระ 6 207.8 รพ.สต.ทุ่งยาว 5 243.1 รพ.สต.หูแร่ 249.5 รพ.สต.มะกอกใต้ 336.7 รพ.สต.โคกชะงาย 4 184.9 รพ.สต.อ้ายน้อย 350.9 รพ.สต.บ้านลำ 2 88.1 รพ.สต.ท่าสำเภาใต้ 0.0 ลำดับ หมู่บ้าน ตำบล จำนวนป่วย 1 ราเมศวร์ คูหาสวรรค์ 27 2 05 เขาแดง พญาขัน 25 3 15 ควนกุฎ ควนมะพร้าว 22 4 01 บ้านแร่ 18 5 03 หัวหมอน นาโหนด 17 6 ไชยบุรี 16 7 อภัยบริรักษ์ 8 10 นอก 12 9 07 ตีนวัดป่า ลำปำ 11 10 05 หนองบ่อ ท่าแค 08 คลองตรุด ชัยบุรี 01 แร่-ควนสาร 13 09 ไสถั่ว 14 03 เตาปูน 15 07 โรงตรวน ผดุงดอนยอ 06 นอกทุ่ง 07 ท่าโพธิ์ 19 11 บ้านควน 20 13 โคกหมื่นอินทร์ 21 03 ทุ่งมะขาม

อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก จำแนกราย รพ. สต. อำเภอเมือง จ. พัทลุง (1 ม. ค อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก จำแนกราย รพ.สต. อำเภอเมือง จ.พัทลุง (1 ม.ค.2560 – 25 ธ.ค. 2560) อัตราป่วยต่อแสน ที่มา : รายงาน 506 กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สสจ.พัทลุง

ที่มา : กลุ่มปฏิบัติการควบคุมโรคในพื้นที่เฉพาะ สคร. 12 จ ที่มา : กลุ่มปฏิบัติการควบคุมโรคในพื้นที่เฉพาะ สคร. 12 จ.สงขลา (25 ธันวาคม 2560)

มาตรการควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก จ.พัทลุง โดย นพ.ธนิศ เสริมแก้ว 1. สนับสนุนให้ทุกอำเภอเปิด war room จัดประชุม จัดหาวัสดุเคมีภัณฑ์/อุปกรณ์ สำหรับการควบคุมโรคไข้เลือดออกให้เพียงพอ และทันสถานการณ์ 2. สร้างภาคีเครือข่าย สาธารณสุข อปท. โรงเรียน ชุมชน ผู้นำศาสนา เป็นวาระชุมชน นายกเทศมนตรีเมืองพัทลุง กับโครงการโรงเรียนปลอดยุงลาย 17 ส.ค. 60 3. โรงพยาบาลทุกแห่ง ร่วมกิจกรรมและสนับสนุนการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก และ บ้านพักเจ้าหน้าที่จะต้องไม่มีลูกน้ำยุงลาย รณรงค์ควบคุมป้องกันไข้เลือดออก รพ.พัทลุง 21 ก.ค. 60 เครือข่าย รพ.สต.ศาลามะปราง อ.ศรีบรรพต 17 พ.ย. 60

มาตรการควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก จ.พัทลุง โดย นพ.ธนิศ เสริมแก้ว 4. ทีมสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด กับ ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็วระดับอำเภอ ร่วมเป็นทีมวิชาการ ติดตามประเมินคุณภาพการควบคุมโรคไข้เลือดออก ตามมาตรการต่างๆ ร่วมประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในสถานบริการสาธารณสุข/ ในชุมชน และ ร่วมประชุม war room ในระดับอำเภอ อ.ควนขนุน รพ.สต.บ้านควนดินแดง ควบคุมป้องกัน 17 พ.ย. 60 5. รวมพลังพิฆาตยุงลายด้วยมาตรการ 3 เก็บ + 5 ส. ทุกวันศุกร์ในหน่วยงาน และที่บ้านทุกวันเสาร์อาทิตย์ “เก็บบ้านให้ปลอดโปร่งไม่ให้ยุงลายมาเกาะพัก เก็บขยะเศษภาชนะไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย เก็บน้ำปิดให้มิดชิดไม่ให้ยุงลายวางไข่ ร่วมกับ สะสาง สะดวก สะอาด สุขลักษณะ สร้างนิสัย” อ.เมือง ต.ลำปำ ประเมินดัชนีลูกน้ำยุงลาย 21 พ.ย. 60

สถานการณ์โรคเลปโตสไปโรสิส รายเดือน จ. พัทลุง (1 ม. ค. 60 ถึง 25 ธ. ค สถานการณ์โรคเลปโตสไปโรสิส รายเดือน จ.พัทลุง (1 ม.ค. 60 ถึง 25 ธ.ค. 60) กับค่ามัธยฐาน ตาราง จำนวนผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรสิส รายเดือน จ.พัทลุง มกราคม 2560 ถึง 25 ธันวาคม 2560 ปี พ.ศ. Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec 2555 27 3 6 4 5 2 10 11 2556 13 1 8 2557 2558 20 2559 9 7 Median 2560 ที่มา : รายงาน 506 กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สสจ.พัทลุง

แนวโน้มการเกิดโรคเลปโตสไปโรสิส จ แนวโน้มการเกิดโรคเลปโตสไปโรสิส จ.พัทลุง จำแนกรายเดือน ช่วงปี 2554 – 2559 โรคเลปโตสไปโรสิส จ.พัทลุง มักเกิดในช่วงเดือน พฤศจิกายน ต่อเนื่องถึงเดือนมกราคม และลดลงในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ (มักเกิดช่วงก่อนน้ำท่วม และ หลังน้ำท่วม ) ตาราง อัตราป่วยโรคเลปโตสไปโรสิส รายเดือน จ.พัทลุง ปี 2554 ถึง 2559 ปี พ.ศ. Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec 2554 2.0 1.0 0.8 0.6 0.4 1.2 1.8 2555 5.3 2.2 2556 2.5 0.2 1.5 0.0 2557 2558 1.9 3.8 Median 2559 1.7 1.3 2.1 ที่มา : รายงาน 506 กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.พัทลุง

อัตราป่วยโรคเลปโตสไปโรสิส จำแนกรายอำเภอ จ.พัทลุง ปี 2560 ที่มา : รายงาน 506 กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สสจ.พัทลุง

20 ลำดับอัตราป่วยโรคเลปโตสไปโรสิส รายตำบล สะสมปี 2560 (1 มกราคม – 25 ธันวาคม 2560) อำเภอ ตำบล ประชากร ป่วย อัตราต่อแสน 1 กงหรา คลองเฉลิม 13,289 7 52.7 2 ป่าพะยอม เกาะเต่า 12,138 5 41.2 3 เมืองพัทลุง ร่มเมือง 5,250 38.1 4 ศรีนครินทร์ ลำสินธุ์ 6,053 33.0 ควนขนุน โตนดด้วน 6,205 32.2 6 พนมวังก์ 6,259 32.0 ศรีบรรพต เขาย่า 6,841 29.2 8 เขาชัยสน จองถนน 3,685 27.1 9 ควนมะพร้าว 11,114 27.0 10 ท่าแค 7,702 26.0 11 ตำนาน 7,956 25.1 12 ลานข่อย 8,390 23.8 13 4,208 14 ชุมพล 8,513 23.5 15 8,521 16 บางแก้ว โคกสัก 8,648 23.1 17 ลำปำ 8,991 22.2 18 นาท่อม 4,737 21.1 19 ป่าบอน 10,005 20.0 20 พนางตุง 10,078 19.9 มากกว่า 30 ต่อแสน 20.1 - 30 ต่อแสน 10.1 – 20 ต่อแสน 0 – 10 ต่อแสน ที่มา : รายงาน 506 กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สสจ.พัทลุง

ผลการสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตด้วย Leptospirosis จังหวัดพัทลุง ผู้ป่วยสงสัยเสียชีวิตด้วยโรคเลปโตสไปโรสิส 1 ราย เพศชาย อายุ 62 ปี อาชีพค้าขายในตลาดเทศบาลควนขนุน ที่อยู่ขณะป่วย 252 ม. 9 ต.โตนดด้วน อ.ควนขนุน เวลาประมาณ 21.30 น.บุตรชายนำส่ง รพ.ควนขนุน อาการหายใจเหนื่อยหอบ ยังมีไข้ T=36.0 ºC ; P=84 ครั้ง/นาที ; BP=120/68 mmHg ; BW=61 kgs; สูง=162 ; RR= 26 ครั้ง/นาที ผลการตรวจ WBC.count=17,500; Platelet count=35,000; RBC.count=3.68; Hct=33.6; Hb=11.2; Z-MC91; Z-MCH=30.3; Z-MCHC=33.2 แพทย์วินิจฉัย Severe Pneumonia R/O TB ต่อมาเวลาประมาณ ๐๑.๐๐ น. ส่งต่อ รพ.พัทลุง เริ่มป่วย อาการไข้ ไอ มีเสมหะ อ่อนเพลีย ปวดเมื่อยตามตัว เจ็บหน้าอกด้านขวา ซื้อยารับประทานที่บ้าน ผลการตรวจ Leptospirosis : IgG Positive IgM Positive แพทย์วินิจฉัย Leptospirosis 6 ก.พ.60 12 ก.พ. 60 13 ก.พ.60 ผู้ป่วยเสียชีวิต 7 วัน

มาตรการควบคุมการระบาดของโรคเลปโตสไปโรสิส (4E + 2C) Early detection ค้นหาผู้ป่วย โดยใช้เครือข่าย รพ.สต. และ อสม. Early Diagnosis การวินิจฉัยใช้หลักประวัติลุยน้ำ ไข้สูง ปวดศีรษะรุนแรง ปวดกล้ามเนื้อ Early Treatment การรักษาเบื้องต้นโดยเร็ว Doxycycline (100 mg) 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง เช้า - เย็น นาน 5–7 วัน การส่งต่อผู้ป่วยโดยด่วนถ้าผู้ป่วยรู้สึกไม่ดีขึ้นภายใน 3 วัน หรือ ความดันโลหิต ≤ 90 /60 mmHg. หรือ อัตราการหายใจ ≥ 24 ครั้งนาที รวมไปถึงการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ Early Control สอบสวนทุกราย ป้องกันควบคุม เฝ้าระวังผู้ป่วยรายอื่น Coordination ประสานปศุสัตว์และเกษตรกรในพื้นที่ เพื่อกำหนดพื้นที่เลี้ยงสัตว์ การทำลายแหล่งรังโรค Community involvement สร้างพลังชุมชนให้ตระหนักถึงอันตราย การเฝ้าระวังป้องกัน และควบคุมโรค