สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ กรมควบคุมโรค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
Good Morning.
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
โครงการ “ฟันเทียมพระราชทาน”
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
สกลนครโมเดล.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การแบ่งกลุ่มวิเคราะห์ / ทบทวนการพัฒนาที่ ผ่านมา. ประเด็น ทบทวนต้นทุนเดิมในการพัฒนา ตำบลจัดการสุขภาพ 1. กระบวนการพัฒนาที่ผ่านมา 2. จุดเด่นที่เป็นพลังในการ.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
วันที่ สิงหาคม 2558 ณ อิมแพ็ค เมืองทองธานี
การประชุมหารือกรอบการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) กรมการ แพทย์ นายแพทย์ณรงค์ อภิกุลวณิช รองอธิบดีกรมการแพทย์ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
การบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค. การปรับการบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค ๑. เหตุผลความจำเป็น ๒. การใช้อำนาจ รมว.ศธ.ในการแต่งตั้งคณะกรรมการ.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
โดย นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
“มุ่งสู่ระบบธรรมาภิบาลในสหกรณ์”
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
(โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
จุฑารัตน์ สะธรรมกิจ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ กรมควบคุมโรค ประชุม VDO-Conference งาน NCD Forum 2015 (มหกรรมสุขภาพโรคไม่ติดต่อ) “บูรณาการ สานพลัง ลดเสี่ยง ลดภาวะแทรกซ้อน” สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ กรมควบคุมโรค

รูปแบบการจัดงานมหกรรมฯ การจัดประชุมวิชาการ จำนวน 2 วัน : วันที่ 10 - 11 สิงหาคม 2558 ชื่อสำหรับใช้ในการจัดงาน : NCD Forum 2015 (มหกรรมสุขภาพโรคไม่ติดต่อ) ภายใต้แนวคิดหลัก (Theme) “บูรณาการ สานพลัง ลดเสี่ยง ลดภาวะแทรกซ้อน” สถานที่จัดงาน : ณ อิมแพคเมืองทองธานี จ.นนทบุรี งบประมาณการจัดงาน: รวม 6.8 ล้านบาท - กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข จำนวน 3.2 ล้านบาท - แผนงานเครือข่ายควบคุมโรคไม่ติดต่อ (Thai NCD net) จำนวน 2.6 ล้านบาท - สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 1 ล้านบาท

วัตถุประสงค์ การจัดประชุมวิชาการ“NCD Forum 2015 (มหกรรมสุขภาพโรคไม่ติดต่อ)” เพื่อนำเสนอนโยบาย และประเด็นการขับเคลื่อนเรื่อง โรคไม่ติดต่อ เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่มบุคลากรในการดำเนินงานด้านโรคไม่ติดต่อ เพื่อเผยแพร่บทเรียน/รูปแบบการดำเนินงานที่ทำเป็นเลิศให้เป็นแบบอย่างในระดับเขตบริการสุขภาพ/ภูมิภาค เพื่อเสริมความรู้วิชาการที่ทันสมัย ในด้านโรคไม่ติดต่อ เพื่อสร้างเครือข่ายการขับเคลื่อนการป้องกัน ควบคุม โรคไม่ติดต่อ

มหกรรมแสดงผลการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงานด้านโรคไม่ติดต่อ ความเป็นมาของ มหกรรมแสดงผลการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงานด้านโรคไม่ติดต่อ ก.ค.58 นำเสนอวิชาการและนิทรรศการ -อำเภอดีเด่นระดับเขต -จังหวัดดีเด่นระดับภาค -เขตฯ ดีเด่นระดับปท. -การบูรณาการในประเด็นและระดับต่างๆ สสว. และทีมประเมินฯกลุ่มวัยทำงาน คัดเลือกเขตดีเด่น จัดงานมหกรรม การจัดการความรู้ ระดับประเทศ 10-11 ส.ค.58 กรมคร. อนามัย สบส. และสุขภาพจิต ประเมินคัดเลือกจังหวัดดีเด่นระดับภาค สคร. จัดมหกรรมจัดการความรู้ และคัดเลือก Best practice ระดับเขตบริการสุขภาพ กรกฎาคม 58 ก.ค.58 ทีมประเมินจาก สคร. + ภาคีในเขต ผู้ตรวจฯ เสนอจังหวัดดีเด่น เขตละ 1 จังหวัด มิ.ย.58 มิถุนายน 58 จังหวัดคัดเลือก Best practice ระดับอำเภอ เพื่อเป็นตัวแทนจังหวัดเข้าประกวดระดับเขต มีนาคม 58 ทีมประเมินระดับอำเภอ / จังหวัด จัดประชุมชี้แจงโครงการให้กับ สคร. และ สสจ.

การเข้าร่วมงานมหกรรม จังหวัดดีเด่นระดับภาค เขตบริการสุขภาพดีเด่น สรุปรางวัล รางวัล โล่+เงินรางวัล เกียรติบัตร การเข้าร่วมงานมหกรรม ประเภท A อำเภอดีเด่นระดับเขต รางวัลที่ 1(12 แห่ง) รางวัลที่ 2(12 แห่ง) รางวัลที่ 3(12 แห่ง) รับที่เขตฯ รับในงาน จัดนิทรรศการ (12 บูธ) ประเภท B จังหวัดดีเด่นระดับภาค 1 จังหวัด/ภาค(4ภาค) รับในงาน(เฉพาะโล่) (4 บูธ) ประเภท C เขตบริการสุขภาพดีเด่น จำนวน 3 รางวัล (1 บูธ)

NCD Forum 2015 (มหกรรมสุขภาพโรคไม่ติดต่อ) “บูรณาการ สานพลัง ลดเสี่ยง ลดภาวะแทรกซ้อน” วันที่ 10 สิงหาคม 2558 (สถานที่อิมแพ็ค เมืองทองธานี) ห้องประชุมใหญ่ (แกรนด์ไดมอนด์ บอลรูม) เวลา 9.00-12.00 น. ช่วงเช้า 9.00-11.00 น. 11.00-12.00 น. เวลา 9.00น.-9.15น. พิธีเปิด โดย ศ.นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข (ประธาน) โดย นายแพทย์อำนวย กาจีนะ รักษาการ/รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข (กล่าวรายงาน) เวลา 9.15น.-9.30น. ชมการแสดงเปิดงาน เวลา 9.30น.-9.50น. มอบโล่ และประกาศเกียรติคุณ โล่รางวัลจำนวน 7 โล่ กลุ่มเป้าหมาย จังหวัดดีเด่นระดับภาค 1 จังหวัด/ภาค(4ภาค) จำนวน 4 โล่ เขตบริการสุขภาพดีเด่น อันดับที่1-3 จำนวน 3 โล่ ใบประกาศเกียรติคุณ 36 ใบ กลุ่มเป้าหมาย อำเภอดีเด่นระดับเขต รางวัลที่ 1(12 แห่ง) จำนวน 12 ใบ รางวัลที่ 2(12 แห่ง) จำนวน 12 ใบ รางวัลที่ 3(12 แห่ง) จำนวน 12 ใบ โดย ศ.นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เวลา9.50น.-10.20น. ปาฐกถา “บูรณาการ งานNCD สานพลัง ลดเสี่ยง ลดภาวะแทรกซ้อน” โดย ศ.นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข - NCDs : Plan to combat. อภิปรายโดย - นพ.สุรเชษฐ์ สถิตนิรามัย รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข รักษาการปลัดกระทรวง สธ. - นพ.ปานเทพ คณานุรักษ์ ผู้อำนวยการแผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคเรื้อรังฯ สปสช. - นพ.บัณฑิต ศรไพศาล ผอ.สำนักการควบคุมปัจจัยเสี่ยงหลัก - นพ.วิชช์ เกษมทรัพย์ แผนงานเครือข่ายควบคุมโรคไม่ติดต่อ ผู้ดำเนินรายการ : นพ.ภานุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค

วันที่ 10 สิงหาคม 2558 (สถานที่อิมแพ็ค เมืองทองธานี) วันที่ 10 สิงหาคม 2558 (สถานที่อิมแพ็ค เมืองทองธานี) ห้องประชุมใหญ่ (แกรนด์ไดมอนด์ บอลรูม) เวลา 9.00-12.00 น. ช่วงเช้า 9.00-11.00 น. 11.00-12.00 น. เวลา10.20น.-10.30น. พิธีลงนามความร่วมมือของเครือข่ายงาน NCD (ประเด็น.........กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงแรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม) เวลา10.30น.-10.40น. ให้สัมภาษณ์นักข่าว เวลา10.40น.-11.00น. เยี่ยมชมบูธนิทรรศการ เที่ยง Lunch Symposium เรื่อง “มุมมอง Health in all policies “ จาก ศาสตราจารย์นายแพทย์เทพ หิมะทองคำ (12.00-13.00 น.) ช่วงบ่าย ห้องประชุมใหญ่ ห้องย่อยที่ 1 ห้องย่อยที่ 2 ห้องย่อยที่ 3 ห้องย่อยที่ 4 ห้องย่อยที่ 5 ห้องย่อยที่ 6 13.00-14.30 น. 14.30-17.00 น. เสวนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาวะในสังคมไทย การพัฒนาระบบบริหารจัดการและระบบบริการลดภัยโรค NCD เล่าขานประสบการณ์ : SMS ในคลินิกNCD คุณภาพ พลังตำบลจัดการสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค การบูรณาการการบริการเพื่อชะลอภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญของผู้ป่วย NCDs Move for Life “ Evidence base สำหรับการสร้างสุขภาพเพื่อป้องกันโรค NCD” Capacity building Workshop “การจัดการลดความเสี่ยง/พฤติกรรมให้ได้ผล”

NCD Forum 2015 (มหกรรมสุขภาพโรคไม่ติดต่อ) “บูรณาการ สานพลัง ลดเสี่ยง ลดภาวะแทรกซ้อน” วันที่ 11 สิงหาคม 2558 (สถานที่อิมแพ็ค เมืองทองธานี) ช่วงบ่าย ห้องประชุมใหญ่ ห้องย่อยที่ 1 ห้องย่อยที่ 2 ห้องย่อยที่ 3 ห้องย่อยที่ 4 ห้องย่อยที่ 5 ห้องย่อยที่ 6 9.00-10.30 น. 10.30-12.00 น. เสวนาการขับเคลื่อนเครือข่ายNCD ภาคประชาชน การบริหารจัดการข้อมูล ฐานข้อมูลและ set ของข้อมูล นานาทัศนะ : Update Self Management Support ลดอาหารร้ายทำลายสุขภาพ หมอครอบครัวพลังขับเคลื่อน NCD ขับเคลื่อนสังคมนมแม่ "Secondary prevention for NCDs : Update in 2015-2016" รับประทานอาหารกลางวัน 12.00 – 13.00 น. ห้องประชุมแกรนด์ไดมอนด์ บอลรูม เลา 13.00 – 14.00 น. “การจัดการระบบ NCD อย่างเข้มแข็ง” และพิธีปิด

Zone การจัดบูธ/ฐานการเรียนรู้ แผนผังการจัดมหกรรม ห้องประชุมย่อย 4 Zone การจัดบูธ/ฐานการเรียนรู้ ห้องGrand Diamond 12 4-5 ห้องประชุมย่อย

กลุ่มเป้าหมาย ประมาณ 1,500 คน ประกอบด้วย ผู้บริหารและแขกผู้มีเกียรติ (100 คน) คณะทำงานส่วนกลางและวิทยากร (200คน) บุคลากรสาธารณสุขจาก 77 จังหวัด (770 คน) บุคลากรจากศูนย์วิชาการระดับเขตที่ร่วมขับเคลื่อนงานกลุ่มวัยทำงาน (สคร.ที่ละ 5 คน/ศูนย์อนามัยที่ละ 3 คน/ศูนย์สุขภาพจิตที่ละ 3 คน/ สำนักงานสนับสนุนบริการสุขภาพที่ละ 3 คน/สปสช.เขต ละ 2 คน) รวม 200 คน อาสาสมัครสาธารณสุข (200คน) ผู้แทนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนองค์กรต่างๆที่เป็นภาคีเครือข่ายร่วมขับเคลื่อนการดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและการบาดเจ็บ นักวิชาการ อาจารย์ นักศึกษาและผู้ที่สนใจทั่วไป

กลุ่มเป้าหมายที่ผู้จัดรับผิดชอบค่าใช้จ่าย (เบี้ยเลี้ยง, พาหนะ, ที่พัก, อาหาร, อาหารว่าง) กลุ่มเป้าหมายที่เบิกจ่ายต้นสังกัด (*ผู้จัดรับผิดชอบค่าอาหาร และอาหารว่าง) 1. ผู้บริหารและแขกผู้มีเกียรติ (100 คน) 1. บุคลากรสาธารณสุขจากจังหวัดอื่นๆที่ไม่ใช่จังหวัดที่ได้รับรางวัล และบุคลากรสาธารณสุขส่วนกลาง (400คน) 2.คณะทำงานส่วนกลางและวิทยากร (200 คน) 2.บุคลากรจากศูนย์วิชาการระดับเขตและ สปสช.เขต (200คน) 3.ทีมจากเขตบริการสุขภาพที่ได้รับรางวัลดีเด่น 3 เขต (30 คน) (บุคลากรสาธารณสุขและเครือข่าย) 3.ผู้แทนองค์กรต่างๆที่เป็นภาคีเครือข่าย(60คน) 4.ทีมจากจังหวัดดีเด่นระดับภาค 4 จังหวัด (40 คน) (บุคลากรสาธารณสุขและเครือข่าย) 4. นักวิชาการ อาจารย์ นักศึกษาและผู้สนใจ (30 คน) 5. ทีมจากอำเภอที่ได้รับรางวัล รางวัลที่ 1 ทีมละ 10 คน (120 คน) รางวัลที่ 2,3 ทีมละ 5 คน(120คน) 6. อสม. จากจังหวัดที่ได้รับรางวัลระดับภาค (200คน) ( 4 ภาคและอำเภอที่ได้รับรางวัล 36 อำเภอ) รวม 810 คน รวม 690 คน รวม 1,500 คน

การลงทะเบียนออนไลน์

การลงทะเบียนออนไลน์ประเภทที่ 1 เบิกค่าใช้จ่ายตามระเบียบของทางราชการจากสำนักโรคไม่ติดต่อทั้งหมด กลุ่มเป้าหมาย ผู้บริหารระดับสูงของส่วนกลางและแขกผู้มีเกียรติ จำนวน 100 คน คณะทำงานส่วนกลางและวิทยากร ผู้ได้รับรางวัลประเภทต่างๆ การลงทะเบียน ประเภทที่ 1 สคร.ที่ 1-12 ดำเนินการลงทะเบียนออนไลน์เอง หรือ ให้พื้นที่ลงเอง เปิดให้ลงทะเบียนที่ http://ncdforum.thaincd.com/ ในวันที่ 16 ก.ค. 2558 ถึงวันที่ 5 ส.ค. 2558 เวลา 24.00 น. และขอความอนุเคราะห์รวบรวมรายชื่อส่ง สำนักโรคไม่ติดต่อ กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง Fax : 02-5903988 ภายในวันที่ 7 ส.ค. 2558

ผู้ได้รับรางวัลประเภทต่างๆ ได้แก่ ๑.๓.๑ ประเภทที่ ๑ ประเภทอำเภอดีเด่นระดับเขต จำนวน ๑๒ เขต ๑.๓.๑.๑ รางวัลที่ ๑ จนท.สธ และเครือข่ายอื่นๆเขตละ ๑๐ คน และ อสม. ๕ คน รวมเป็น ๑๕ คน ๑.๓.๑.๒ รางวัลที่ จนท.สธ และเครือข่ายอื่นๆเขตละ ๕ คน และอสม. ๕ คน รวมเป็น ๑๐ คน ๑.๓.๑.๓ รางวัลที่ ๓ จนท.สธ และเครือข่ายอื่นๆเขตละ ๕ คน และอสม. ๕ คน รวมเป็น ๑๐ คน ๑.๓.๒ ประเภทที่ ๒ ประเภทจังหวัดดีเด่นระดับภาค ๔ จังหวัด ๑.๓.๒.๑ ภาคเหนือ ๑ จังหวัด เจ้าหน้าที่ด้านสาธารณสุขและเครือข่ายอื่นๆ จังหวัดละ ๑๐ คน และ อสม. ๕ คน รวมเป็น ๑๕ คน ๑.๓.๒.๒ ภาคกลาง ๑ จังหวัด เจ้าหน้าที่ด้านสาธารณสุขและเครือข่ายอื่นๆ จังหวัดละ ๑๐ คน ๑.๓.๒.๓ ภาคใต้ ๑ จังหวัด เจ้าหน้าที่ด้านสาธารณสุขและเครือข่ายอื่นๆ จังหวัดละ ๑๐ คน ๑.๓.๒.๔ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๑ จังหวัด เจ้าหน้าที่ด้านสาธารณสุขและเครือข่ายอื่นๆ จังหวัดละ ๑๐ คน และ อสม. ๕ คน รวมเป็น ๑๕ คน ๑.๓.๓ ประเภทที่ ๓ ประเภทเขตดีเด่นระดับประเทศ(SIIIM) จำนวน ๓ เขต ๑.๓.๓.๑ ประเภทที่ ๑ เจ้าหน้าที่ด้านสาธารณสุขและเครือข่ายอื่นๆ จังหวัดละ ๑๐ คน ๑.๓.๓.๒ ประเภทที่ ๒ เจ้าหน้าที่ด้านสาธารณสุขและเครือข่ายอื่นๆ จังหวัดละ ๑๐ คน ๑.๓.๓.๓ ประเภทที่ ๓ เจ้าหน้าที่ด้านสาธารณสุขและเครือข่ายอื่นๆ จังหวัดละ ๑๐ คน

การลงทะเบียนออนไลน์ประเภทที่ ๒ ประเภทเบิกค่าใช้จ่ายจากต้นสังกัด ยกเว้นค่าอาหารกลางวัน อาหารว่างซึ่งทางสำนักโรคไม่ติดต่อจะเป็นผู้รับผิดชอบ กลุ่มเป้าหมาย ๒.๑ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและเครือข่ายในจังหวัดที่ไม่ได้รับรางวัลผลงานเด่นด้านโรคไม่ติดต่อ จังหวัดละ ๑๐ ท่าน ๒.๒ บุคลากรจากสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ - ๑๒ แห่งละ ๕ ท่าน ๒.๓ บุคลากรจากเขตบริการสุขภาพที่ ๑ - ๑๒ แห่งละ ๒ ท่าน ๒.๔ บุคลากรจากศูนย์อนามัยที่ ๑ – ๑๒ แห่งละ ๓ ท่าน ๒.๕ บุคลากรจากศูนย์สุขภาพจิตที่ ๑ – ๑๒ แห่งละ ๓ ท่าน ๒.๖ บุคลากรจากสำนักงานสนับสนุนบริการสุขภาพเขตที่ ๑ – ๑๒ แห่งละ ๓ ท่าน ๒.๗ บุคลากรจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเขตที่ ๑ – ๑๓ แห่งละ ๒ ท่าน ๒.๘ ผู้แทนจากองค์กรต่างๆที่เป็นภาคีเครือข่าย ๒.๙ นักวิชาการ อาจารย์ นักศึกษาและผู้ที่สนใจ ประเภทที่ ๒ ดำเนินการลงทะเบียนออนไลน์เอง ซึ่งเปิดให้ลงทะเบียนที่ http://ncdforum.thaincd.com/ ในวันที่ ๑๖ ก.ค. ๒๕๕๘ ถึงวันที่ ๗ ส.ค.๒๕๕๘ เวลา ๒๔.๐๐ น. โดยจะได้รหัสผ่านทาง E-mail เพื่อมารับเอกสารวันงาน

การลงทะเบียนออนไลน์ประเภทที่ ๓ ประเภทรับผิดชอบค่าใช้จ่ายเองทั้งหมด กลุ่มเป้าหมาย ผู้ที่สนใจเข้าร่วม หรือ ผู้ที่ลงทะเบียนเกินจำนวนโควตา ๑,๕๐๐ คน การลงทะเบียน ประเภทที่ ๓ ดำเนินการลงทะเบียนออนไลน์เอง ซึ่งเปิดให้ลงทะเบียนที่ http://ncdforum.thaincd.com/ ในวันที่ ๑๖ ก.ค. ๒๕๕๘ ถึงวันที่ ๑๐ ส.ค. ๒๕๕๘

เรื่องที่ขอความอนุเคราะห์ สคร.ดำเนินการ รวบรวมรายชื่อของทีมที่ได้รับรางวัล ทั้งในประเภท ๑.๓.๑,๑.๓.๒ และ ๑.๓.๓ ในเขตที่ สคร.รับผิดชอบทั้ง ๓ รางวัล และลงทะเบียน ผ่านระบบออนไลน์ในประเภทที่ ๑ ที่ผู้ลงทะเบียนสามารถเบิก ค่าใช้จ่ายจากสำนักโรคไม่ติดต่อตามระเบียบกระทรวงการคลัง ซึ่ง จะเปิดลงทะเบียนพร้อมกันทั้ง ๓ ประเภทที่หน้าเว็บไซต์สำนักโรค ไม่ติดต่อ (www.ThaiNcd.com) ประสานจังหวัดที่ได้รับรางวัลที่ ๑ ของแต่ละประเภทเพื่อมา จัดบูธนิทรรศการในวันงานโดยบริหารจัดการในจำนวน ๑๕ คน ที่ ได้รับการจัดสรร

เรื่องการจัดบูธ ขนาดของบูธ การจัดบูธ มีทั้งหมด ๑๗ บูธ แบ่งเป็น การจัดบูธ มีทั้งหมด ๑๗ บูธ แบ่งเป็น การจัดบูธของรางวัลชนะเลิศประเภทอำเภอดีเด่นระดับเขต จำนวน ๑๒ เขต การจัดบูธของรางวัลชนะเลิศประเภทจังหวัดดีเด่นระดับภาค ๔ จังหวัด การจัดบูธของประเภทเขตดีเด่นระดับประเทศ (SIIIM) จำนวน ๑ เขต (ทีมประเมินจาก สสว. จะเป็นผู้คัดเลือกเอง) ขนาดของบูธ บูธ ขนาด ๓x๓ ตารางเมตร เป็นบูธแบบมีฉากกั้น 3 ด้าน

อุปกรณ์ที่มีให้ในการจัดบูธ กรมควบคุมโรค อุปกรณ์พื้นฐาน มีป้ายชื่อหน่วยงานให้แต่ต้องแจ้งชื่อล่วงหน้า โต๊ะ ๑ ตัวพร้อมเก้าอี้มีพนัก ๓ ตัว หมายเหตุ : วันเวลาการเข้าจัดบูธจะแจ้งให้ ทราบภายหลัง รูปแบบการจัดบูธ สามารถจัดได้ตามที่พื้นที่ต้องการ งบประมาณสนับสนุนการจัดบูธ ประมาณ ๒,๐๐๐-๓,๐๐๐ บาทต่อบูธ

ติดต่อสอบถาม สำหรับรายละเอียดในการจัดงานและการลงทะเบียน ออนไลน์จะมีการประชาสัมพันธ์ผ่านเว็บไซด์ของสำนักโรค ไม่ติดต่อ>>www.ThaiNcd.com หรือสอบถามได้ที่ กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง สำนักโรคไม่ติดต่อ โทรศัพท์ : 02-5903987 โทรสาร : 02-5903988

ขอบคุณ NCD