กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น “ขับเคลื่อนอย่างไรให้ยั่งยืน”
1. 2 กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนา องค์กรและเกษตรกร ที่ตัวชี้วัด หน่วยนับ แผนผล % หมายเหตุ 1 สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง.
โครงการ “ฟันเทียมพระราชทาน”
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
ยินดีต้อนรับคณะกรรมการ ติดตามและประเมินผล กองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2556 เสนอในการประชุมชี้แจงการ บริหารกองทุน UC ปี 2556 สปสช. เขต 3 นครสวรรค์ 18 ตุลาคม
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
ผลการดำเนินงาน กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ ปีงบประมาณ 2558
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
ข้อมูลทั่วไปอำเภอเมืองระยอง
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
RF COC /Palliative care.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
งานผู้สูงอายุ ปี 2560 ตัวชี้วัด (Long Term Care)ในชุมชนผ่านเกณฑ์
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ พ.ศ นายอัษฎาวุธ.
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2561
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงใหม่
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
Service Profile : งานกายภาพบำบัด กลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน ขั้นตอนการดำเนินการ กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน

วัตถุประสงค์กองทุนฟื้นฟูฯ 1. เพื่อให้ คนพิการ ได้รับอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการและบริการฟื้นฟูสมรรถภาพตามความจำเป็นอย่างทั่วถึงและครอบคลุม ทั้งในหน่วยบริการและในชุมชน 2. เพื่อให้ กลุ่มเป้าหมาย ได้รับบริการด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่องทั้งในหน่วยบริการและในชุมชน 3. เพื่อให้ หน่วยบริการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท้องถิ่น และองค์กรภาคีที่เกี่ยวข้อง พัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ โดยการจัดหาอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการให้แก่ คนพิการ รวมทั้งจัดบริการฟื้นฟูสมรรถภาพให้แก่กลุ่มเป้าหมาย ทั้งในหน่วยบริการและในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือระหว่างหน่วยบริการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรคนพิการ องค์กรภาคีที่เกี่ยวข้อง และชุมชน ในการพัฒนารูปแบบการดูแล ช่วยเหลือ สนับสนุน และให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพแก่กลุ่มเป้าหมายร่วมกัน ทั้งในหน่วยบริการและในชุมชนอย่างยั่งยืน

กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ กลุ่มเป้าหมาย (ผู้มีสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ) - ผู้ป่วยที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ (sub-acute) - คนพิการ (รหัสสิทธิย่อย 74) - ผู้สูงอายุที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ - ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง (คะแนน Bathel ADL index เท่ากับ หรือ น้อยกว่า 11 คะแนน จากคะแนน เต็ม 20 คะแนน) ทั้งนี้ ต้องไม่ซ้ำซ้อนกับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงที่ได้รับการดูแลจากการสนับสนุน ค่าบริการสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

บริการฟื้นฟูสมรรถภาพฯ และอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ บริการอุปกรณ์คนพิการ กลุ่มเป้าหมาย 1. กายภาพบำบัด 2. กิจกรรมบำบัด 3. แก้ไขการพูด 4. จิตบำบัด 5. พฤติกรรมบำบัด 6. ฟื้นฟูการได้ยิน 7. ฟื้นฟูการเห็น 8. Early intervention 9. Phenol block 1. อุปกรณ์ทางการเคลื่อนไหว - แขนเทียม / ขาเทียม ฯลฯ 2. อุปกรณ์ทางการได้ยิน - เครื่องช่วยฟัง 3. อุปกรณ์ทางการเห็น - ไม้เท้าขาว 4. รองเท้าคนพิการ/เครื่องช่วยเดิน รถนั่งคนพิการ และอื่นๆ คนพิการ (รหัสสิทธิย่อย 74) ผู้สูงอายุ ผู้ป่วย Sub-acute ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง รายการอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ จำนวน 76 รายการ - ฟื้นฟูสมรรถภาพคนตาบอดด้านการทำความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหว (Orientation & Mobility : O&M) 4

งบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิต คนพิการ ผู้สูงอายุ ผู้ที่จำเป็นต้องได้รับการ ฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ให้ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร เป้าประสงค์ เป้าหมายการฟื้นฟู เพิ่มการเข้าถึงอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ และบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ - ในหน่วยบริการสาธารณสุข - ในชุมชน - ในระบบบริการทางเลือกอื่นๆ รูปแบบการบริการฯ

รูปแบบการขับเคลื่อนดำเนินการ การดำเนินการที่ผ่านมา ปี 2560 ศูนย์อุปกรณ์ใน COC ครอบคลุมเครือข่าย รพช. (ครบทุกแห่งแล้ว) ขยายไปรพ.สต. ชุด home rehab (รพ.น่านดำเนินการ) - ศูนย์ CBR-Community based Rehabilitation (อบต+ชุมชน +รพสต. +รพ.น่าน/รพช.ในพื้นที่) ปัว : ต.ศิลาเพชร อ.เมืองน่าน : ไชยสถาน อ.ภูเพียง : น้ำแก่น ขยายศูนย์ CBR ในตำบล/ชุมชนต่างๆ ที่มีศักยภาพและความพร้อม ชุดกิจกรรมบำบัด ผู้พิการ 5 ด้าน รูปแบบอื่นๆ เช่น การพัฒนาระบบการฟื้นฟูฯ

สิ่งที่ต้องดำเนินการ สถานบริการจัดทำโครงการตามสภาพปัญหาและบริบทของพื้นที่ อำเภอพิจารณาประสาน/ผลักดันศูนย์ CBR ในตำบล/ชุมชน ตามศักยภาพ ความพร้อม และบริบทของพื้นที่ คปสอ.ร่วมกันพิจารณาให้ความเห็นชอบในความเหมาะสมของโครงการในภาพรวมของอำเภอ(เน้นความครอบคลุม การเข้าถึง และคุณภาพบริการในทุกพื้นที่) เสนอโครงการผ่านคปสอ.(สสอ. ผอ.รพ.เห็นชอบ) มายังสสจ. ตามขั้นตอน

ขั้นตอนการเสนอโครงการ หน่วยบริการ จัดทำโครงการตามสภาพปัญหาและบริบทของพื้นที่ เสนอโครงการผ่าน คปสอ. เพื่อพิจารณาความเหมาะสม (สสอ. + ผอ.รพ. ลงนามเห็นชอบ) เสนอโครงการให้สสจ.น่าน เพื่อให้นพ.สสจ.รับทราบ สสจ. รวบรวมโครงการส่งให้กองทุนฟื้นฟูฯ(อบจ.น่าน) เพื่อพิจารณาอนุมัติตามขั้นตอนของกองทุนฯ

ศูนย์ CBR ศิลาเพชร (อบต+ชุมชน +รพสต. +รพร.ปัว) “เฮือนเมืองย่าง” ศูนย์ CBR ศิลาเพชร (อบต+ชุมชน +รพสต. +รพร.ปัว)

ศูนย์ CBR(อบต+ชุมชน +รพสต. +รพ.น่าน/รพชในพื้นที่

ศูนย์ CBR(อบต.+ชุมชน +รพ.สต. +รพ.น่าน/รพช.ในพื้นที่)

ศูนย์ CBR(อบต+ชุมชน +รพสต. +รพ.น่าน/รพชในพื้นที่)

ศูนย์ CBR(อบต.+ชุมชน +รพ.สต. +รพ.น่าน/รพช.ในพื้นที่) ตำบลน้ำแก่น ศูนย์ CBR(อบต.+ชุมชน +รพ.สต. +รพ.น่าน/รพช.ในพื้นที่)

ในการจัดตั้งศูนย์ CBR สิ่งพิจารณาทุนเดิม ในการจัดตั้งศูนย์ CBR 1. ข้อมูลผู้รับบริการในศูนย์ 2. ท้องถิ่นในพื้นที่ 3. ชุมชน 4. สถานที่ 5. ความพร้อมของรพ.สต. 6. นักกายภาพของรพ.แม่ข่ายพร้อมหนุนเสริม