การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “การปฏิบัติงานด้านการเงิน” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
Advertisements

นักวิชาการสาธารณสุข ๙ ชช ศูนย์อนามัยที่ ๑๐ ชึชียงใหม่
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
กรณีศึกษา : สำนักกิจการพิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทย บริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัด.
การประชุมหารือกรอบการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) กรมการ แพทย์ นายแพทย์ณรงค์ อภิกุลวณิช รองอธิบดีกรมการแพทย์ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558.
แผนยุทธศาสตร์ฯ ด้านทรัพยากรบุคคล ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ตราด.
“ การประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ของพนักงานส่วน ท้องถิ่น ” ในระบบจำแนก ตำแหน่งเป็นประเภท ตามลักษณะงาน จัดทำโดย ฝ่ายส่งเสริมและ พัฒนาบุคลากร กองการเจ้าหน้าที่
ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
KM WEBSITE กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข เสนอ อาจารย์ สุกัลยา ชาญสมร.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ฝ่ายนโยบาย แผน และประกันคุณภาพการศึกษา งานนโยบาย แผน งานข้อมูล สารสนเทศ งานมาตรฐาน การศึกษาและ งานประกัน คุณภาพ การศึกษา งานนิเทศ กำกับ ติดตามและ ประเมินผล.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
กลุ่มพัฒนาเครือข่ายและสถานศึกษาต้นแบบ (กพค.)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยี ดอนบอสโกสุราษฎร์
ณ โรงแรมเดอะ รอยัล เจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท จ.นครปฐม
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
แผนปฏิบัติการ กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 8
กลุ่มที่ 7 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด นครราชสีมา.
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
กลุ่มงานหลักเกณฑ์ฯ สำนักพัฒนาสมรรถนะครูและ บุคลากรอาชีวศึกษา
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
Professional Learning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่

คุณ PLC มีวิธีการทำงาน(กระบวนการ) ที่สำคัญ คือ การทำงานตั้งแต่ขั้นแรกถึงขั้นสุดท้าย ต้องมีการบันทึก (Logbook) ออกแบบเอง ง่าย สั้นหนึ่งหน้าก็พอ อาจนำเสนอทาง Line หรือ Facebook หรือรูปแบบอื่นๆ

Logbook ทำอย่างไร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร ผลเป็นอย่างไร ข้อเสนอแนะอย่างไร

1 แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อน PLC สู่สถานศึกษา ระดับ สพฐ.

2 กำหนดรูปแบบกระบวนการ PLC ของ สพฐ. 2.1 ประชุมสนทนากลุ่ม (Focus Group) ผู้อำนวยการสถานศึกษา ศึกษานิเทศก์ และครู เพื่อออกแบบสำรวจความต้องการพัฒนาตนเองของข้าราชการครู ระหว่างวันที่ 3-5 กุมภาพันธ์ 2560 2.2 สำรวจความต้องการพัฒนาตนเองของข้าราชการครูทั่วประเทศ เพื่อนำมากำหนดกรอบหลักสูตรพัฒนาข้าราชการครู 2.3 ประชุมกำหนดรูปแบบกระบวนการ PLC ของ สพฐ. โดยการสังเคราะห์กระบวนการ PLC จากนักวิชาการ หน่วยงานราชการ และมหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 2-4 มีนาคม 2560

3 ประชุมเชิงปฏิบัติการกระบวนการ PLC

ขั้นตอนการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา ระดับ สพฐ. 4 4.1 กำหนดบทบาทหน้าที่คณะกรรมการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC ในระดับ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา 4.2 กำหนดรูปแบบการรายงานผลด้วยระบบ Online 4.3 จัดทำคู่มือประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการขับเคลื่อนกระบวนการ PLCสู่สถานศึกษาระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ขั้นตอนการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา ระดับ สพฐ. 5 อบรมเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เขตละ 6 คน ระหว่างวันที่ 26 เมษายน –3 พฤษภาคม 2560

6 ขั้นตอนการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา ระดับ สพฐ.

ขั้นตอนการขับเคลื่อนกระบวนการPLC สู่สถานศึกษา ระดับ สพฐ. 7 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสำนักพัฒนาครูและบุคลากรการศึกษาขั้นพื้นฐาน สรุปและรายงานผลการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาเพื่อรายงานผู้เกี่ยวข้อง

ขั้นตอนการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา ระดับ สพฐ. 8 8.1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Show & Share)การขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา 8.2 ยกย่องเชิดชูเกียรติสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา ที่มีกระบวนการดำเนินการที่ดีสามารถเป็นแบบอย่างได้และเผยแพร่ด้วยวิธีการที่หลากหลาย

ขั้นตอนการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 1 แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนกระบวนการ PLCสู่สถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา คณะกรรมการจำนวนตามความเหมาะสม 1. ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 2. รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 3. บุคลากรกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการศึกษา 4. บุคลากรการกลุ่มนโยบายและแผน 5. บุคลากรกลุ่มบริหารงานบุคคล 6. ผู้บริหารสถานศึกษา 7. ครู

2 กำหนดแผนงานการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่ สถานศึกษา 2. สร้างความรู้ ความเข้าใจ และแนวทางการปฏิบัติให้กับบุคลากรในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา 3. สร้างเครือข่ายกับหน่วยงานอื่น (มหาวิทยาลัย องค์กรและหน่วยงานต่างๆ) 4. กำกับ ติดตาม นิเทศและประเมินผล 5. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงาน การพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

ขั้นตอนการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 3 การขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่การปฏิบัติในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา 3.1 ขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่การปฏิบัติในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา พร้อมทั้งบันทึกลงใน Logbook ตามลำดับดังนี้ 1) ค้นหาปัญหา 2) หาสาเหตุ 3) แนวทางแก้ไข 4) ออกแบบกิจกรรมและ 5) นำสู่การปฏิบัติและสะท้อนผล 3.2 สรุปรายงานผล และจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

4 กำกับ ติดตามนิเทศและประเมินผล ขั้นตอนการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 4 กำกับ ติดตามนิเทศและประเมินผล 4.1 จัดทำแผนและเครื่องมือ กำกับ ติดตาม นิเทศ และประเมินผลการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC 4.2 คณะกรรมการขับเคลื่อนกระบวนการPLC ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ดำเนินการกำกับ ติดตาม นิเทศ และประเมินผลการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC ในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา 4.3 เร่งรัด ติดตาม และสนับสนุนสถานศึกษาที่ไม่ประสบความสำเร็จในการขับเคลื่อน กระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา

5 สรุปและรายงานผลการดำเนินการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา 5.1 คณะกรรมการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สรุปและรายงานผลดำเนินการขับเคลื่อนกระบวนการ PLCสู่สถานศึกษา 5.2 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษารายงานผลการดำเนินการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา ต่อ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและผู้ที่เกี่ยวข้อง

ขั้นตอนการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 6 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอดบทเรียน และยกย่องเชิดชูเกียรติ การขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา 6.1 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Show & Share) การขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา 6.2 ยกย่องเชิดชูเกียรติสถานศึกษา ที่มีกระบวนการดำเนินการที่ดีสามารถเป็นแบบอย่างได้และเผยแพร่ด้วยวิธีการที่หลากหลาย

ขั้นตอนการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา ระดับสถานศึกษา 1 คณะกรรมการจำนวนตามความเหมาะสม 1.1 ผู้อำนวยการสถานศึกษา 1.2 รองผู้อำนวยการสถานศึกษา 1.3 หัวหน้าหมวด / ฝ่าย 1.4 ครู

ขั้นตอนการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา ระดับสถานศึกษา 2 จัดทำแผนงานการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่ สถานศึกษา ประกอบด้วย 2.1 สร้างทีมงาน PLC ในสถานศึกษาที่สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา 2.2 สร้างความรู้ ความเข้าใจ และแนวทางการปฏิบัติให้กับบุคลากรในสถานศึกษา (พาดู พาคิด พาทำ) 2.3 สร้างเครือข่ายกับหน่วยงานอื่น (ระดับบุคคล ระดับองค์การ ระดับหน่วยงาน) 2.4 กำกับ ติดตาม นิเทศ และประเมินผล 2.5 ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงาน การพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

ขั้นตอนการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา ระดับสถานศึกษา 3 3.1 ขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่การปฏิบัติในสถานศึกษา พร้อมทั้งบันทึกลงใน Logbook ตามลำดับดังนี้ 1) ค้นหาปัญหา 2) หาสาเหตุ 3) แนวทางแก้ไข 4) ออกแบบกิจกรรมและ 5) นำสู่การปฏิบัติและสะท้อนผล 3.2 สรุปรายงานผล และจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ขั้นตอนการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา ระดับสถานศึกษา กำกับ ติดตาม นิเทศ และประเมินผล 4 4.1 จัดทำแผนและเครื่องมือ กำกับ ติดตาม นิเทศ และประเมินผลการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC 4.2 คณะกรรมการขับเคลื่อนกระบวนการPLC ระดับสถานศึกษา ดำเนินการกำกับ ติดตาม นิเทศ และประเมินผลการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC 4.3 เร่งรัด ติดตาม และสนับสนุน ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ ไม่ประสบความสำเร็จในการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา

ขั้นตอนการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา ระดับสถานศึกษา 5 5.1 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา รายงานผลการดำเนินการตามกระบวนการ PLC พร้อม Logbook เป็นรายบุคคลต่อผู้บริหารสถานศึกษา 5.2 คณะกรรมการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC ระดับสถานศึกษา สรุปและรายงานผลการดำเนินการติดตามการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC ในสถานศึกษา 5.3 สถานศึกษารายงานผลการดำเนินการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา ต่อสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและผู้ที่เกี่ยวข้อง

ขั้นตอนการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา ระดับสถานศึกษา 6 6.1 สถานศึกษาจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Show & Share) การขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา ที่สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา 6.2 ยกย่องเชิดชูเกียรติข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ที่มีกระบวนการดำเนินการที่ดีสามารถเป็นแบบอย่างได้ และเผยแพร่ด้วยวิธีการที่หลากหลาย