วาระที่ 3.6 ผลการประเมินรัฐวิสาหกิจ (SEPA) หมวด 4 และโอกาสในการปรับปรุงองค์กร (OFI)
คะแนนประเมินตามระบบ SEPA ผลประเมิน ปี 2558 ปี 2557 ปี 2556 คะแนนประเมินหมวด 1-6 295.25 283.25 266 คะแนนส่วนเพิ่ม 12.00 17.25 25.75 เกรด B+ (4.40) B+ (4.45) A (5.00) สำหรับคะแนนประเมินผลตามระบบ SEPA ในส่วนของหมวดกระบวนการ 1 – 6 (คะแนนเต็ม 600 คะแนน) กปน. ได้รับคะแนนแนวโน้มเพิ่มขึ้นมาอย่างต่อเนื่อง แต่ในอัตราที่ลดลง โดยเริ่มจากคะแนน Baseline ในปี 2555 ที่คะแนน 240.25 คะแนน ปี 2556 เพิ่มขึ้น 25.75 คะแนนมาเป็น 266 และปี 2557 เพิ่มขึ้นเพียง 17.25 คะแนนมาเป็น 283.25 ตามลำดับ
สรุปผลการประเมินระบบ SEPA กปน. 283.25 295.25
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ แนวทางการให้คะแนน มิติกระบวนการ (หมวด 1-6) จะมีทั้งหมด 6 Band โดยรัฐวิสาหกิจกลุ่ม BA รวมถึง กปน. คะแนนในภาพรวมจะอยู่ใน Band 3 30-45% หรืออยู่ในช่วงคะแนน 151 – 270 คะแนน สำหรับปี 2557 ที่ผ่านมา กปน. เราได้คะแนนรวมอยู่ที่ 283.25 คะแนน ซึ่งข้ามมาอยู่ Band 4 ต้นๆ รวมถึงในหมวด 4 ทั้งข้อ 4.1 และ 4.2 จะอยู่ในช่วง 50 – 65 % (50%=20 คะแนน) เป็นต้น 1-30 คะแนน 31-150 คะแนน 151-270 คะแนน 271-390 คะแนน 391-510 คะแนน 511-600 คะแนน
ประสิทธิภาพของระบบ IT โอกาสในการปรับปรุง กำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายที่สะท้อนประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศที่ชัดเจน ทั้งในมิติความพร้อมใช้ ถูกต้อง แม่นยำ เชื่อถือได้ ปลอดภัย เป็นความลับ ประสิทธิภาพของระบบ IT การนำแนวทาง ช่องทางการถ่ายทอดความรู้ ไปถ่ายทอดสู่การปฏิบัติ และใช้ปรับปรุงการปฏิบัติงาน ยังไม่ปรากฎว่ามีการนำแนวทางการจัดการความรู้ ไปปฏิบัติทั่วทั้งองค์กร และเชื่อมโยงไปสู่การสร้างนวัตกรรม การจัดการความรู้ ควรมีตัวชี้วัดและเป้าหมายทั้งในระยะยาว และในระยะสั้นที่ชัดเจน เพื่อให้สามารถประเมินประสิทธิผลได้ แผนแม่บท IT และ KM
แนวทางการแก้ไขปรับปรุง OFIs หมวด 4 ประเด็น OFIs แนวทางแก้ไขปรับปรุง ประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ กำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายในมิติความพร้อมใช้ ถูกต้อง แม่นยำ เชื่อถือได้ ปลอดภัย เป็นความลับ มีการติดตามประเมินผลและนำไปพัฒนาปรับปรุงระบบสารสนเทศ มีการ Learning โดยอบรมให้ความรู้ในการกำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายที่สะท้อนประสิทธิภาพในหลักสูตร “การกำหนดตัวชี้วัดที่สำคัญในกระบวนการ IT ตามกรอบ SEPA” ปรับปรุงตัวชี้วัดและเป้าหมายของกระบวนงานด้าน IT ในมิติต่าง ๆ ตาม OFIs กำหนดให้เป็นตัวชี้วัดและเป้าหมายของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีการติดตามประเมินผลเป็นระยะๆ 2. แผนแม่บทระยะยาวของ IT กำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายให้ชัดเจนทั้งในระยะยาวและระยะสั้น แผนแม่บทเทคโนโลยีและการสื่อสาร ฉบับปัจจุบัน มีการกำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายของแผนแม่บทไว้แล้ว โดยกำหนดให้ กวม.ฝยท. เป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่ติดตามและประเมินผลตัวชี้วัดดังกล่าว สำหรับคะแนนประเมินผลตามระบบ SEPA ในส่วนของหมวดกระบวนการ 1 – 6 (คะแนนเต็ม 600 คะแนน) กปน. ได้รับคะแนนแนวโน้มเพิ่มขึ้นมาอย่างต่อเนื่อง แต่ในอัตราที่ลดลง โดยเริ่มจากคะแนน Baseline ในปี 2555 ที่คะแนน 240.25 คะแนน ปี 2556 เพิ่มขึ้น 25.75 คะแนนมาเป็น 266 และปี 2557 เพิ่มขึ้นเพียง 17.25 คะแนนมาเป็น 283.25 ตามลำดับ